• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:65134b54af3112e8a447851832d18578' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"mw-headline\">ศัพทมูลวิทยา</span> </p>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div style=\"width: 252px\" class=\"thumbinner\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Koeh-122.jpg\" title=\"Koeh-122.jpg\" class=\"image\"><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/f7/Koeh-122.jpg/250px-Koeh-122.jpg\" height=\"314\" class=\"thumbimage\" /></a> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Koeh-122.jpg\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://th.wikipedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png\'); width: 1px; height: 1px\"></span></span></a>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n<p>\nคำว่ากุหลาบนั้นเป็นคำศัพท์มาจาก<a href=\"/wiki/ภาษาฮินดี\" title=\"ภาษาฮินดี\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ภาษาฮินดี</span></u></a> (गुलाब อ่านว่า <i>กุ-ลาพ</i> หรือคนไทยเราเรียกว่า <i>คุ-ลาพ</i> แล้วตอนหลังก็เป็นกุหลาบ)\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.AA.E0.B8.B3.E0.B8.84.E0.B8.B1.E0.B8.8D.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.B8.90.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88\" title=\".E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.AA.E0.B8.B3.E0.B8.84.E0.B8.B1.E0.B8.8D.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.B8.90.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88\" id=\".E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.AA.E0.B8.B3.E0.B8.84.E0.B8.B1.E0.B8.8D.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.B8.90.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.88\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">ความสำคัญทางเศรษฐกิจ</span></h2>\n<p>\nกุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้ากันแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการซื้อขาย เป็นอันดับหนึ่งใน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ตลาดประมูลอัลสเมีย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ตลาดประมูลอัลสเมีย</span></u></a> ประเทศ<a href=\"/wiki/เนเธอร์แลนด์\" title=\"เนเธอร์แลนด์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เนเธอร์แลนด์</span></u></a> ซึ่งเป็นตลาดประมูลไม้ดอก ที่ใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อ พ.ศ. 2542 มีการซื้อขายถึง 1,672 ล้านดอก และมักจะมียอดขายสูงสุดในประเทศต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้ดอกชนิดอื่น ๆ โดยประเทศที่ผลิตกุหลาบรายใหญ่ของโลกได้แก่ <a href=\"/wiki/อิตาลี\" title=\"อิตาลี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อิตาลี</span></u></a> <a href=\"/wiki/เนเธอร์แลนด์\" title=\"เนเธอร์แลนด์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เนเธอร์แลนด์</span></u></a> <a href=\"/wiki/สเปน\" title=\"สเปน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สเปน</span></u></a> <a href=\"/wiki/สหรัฐอเมริกา\" title=\"สหรัฐอเมริกา\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สหรัฐอเมริกา</span></u></a> <a href=\"/wiki/โคลัมเบีย\" title=\"โคลัมเบีย\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โคลัมเบีย</span></u></a> <a href=\"/wiki/เอกวาดอร์\" title=\"เอกวาดอร์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เอกวาดอร์</span></u></a> <a href=\"/wiki/อิสราเอล\" title=\"อิสราเอล\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อิสราเอล</span></u></a> <a href=\"/wiki/เยอรมนี\" title=\"เยอรมนี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เยอรมนี</span></u></a> <a