• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:719c6b2c300897a28f890050451aca54' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\">ประเภณีวิ่งควาย</p>\n<p>ประเพณีวิ่งควาย&nbsp;เป็นประเพณีที่จัดเป็นประจำทุกปีในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ก่อนออกพรรษา 1 วัน เป็นประเพณีที่เป็นมรดกตกทอดมา แต่บรรพชนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการทำขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อน จากงานในท้องนา เพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อที่ว่า หากปีใดไม่มีการ วิ่งควายปีนั้นควายจะเป็นโรคระบาดกันมาก เพื่อแสดงรู้คุณต่อควายซึ่งเป็นสัตว์ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพทำนา และเพื่อให้ชาวบ้านมาพบปะสังสรรค์กัน ส่วนใหญ่จัดงานในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี และอำเภอบ้านบึง เดิมมีแต่คนใน ท้องถิ่นรู้จัก แต่ในปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีประจำจังหวังชลบุรี ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักกันไปทั่วทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ<br />&nbsp;&nbsp;<br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในอดีตประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีวิ่งควายที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ ทางไสยศาสตร์ที่ว่า ถ้าควายของใครเจ็บป่วย เจ้าของควายควรจะนำควายของตน ไปบนกับเทพารักษ์ และเมื่อหายเป็นปกติแล้วจะต้องนำความมาวิ่งแก้บน ฉะนั้น ในปีต่อ ๆ มาชาวบ้านก็นำควายของตนมาวิ่งเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยเสียแต่เนิ่น ๆ<br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ส่วนความเชื่อในทางศาสนาพุทธนั้น เกิดจากการที่ชาวบ้านมาชุมนุมกัน ที่วัดใหญ่อินทาราม จังหวัด ชลบุรี เพื่อนำเครื่องกัณฑ์ใส่ควายเทียมเกียวนมาพักที่วัด เพื่อจะรอการติดกันเทศน์ในเทศกาลเทศน์มหาชาติ ขณะที่รอเด็กเลี้ยงควายต่างก็ นำควายของตนไปอาบน้ำที่สระบริเวณวัด เมื่อต่างคนต่างพาควายของตนไปก็เกิดมี &nbsp;การประลองฝีเท้าควายเกิดขึ้น เพื่อทดสอบสุขภาพความแข็งแรงกัน การแข่งขันใน ระยะแรก ๆ จึงเป็นเพียงการบังคับควายขณะวิ่งในระยะที่กำหนดและห้ามตก จากหลังควาย ต่อมาจึงเชื่อว่าการวิ่งควายได้มีการพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ มีการวิ่งรอบตลาด เมื่อถึงเทศกาลก่อนออกพรรษา 1 วัน ชาวบ้านร้านตลาดต่างก็จะรอดูควายที่มาวิ่งมีการ ตกแต่งควาย ให้สวยงามและวิจิตรบรรจงมากขึ้นจนกลายเป็นประเพณีวิ่งควาย<br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ส่วนขั้นตอนการวิ่งควายในปัจจุบันเจ้าของควาย จะตกแต่งควายอย่างงดงาม ด้วยผ้าแพรพรรณ ดอกไม้หลากสี ตัวเจ้าของควายก็แต่งตัวอย่างงดงามแปลกตา เช่น แต่งเป็นชาวเขา ชาวอินเดียแดงหรือตกแต่งด้วยเครื่องทองประดับเพชรเหมือนเจ้าชาย ในลิเก ละครที่แปลกตา แล้วนำควายมาวิ่งแข่งกัน โดยเจ้าของเป็นผู้ที่ขี่หลังควายไปด้วย ความ สนุกอยู่ที่ท่าทางวิ่งควายที่แปลกบางคนขี่ก็ลื่นไหลตกลงมาจากหลังควายและคนดู จำนวนมากจะส่งเสียงกันดังอย่างอื้ออึง และมีการเพิ่มประกวดสุขภาพควาย ประกวด การตกแต่งควายทั้งสวยงาม และตลกขบขัน<br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;มีการประกวดน้องนางบ้านนา ทำให้ ประเพณีวิ่งควายมีกิจกรรมมากขึ้น ชาวเกษตรกรรมต่างก็พอใจกัน พืชพันธุ์ธัญญาหาร ในไร่กำลังตกดอกออกรวง จึงคำนึงถึงสัตว์ เช่น วัว ควาย ที่ได้ใช้งานไถนาเป็นเวลา หลายเดือน ควรจะได้รับความสุขตามสภาพบ้าง จึงต่างตกแต่งวัว ควายของตนให้สวยงาม บรรดาเกษตรกรมีการสังสรรค์แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนมีการประกวดความสมบูรณ์ของวัวและควายที่เลี้ยงกัน เหตุที่เลือกเอาวันนี้เพราะเป็นวันพระ ทุกคนจะต้อง หยุดงานไปวัดในวันพระ ประเพณีวิ่งควายไม่ใช่เรื่องไร้สาระเป็นเรื่องที่แฝงไว้ด้วย ความสามัคคีธรรม คนโบราณของเราเป็นคนที่ตระหนักในความกตัญญูกตเวทิตาคุณ และมีความเมตตาธรรมสูง เห็นวัวควายทำงานให้กับคน เป็นสัตว์ที่มีคุณแก่ชีวิตจึง สืบทอดประเพณีนี้ตลอดมา</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1724730537, expire = 1724816937, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:719c6b2c300897a28f890050451aca54' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ขนบธรรมเนียมประเภณีไทย