href=\"/wiki/เคนยา\" title=\"เคนยา\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เคนยา</span></u></a> <a href=\"/wiki/ซิมบับเว\" title=\"ซิมบับเว\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ซิมบับเว</span></u></a> <a href=\"/wiki/เบลเยียม\" title=\"เบลเยียม\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เบลเยียม</span></u></a> <a href=\"/wiki/ฝรั่งเศส\" title=\"ฝรั่งเศส\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ฝรั่งเศส</span></u></a> <a href=\"/wiki/เม็กซิโก\" title=\"เม็กซิโก\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เม็กซิโก</span></u></a> <a href=\"/wiki/แทนซาเนีย\" title=\"แทนซาเนีย\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แทนซาเนีย</span></u></a> และ<a href=\"/wiki/มาลาวี\" title=\"มาลาวี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">มาลาวี</span></u></a> เป็นต้น\n</p>\n<p>\nปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบตัดดอกประมาณ 5,500 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ แหล่งปลูกที่สำคัญได้แก่ <a href=\"/wiki/เชียงใหม่\" title=\"เชียงใหม่\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เชียงใหม่</span></u></a> <a href=\"/wiki/เชียงราย\" title=\"เชียงราย\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เชียงราย</span></u></a> <a href=\"/wiki/ตาก\" title=\"ตาก\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ตาก</span></u></a> <a href=\"/wiki/นครปฐม\" title=\"นครปฐม\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นครปฐม</span></u></a> <a href=\"/wiki/สมุทรสาคร\" title=\"สมุทรสาคร\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สมุทรสาคร</span></u></a> <a href=\"/wiki/ราชบุรี\" title=\"ราชบุรี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ราชบุรี</span></u></a> และ<a href=\"/wiki/กาญจนบุรี\" title=\"กาญจนบุรี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กาญจนบุรี</span></u></a> มีการขยายตัวของพื้นที่มากที่สุดใน <a href=\"/wiki/อำเภอพบพระ\" title=\"อำเภอพบพระ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำเภอพบพระ</span></u></a> จังหวัดตาก ซึ่งปัจจุบันประมาณว่ามีพื้นที่การผลิตถึง 3,000 ไร่ เนื่องจาก อ.พบพระ มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม พื้นที่ไม่สูงชัน และค่าจ้างแรงงานต่ำ (แรงงานต่างชาติ) การผลิตกุหลาบในประเทศไทยอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การผลิตกุหลาบใน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%93&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เชิงปริมาณ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เชิงปริมาณ</span></u></a> และการผลิตกุหลาบ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เชิงคุณภาพ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เชิงคุณภาพ</span></u></a> การผลิตกุหลาบเชิงปริมาณ หมายถึงการปลูกกุหลาบในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรือปลูกในพื้นที่ราบ ซึ่งจะให้ผลผลิตมีปริมาณมาก แต่ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เช่น ดอกและก้านมีขนาดเล็ก มีตำหนิจากโรคและ<a href=\"/wiki/แมลง\" title=\"แมลง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แมลง</span></u></a> หรือ<a href=\"/wiki/การขนส่ง\" title=\"การขนส่ง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">การขนส่ง</span></u></a> อายุการปัก<a href=\"/wiki/แจกัน\" title=\"แจกัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แจกัน</span></u></a>สั้น ทำให้ราคาต่ำ การผลิตชนิดนี้ต้องอาศัยการผลิตในปริมาณมากเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ ส่วนการผลิตกุหลาบในเชิงคุณภาพ นิยมปลูกในเขต<a href=\"/wiki/ภาคเหนือ\" title=\"ภาคเหนือ\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ภาคเหนือ</span></u></a> และบนที่สูง โดยปลูกกุหลาบภายใต้<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โรงเรือน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โรงเรือน</span></u></a>พลาสติก ในพื้นที่จำกัด มีการจัดการการผลิตและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวที่ดี ใช้<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แรงงาน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงงาน</span></u></a>ที่ชำนาญ ทำให้กุหลาบที่ได้มีคุณภาพดี และปักแจกันได้นาน ตลาดของกุหลาบคุณภาพปานกลางถึงต่ำ (ตลาดล่าง) ในปัจจุบันถึงขั้นอิ่มตัว เกษตรกรขายได้ราคาต่ำมาก ส่วนตลาดของกุหลาบที่มีคุณภาพสูง (ตลาดบน) ผลผลิตในประเทศยังไม่เพียงพอ และขาดความต่อเนื่อง ทำให้ยังต้องนำเข้าดอกกุหลาบจากต่างประเทศ เช่น เนเธอร์แลนด์ และ<a href=\"/wiki/มาเลเซีย\" title=\"มาเลเซีย\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">มาเลเซีย</span></u></a> เป็นต้น\n</p>\n<p>\nประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตกุหลาบคุณภาพสูงอย่างต่อเนื่อง หากแต่จะต้องผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม คือพื้นที่สูงมากกว่า 800 เมตรเหนือ<a href=\"/wiki/ระดับน้ำทะเล\" title=\"ระดับน้ำทะเล\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ระดับน้ำทะเล</span></u></a> หากปลูกในที่ราบจะได้คุณภาพดีในช่วง<a href=\"/wiki/ฤดูหนาว\" title=\"ฤดูหนาว\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ฤดูหนาว</span></u></a>เท่านั้น ดังนั้นการผลิตกุหลาบมีแนวโน้มเพิ่มพื้นที่การผลิตบนที่สูงมากขึ้น\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97\" title=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97\" id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">ประเภท</span></h2>\n<p>\nกุหลาบสามารถ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จำแนก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">จำแนก</span></u></a>ได้หลายแบบ เช่น จำแนกตามลักษณะการเจริญเติบโต ขนาดดอก สีดอก ความสูงต้น และจำแนก ตามลักษณะของดอก เป็นต้น ในที่นี้ได้จำแนกกุหลาบเฉพาะกุหลาบตัดดอกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ทางการค้าในตลาดโลกเป็น 5 ประเภทดังนี้\n</p>\n<ul>\n<li><b>กุหลาบดอกใหญ่</b> หรือ กุหลาบก้านยาว (large flowered or long stemmed roses) กุหลาบประเภทนี้เป็นกุหลาบไฮบริดที (Hybrid Tea: HT) ที่มีดอกใหญ่ แต่การดูแลรักษายาก <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ผลผลิต (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ผลผลิต</span></u></a>ต่ำ (100-150 ดอก/ตร.ม./ปี) และอายุการปักแจกันสั้นกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับกุหลาบ Floribunda มักมีก้านยาวระหว่าง 50-120 เซนติเมตร กุหลาบดอกใหญ่ได้รับความนิยมมากใน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย <a href=\"/wiki/เอกวาดอร์\" title=\"เอกวาดอร์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เอกวาดอร์</span></u></a> เม็กซิโก <a href=\"/wiki/ญี่ปุ่น\" title=\"ญี่ปุ่น\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ญี่ปุ่น</span></u></a> <a href=\"/wiki/ซิมบับเว\" title=\"ซิมบับเว\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ซิมบับเว</span></u></a> <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%8A%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โมร๊อกโก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โมร๊อกโก</span></u></a> ฝรั่งเศส และ อิตาลี พันธุ์กุหลาบดอกใหญ่ที่เป็นที่นิยมในตลาดต่างประเทศได้แก่ พันธุ์ เวก้า (Vega: แดง) , มาดาม เดลบา (Madam Delbard) , วีซ่า (Visa: แดง) , โรเท โรเซ (Rote Rose: แดง) , คารล์ เรด (Carl Red: แดง) , โซเนีย (Sonia: ชมพูส้ม) , เฟิร์สเรด (First Red: แดง) , โพรฟิตา (Prophyta: ปูนแห้ง) , บิอังกา (Bianca: ขาว) , โนเบลส (Noblesse: ชมพูส้ม) และ แกรนด์ กาลา (Grand Gala: แดง) เป็นต้น </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>กุหลาบดอกกลาง</b> หรือ กุหลาบก้านขนาดกลาง (medium flowered or medium stemmed roses) เป็นกุหลาบชนิดใหม่ ซึ่งมีลักษณะระหว่างกุหลาบดอกใหญ่ และเล็ก เป็นกุหลาบ Hybrid Tea ให้ผลผลิตสูง (150-220 ดอก/ตร.