ประเภณีวิ่งควาย

ประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีที่จัดเป็นประจำทุกปีในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ก่อนออกพรรษา 1 วัน เป็นประเพณีที่เป็นมรดกตกทอดมา แต่บรรพชนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการทำขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อน จากงานในท้องนา เพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อที่ว่า หากปีใดไม่มีการ วิ่งควายปีนั้นควายจะเป็นโรคระบาดกันมาก เพื่อแสดงรู้คุณต่อควายซึ่งเป็นสัตว์ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพทำนา และเพื่อให้ชาวบ้านมาพบปะสังสรรค์กัน ส่วนใหญ่จัดงานในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี และอำเภอบ้านบึง เดิมมีแต่คนใน ท้องถิ่นรู้จัก แต่ในปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีประจำจังหวังชลบุรี ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักกันไปทั่วทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
  
        ในอดีตประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีวิ่งควายที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ ทางไสยศาสตร์ที่ว่า ถ้าควายของใครเจ็บป่วย เจ้าของควายควรจะนำควายของตน ไปบนกับเทพารักษ์ และเมื่อหายเป็นปกติแล้วจะต้องนำความมาวิ่งแก้บน ฉะนั้น ในปีต่อ ๆ มาชาวบ้านก็นำควายของตนมาวิ่งเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยเสียแต่เนิ่น ๆ
          ส่วนความเชื่อในทางศาสนาพุทธนั้น เกิดจากการที่ชาวบ้านมาชุมนุมกัน ที่วัดใหญ่อินทาราม จังหวัด ชลบุรี เพื่อนำเครื่องกัณฑ์ใส่ควายเทียมเกียวนมาพักที่วัด เพื่อจะรอการติดกันเทศน์ในเทศกาลเทศน์มหาชาติ ขณะที่รอเด็กเลี้ยงควายต่างก็ นำควายของตนไปอาบน้ำที่สระบริเวณวัด เมื่อต่างคนต่างพาควายของตนไปก็เกิดมี  การประลองฝีเท้าควายเกิดขึ้น เพื่อทดสอบสุขภาพความแข็งแรงกัน การแข่งขันใน ระยะแรก ๆ จึงเป็นเพียงการบังคับควายขณะวิ่งในระยะที่กำหนดและห้ามตก จากหลังควาย ต่อมาจึงเชื่อว่าการวิ่งควายได้มีการพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ มีการวิ่งรอบตลาด เมื่อถึงเทศกาลก่อนออกพรรษา 1 วัน ชาวบ้านร้านตลาดต่างก็จะรอดูควายที่มาวิ่งมีการ ตกแต่งควาย ให้สวยงามและวิจิตรบรรจงมากขึ้นจนกลายเป็นประเพณีวิ่งควาย
           ส่วนขั้นตอนการวิ่งควายในปัจจุบันเจ้าของควาย จะตกแต่งควายอย่างงดงาม ด้วยผ้าแพรพรรณ ดอกไม้หลากสี ตัวเจ้าของควายก็แต่งตัวอย่างงดงามแปลกตา เช่น แต่งเป็นชาวเขา ชาวอินเดียแดงหรือตกแต่งด้วยเครื่องทองประดับเพชรเหมือนเจ้าชาย ในลิเก ละครที่แปลกตา แล้วนำควายมาวิ่งแข่งกัน โดยเจ้าของเป็นผู้ที่ขี่หลังควายไปด้วย ความ สนุกอยู่ที่ท่าทางวิ่งควายที่แปลกบางคนขี่ก็ลื่นไหลตกลงมาจากหลังควายและคนดู จำนวนมากจะส่งเสียงกันดังอย่างอื้ออึง และมีการเพิ่มประกวดสุขภาพควาย ประกวด การตกแต่งควายทั้งสวยงาม และตลกขบขัน
           มีการประกวดน้องนางบ้านนา ทำให้ ประเพณีวิ่งควายมีกิจกรรมมากขึ้น ชาวเกษตรกรรมต่างก็พอใจกัน พืชพันธุ์ธัญญาหาร ในไร่กำลังตกดอกออกรวง จึงคำนึงถึงสัตว์ เช่น วัว ควาย ที่ได้ใช้งานไถนาเป็นเวลา หลายเดือน ควรจะได้รับความสุขตามสภาพบ้าง จึงต่างตกแต่งวัว ควายของตนให้สวยงาม บรรดาเกษตรกรมีการสังสรรค์แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนมีการประกวดความสมบูรณ์ของวัวและควายที่เลี้ยงกัน เหตุที่เลือกเอาวันนี้เพราะเป็นวันพระ ทุกคนจะต้อง หยุดงานไปวัดในวันพระ ประเพณีวิ่งควายไม่ใช่เรื่องไร้สาระเป็นเรื่องที่แฝงไว้ด้วย ความสามัคคีธรรม คนโบราณของเราเป็นคนที่ตระหนักในความกตัญญูกตเวทิตาคุณ และมีความเมตตาธรรมสูง เห็นวัวควายทำงานให้กับคน เป็นสัตว์ที่มีคุณแก่ชีวิตจึง สืบทอดประเพณีนี้ตลอดมา

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 630 คน กำลังออนไลน์