ม./ปี) อายุการปักแจกันยาว และทนการขนส่งได้ดี ความยาวก้านระหว่าง 40-60 ซม. แหล่งผลิตที่สำคัญได้แก่ประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี อิสราเอล ซิมบับเว เคนยา พันธุ์ที่นิยมปลูกได้แก่พันธุ์ ซาช่า (Sacha: แดง) , เมอร์ซิเดส (Mercedes: แดง) , เกเบรียล (Gabrielle: แดงสด) , คิสส์ (Kiss: ชมพู) , โกลเด้นทาม (Goldentime: เหลือง) , ซาฟารี (Safari: ส้ม) และ ซูวีเนีย (Souvenir: ม่วง) เป็นต้น </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>กุหลาบดอกเล็ก</b> หรือ กุหลาบก้านสั้น (small flowered or short stemmed roses) เป็นกุหลาบที่ได้รับความนิยมปลูก และบริโภคกันมากในยุโรป โดยเฉพาะ เยอรมันนี และเนเธอร์แลนด์ กุหลาบก้านสั้นนี้เป็นกุหลาบ Floribunda ที่ให้ผลผลิตสูง (220-350 ดอก/ตร.ม./ปี) อายุการปักแจกันยาว และทนต่อการขนส่งดีกว่ากุหลาบดอกใหญ่ มักมีความยาวก้านระหว่าง 30-50 เซนติเมตร แหล่งผลิตกุหลาบดอกเล็กได้แก่ประเทศ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิสราเอล และเคนยา พันธุ์ที่นิยมปลูกได้แก่พันธุ์ ฟริสโก (Frisco:เหลือง) , เอสกิโม (Escimo: ขาว) , โมเทรีย (Motrea: แดง) , เซอไพรซ์ (Surprise: ชมพู) , และ แลมบาด้า (Lambada: แสด) เป็นต้น </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>กุหลาบดอกช่อ</b> (spray roses) เป็นกุหลาบชนิดใหม่ ให้ผลผลิตต่ำต่อพื้นที่ (120-160 ดอกต่อตารางเมตรต่อปี) ความยาวก้านระหว่าง 40-70 ซม. มักมี 4-5 ดอกในหนึ่งช่อ และยังมีตลาดจำกัดอยู่ เช่นพันธุ์ เอวีลีน (Evelien: ชมพู) เดียดีม (Diadeem: ชมพู) และ นิกิต้า (Nikita: แดง) เป็นต้น </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>กุหลาบหนู</b> (miniature roses) มีขนาดเล็กหรือแคระโดยธรรมชาติ ความสูงของทรงพุ่มไม่เกิน 1 ฟุตให้ผลผลิตสูง 450-550 ดอก/ตร.ม./ปี มีความยาวก้านดอกระหว่าง 20-30 ซม. ยังมีตลาดจำกัดอยู่ยกเว้นในประเทศญี่ปุ่น แอฟริกาใต้ และอิตาลี </li>\n</ul>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C\" title=\".E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C\" id=\".E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C\"></a>\n</p>\n<h2><span class=\"mw-headline\">สายพันธุ์</span></h2>\n<p>\nการคัดเลือกพันธุ์กุหลาบในปัจจุบันจะคำนึงถึงประโยชน์ และความคุ้มค่าที่ผู้บริโภคจะได้รับ มากกว่าการที่ดอกสวยสะดุดตาแต่เมื่อซื้อไปก็เหี่ยวทันที ดังนั้นการคัดเลือกพันธุ์กุหลาบในปัจจุบันมักมีข้อพิจารณาดังนี้\n</p>\n<ol>\n<li>มีผลผลิตสูง ปัจจุบันกุหลาบดอกเล็กให้ผลผลิตสูงถึง 300 ดอก/ตร.ม./ปี </li>\n<li>อายุการปักแจกันนาน พันธุ์กุหลาบในสมัยทศวรรษที่แล้วจะบานได้เพียง 5-6 วัน ปัจจุบันกุหลาบพันธุ์ใหม่ ๆ สามารถปานได้ทนถึง 16 วัน </li>\n<li>กุหลาบที่สามารถดูดน้ำได้ดี </li>\n<li>กุหลาบที่ไม่มีหนามหรือหนามน้อยเพื่อความสะดวกในการจัดการ </li>\n<li>สี สีแดงยังคงครองตลาดอยู่ รองลงมาคือ<a href=\"/wiki/สีชมพู\" title=\"สีชมพู\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สีชมพู</span></u></a> สีอ่อนเย็นตา และสองสีในดอกเดียวกัน </li>\n<li>กลิ่น เป็นที่เสียดายที่กุหลาบกลิ่นหอมมักไม่ทน แต่ก็มีการผสมพันธุ์กุหลาบตัดดอกกลิ่นหอมบ้าง สำหรับตลาดท้องถิ่น </li>\n<li>มีความต้านทานโรค และทนความเสียหายจากการจัดการสูง </li>\n</ol>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.82.E0.B8.A2.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.82.E0.B8.A2.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.82.E0.B8.A2.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.98.E0.B8.B8.E0.B9.8C.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\"></a>\n</p>\n<h2><span class=\"editsection\">]</span> <span class=\"mw-headline\">การขยายพันธุ์กุหลาบ</span></h2>\n<p>\nกุหลาบ สามารถขยายพันธุ์ได้หลายวิธี เช่น การตัดชำ การตอน การติดตา และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อให้ได้ต้นกุหลาบที่มีระบบรากที่แข็งแรง และให้ผลผลิตสูงเกษตรกรมักนิยมกุหลาบพันธุ์ดีที่ติดตาบนตอกุหลาบป่า การปลูกและการจัดการ\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.AA.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.9E.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.A1.E0.B9.83.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" title=\".E0.B8.AA.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.9E.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.A1.E0.B9.83.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" id=\".E0.B8.AA.E0.B8.A0.E0.B8.B2.E0.B8.9E.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.A1.E0.B9.83.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">สภาพที่เหมาะสมในการปลูก</span></h2>\n<p>\nพื้นที่ปลูก ควรปลูกในที่ที่ระบายน้ำได้ดี มีความเป็นกรดเล็กน้อย พีเอ็ช ประมาณ 6-6.5 และได้แสงอย่างน้อย 6 ชั่วโมง อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญของกุหลาบคือ กลางคืน 15-18 องศาเซลเซียส และกลางวัน 20-25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิที่จะทำให้ได้ดอกที่มีคุณภาพดี และให้ผลผลิตสูง หากอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส การเจริญเติบโตและการออกดอกจะช้าอย่างมาก หากอุณหภูมิสูงกว่า 28 องศาเซลเซียส ควรให้มีความชื้นในอากาศสูงเพื่อชลอการคายน้ำ ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมกับการเจริญของกุหลาบคือร้อยละ 70-80 แสง กุหลาบจะให้ผลผลิตสูง และดอกมีคุณภาพดี ถ้าความเข้มของแสงมาก และช่วงวันยาว\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">การให้น้ำ และปุ๋ยกุหลาบ</span></h2>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B9.89.E0.B8.B3\"></a>\n</p>\n<h3><span class=\"mw-headline\">การให้น้ำ</span></h3>\n<p>\nให้น้ำระบบน้ำหยด หรือใช้หัวพ่นน้ำระหว่างแถวปลูก อัตรา 6-7 ลิตร/ตร.ม./ วัน หรือ 49 ลิตร/ตร.ม./สัปดาห์ อาจให้ทุกวัน วันเว้นวัน หรือ 2-3 วันต่อครั้ง แล้วแต่สภาพการอุ้มน้ำของดิน อย่ารดน้ำให้ดินแฉะตลอดเวลา ควรให้ดินมีโอกาสระบายน้ำ และมีอากาศเข้าไปแทนที่บ้าง ดังนั้นใน 1 สัปดาห์ หากปลูกในโรงเรือนจะต้องใช้น้ำประมาณ 78,400 ลิตร หรือ 78.4 คิวบิคเมตร ต่อไร่ น้ำที่ใช้ควรมีคุณภาพดี มี pH 5.8-6.5\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B8.99.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B8.99.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B8.99.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\"></a>\n</p>\n<h3><span class=\"mw-headline\">การให้ปุ๋ยก่อนปลูก</span></h3>\n<p>\nปุ๋ยก่อนปลูกคือปุ๋ยที่ผสมกับเครื่องปลูกก่อนการปลูกพืช ซึ่งให้ประโยชน์ 2 ประการคือ\n</p>\n<ol>\n<li>ให้ธาตุอาหารที่พืชต้องการอย่างเพียงพอตั้งแต่เริ่มปลูก </li>\n<li>ให้ธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมากและเพียงพอสำหรับการปลูกพืชตลอดฤดู ซึ่งทำให้สามารถงดหรือลดการให้ปุ๋ยนั้น ๆ ได้ </li>\n</ol>\n<p>\nระหว่างการปลูกพืชการให้ธาตุอาหารทุกชนิดแก่พืชในขณะปลูก ทำได้ลำบากเนื่องจากมีถึง 14 ธาตุ ธาตุบางชนิดจะมีอยู่ในดินอยู่แล้ว บางชนิดต้องให้เพิ่มเติม หากเป็นไปได้ควรส่งดินไปตรวจเพื่อรับคำแนะนำว่าควรปรับปรุงดินได้อย่างไร ซึ่งตัวอย่างสามารถส่งไปตรวจที่กองเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.AB.E0.B8.A7.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.AB.E0.B8.A7.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.9B.E0.B8.B8.E0.B9.8B.E0.B8.A2.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.AB.E0.B8.A7.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.9B.E0.B8.A5.E0.B8.B9.E0.B8.81\"></a>\n</p>\n<h3> <span class=\"mw-headline\">การให้ปุ๋ยระหว่างปลูก</span></h3>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B4.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.93_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.A3\" title=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B4.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.93_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.A3\" id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B4.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.93_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.98.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.AB.E0.B8.B2.E0.B8.A3\"></a>\n</p>\n<h4> <span class=\"mw-headline\">ปริมาณ และสัดส่วนของธาตุอาหาร</span></h4>\n<p>\nการให้ปุ๋ยระหว่างปลูกพืช เนื่องจากธาตุอาหารส่วนใหญ่จะมีอยู่ในดินแล้วเมื่อปลูกพืชจึงยังคงเหลือธาตุ ไนโตรเจน และโปแตสเซืยม ซึ่งจะถูกชะล้างได้ง่าย ดังนั้นจึงต้องให้ปุ๋ย ทั้งสองในระหว่างที่พืชเจริญเติบโต ซึ่งการให้ปุ๋ยอาจทำได้โดยการให้พร้อมกับการให้น้ำ (fertigation)\n</p>\n<p>\nการให้ปุ๋ยพร้อมกับน้ำสำหรับกุหลาบ หากให้ทุกวันจะให้ในอัตราความเข้มข้นของไนโตรเจน 160 มก./ลิตร (ppm) และหากให้ปุ๋ยทุกสัปดาห์ควรให้ในอัตราความเข้มข้นของไนโตรเจน 480 มก./ลิตร\n</p>\n<p>\nสัดส่วนของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P<sub>2</sub>O) และโปแตสเซียม (K<sub>2</sub>O) สำหรับกุหลาบในระยะต่าง ๆ คือ\n</p>\n<ol>\n<li><b>ระยะสร้างทรงพุ่ม</b> สัดส่วน 1 : 0.58 : 0.83 </li>\n<li><b>ระยะให้ดอก</b> สัดส่วน 1 : 0.5 : 0.78 </li>\n<li><b>ระยะตัดแต่งกิ่ง</b> สัดส่วน 1: 0.8 : 0.9 </li>\n</ol>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.95.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B9.81.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.95.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B9.81.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.95.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B9.81.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B9.88.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\"></a>\n</p>\n<h2><span class=\"mw-headline\">การตัดแต่งกิ่งกุหลาบ</span></h2>\n<p>\n<b>การดูแลกุหลาบระยะแรกหลังปลูก</b> เมื่อตากุหลาบเริ่มแตก ควรส่งเสริมให้มีการเจริญทางใบ เพื่อการสะสมอาหาร และสร้างกิ่งกระโดง เพื่อให้ได้ดอกที่มีขนาดใหญ่ และก้านยาว ซึ่งทำได้ด้วยการเด็ดยอดเป็นระยะเวลาประมาณ 2-3 เดือน โดยเด็ดส่วนเหนือใบสมบูรณ์ (5 ใบย่อย) ใบที่สองจากยอด เมื่อดอกมีขนาดเท่าเมล็ดถั่วลันเตา จากนั้นกิ่งกระโดงจะเริ่มแทงออก ซึ่งกิ่งกระโดงนี้จะเป็นโครงสร้างหลักให้ต้นกุหลาบ ที่ให้ดอกมีคุณภาพดี\n</p>\n<p>\n<b>การตัดแต่งกิ่ง</b> การตัดแต่งกิ่งกุหลาบปฏิบัติได้หลายวิธี แต่ละวิธีจะใช้หลักการที่คล้ายกัน คือตัดแต่งเพื่อให้ได้กิ่งที่สมบูรณ์เพื่อการตัดดอก และเพื่อให้ได้กิ่งกระโดง (water sprout หรือ bottom break) มากขึ้น และจะรักษาใบไว้กับต้นให้มากที่สุด เพื่อให้ได้กิ่งที่สมบูรณ์ที่สุด ควรรักษาให้พุ่มกุหลาบโปร่ง และไม่สูงมากเกินไปนัก เพื่อสะดวกต่อการดูแลรักษา และแสงที่กระทบโคนต้นกุหลาบจะช่วยกระตุ้นให้เกิดกิ่งกระโดงอีกด้วย การตัดแต่งกิ่งที่นิยมในปัจจุบันได้แก่การตัดแต่งกิ่งแบบ ตัดสูงและต่ำ\n</p>\n<p>\nการตัดแต่งแบบ ตัดสูงและต่ำ (สูงและต่ำจากจุดกำเนิดของกิ่งสุดท้าย) เป็นการตัดแต่งเพื่อให้มีการผลิตดอกสม่ำเสมอทั้งปี\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B9.82.E0.B8.A3.E0.B8.84.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" title=\".E0.B9.82.E0.B8.A3.E0.B8.84.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" id=\".E0.B9.82.E0.B8.A3.E0.B8.84.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">โรคกุหลาบ</span></h2>\n<p>\nกุหลาบเป็นไม้ตัดดอกชนิดหนึ่งที่มีศัตรูมากพืชหนึ่ง ดังนั้นการป้องกันและกำจัดศัตรูกุหลาบให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปลูกควรทราบลักษณะสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และวงจรชีวิตของศัตรูนั้น ๆ รวมทั้งการป้องกันกำจัด และการใช้สารเคมีให้มีประสิทธิภาพเพื่อไม่ให้เป็นอันตรายแก่ตัวเองและผู้อื่น และควรฝึกเจ้าหน้าที่ให้หมั่นตรวจแปลง และสังเกตต้นกุหลาบทุกวันจะช่วยให้พบโรคหรือแมลงในระยะเริ่มแรก ทำให้สามารถกำจัดได้ง่าย ในการฉีดพ่นสารเคมีควรใช้สารเคมีชนิดเดียวกันติดต่อกันอย่างน้อย 2-3 ครั้งเพื่อให้สารนั้น ๆ แสดงประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ จากนั้นนั้นควรสับเปลี่ยนกลุ่มของสารเคมีเพื่อลดการดื้อยา\n</p>\n<ul>\n<li><b>โรคราน้ำค้าง (Downey mildew)</b> เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Peronospora spasa ลักษณะการทำลาย อาการจะแสดงบน ใบ กิ่ง คอดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก การเข้าทำลายจะจำกัดที่ส่วนอ่อน หรือส่วนยอด </li>\n<li><b>โรคราแป้ง (Powdery mildew)</b> เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Sphaerotheca pannosa ลักษณะการทำลาย อาการเริ่มแรกผิวใบด้านบนจะมีลักษณะนูน อวบน้ำเล็กน้อย และบริเวณนั้นมักมีสีแดง และจะสังเกตเห็นเส้นใย และอัปสปอร์ สีขาวเด่นชัดบนผิวของใบอ่อน ใบจะบิดเบี้ยว และจะถูกปกคลุมด้วยเส้นใยสีขาว ใบแก่อาจไม่เสียรูปแต่จะมีราแป้งเป็นวงกลม หรือรูปทรงไม่แน่นอน </li>\n<li><b>โรคใบจุดสีดำ (black spot: Diplocarpon rosae)</b> เป็นโรคที่พบเสมอ ๆ ในกุหลาบที่ปลูกเป็นแปลงใหญ่ ๆ หรือปลูกประดับอาคารบ้านเรือนเพียง 2-3 ต้น โดยมากจะเกิดกับใบล่าง ๆ อาการเริ่มแรกเป็นจุดกลมสีดำขนาดเล็กด้านบนของใบ และจะขยายใหญ่ขึ้นหากอากาศมีความชื้นสูง และผิวใบเปียก หากเป็นติดต่อกันนาน จะทำให้ใบร่วงก่อนกำหนด ต้นโทรม ใบและดอกมีขนาดเล็กลง </li>\n<li><b>โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส</b> ลักษณะอาการแตกต่างกันไปตามชนิดของไวรัส เช่น ใบด่างซีดเหลือง หรือด่างเป็นซิกแซก </li>\n<li><b>โรคราสีเทา (botrytis: Botryotinia fuckeliana syn. Botrytis cinerea)</b> มักพบในสภาพอุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพัทธ์สูง และการระบายอากาศไม่ดีพอ ดอกตูมจะเป็นจุดสีน้ำตาล และลามขยายใหญ่และเน่าแห้ง การป้องกันกำจัด เพื่อไม่ให้ดอกกุหลาบถูกฝนควรปลูกกุหลาบในโรงเรือนพลาสติก การป้องกันควรฉีดพ่นสารเคมีด้านข้างและด้านบนดอกด้วย คอปเปอร์ ไฮดร๊อกไซด์ แมนโคเซ็บ หรือ คอปเปอร์ อ๊อกซี่คลอไรด์ </li>\n<li><b>โรคกิ่งแห้งตาย (die back)</b> เกิดจากตัดกิ่งเหนือตามากเกินไปทำให้เชื้อราเข้าทำลายกิ่งเหนือตาจนเป็นสีดำ และอาจลามลงมาทั้งกิ่งได้ ดังนั้นจึงควรตัดกิ่งเหนือตาประมาณ 1/4 นิ้ว ทำมุม 45 องศาเฉียงลง </li>\n</ul>\n<p>\n<a name=\".E0.B9.81.E0.B8.A1.E0.B8.A5.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B9.84.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B9.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" title=\".E0.B9.81.E0.B8.A1.E0.B8.A5.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B9.84.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B9.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\" id=\".E0.B9.81.E0.B8.A1.E0.B8.A5.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B9.84.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B9.E0.B8.81.E0.B8.B8.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.9A\"></a>\n</p>\n<h2><span class=\"mw-headline\">แมลงและไรศัตรูกุหลาบ</span></h2>\n<ol>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ไรแดง (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไรแดง</span></u></a> (Spider mite) </li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%9F&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลี้ยไฟ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เพลี้ยไฟ</span></u></a> (Thrips) </li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"หนอนเจาะสมอฝ้าย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">หนอนเจาะสมอฝ้าย</span></u></a> (Heliothis armigera) </li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"หนอนกระทู้หอม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">หนอนกระทู้หอม</span></u></a>หรือหนอนหนังเหนียว (onion cutworm: Spodoptera exigua) </li>\n<li><a href=\"/wiki/ด้วงกุหลาบ\" title=\"ด้วงกุหลาบ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ด้วงกุหลาบ</span></u></a> (rose beetle: Adoretus compressus) </li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลี้ยหอย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เพลี้ยหอย</span></u></a> (scale insect: Aulucaspis rosae) </li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลี้ยอ่อน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เพลี้ยอ่อน</span></u></a> (aphids: Macrosiphum rosae และ Myzaphis rosarum) </li>\n</ol>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B9.87.E0.B8.9A.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.A2.E0.B8.A7\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B9.87.E0.B8.9A.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.A2.E0.B8.A7\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B9.87.E0.B8.9A.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.A2.E0.B8.A7\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">การเก็บเกี่ยว</span></h2>\n<p>\nระยะที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวกุหลาบ คือ ตัดเมื่อดอกตูมอยู่หรือเห็นกลีบดอกเริ่มแย้ม (ยกเว้นบางสายพันธุ์) หากตัดดอกอ่อนเกินไปดอกจะไม่บาน ในฤดูร้อนควรตัดในระยะที่ยังตูมมากกว่าการตัดในฤดูหนาวเพราะดอกจะบานเร็วกว่า\n</p>\n<p>\n<a name=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.82.E0.B8.A2.E0.B8.8A.E0.B8.99.E0.B9.8C\" title=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.82.E0.B8.A2.E0.B8.8A.E0.B8.99.E0.B9.8C\" id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.82.E0.B8.A2.E0.B8.8A.E0.B8.99.E0.B9.8C\"></a>\n</p>\n<h2> <span class=\"mw-headline\">ประโยชน์</span></h2>\n<p>\nปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน เพิ่มบรรยากาศ ใช้ประดับตกแต่งบ้าน งานเลี้ยง งานแต่งงาน ปลูกเพื่อส่งดอกขาย เพื่อนำไปสกัดน้ำหอม นำไปทำเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้น\n</p>\n', created = 1726845863, expire = 1726932263, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:65134b54af3112e8a447851832d18578' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดอกกุหลาบ

ศัพทมูลวิทยา

คำว่ากุหลาบนั้นเป็นคำศัพท์มาจากภาษาฮินดี (गुलाब อ่านว่า กุ-ลาพ หรือคนไทยเราเรียกว่า คุ-ลาพ แล้วตอนหลังก็เป็นกุหลาบ)

 ความสำคัญทางเศรษฐกิจ

กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้ากันแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการซื้อขาย เป็นอันดับหนึ่งในตลาดประมูลอัลสเมีย ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นตลาดประมูลไม้ดอก ที่ใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อ พ.ศ. 2542 มีการซื้อขายถึง 1,672 ล้านดอก และมักจะมียอดขายสูงสุดในประเทศต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้ดอกชนิดอื่น ๆ โดยประเทศที่ผลิตกุหลาบรายใหญ่ของโลกได้แก่ อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ อิสราเอล เยอรมนี เคนยา ซิมบับเว เบลเยียม ฝรั่งเศส เม็กซิโก แทนซาเนีย และมาลาวี เป็นต้น

ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบตัดดอกประมาณ 5,500 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ แหล่งปลูกที่สำคัญได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และกาญจนบุรี มีการขยายตัวของพื้นที่มากที่สุดใน อำเภอพบพระ จังหวัดตาก ซึ่งปัจจุบันประมาณว่ามีพื้นที่การผลิตถึง 3,000 ไร่ เนื่องจาก อ.พบพระ มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม พื้นที่ไม่สูงชัน และค่าจ้างแรงงานต่ำ (แรงงานต่างชาติ) การผลิตกุหลาบในประเทศไทยอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การผลิตกุหลาบในเชิงปริมาณ และการผลิตกุหลาบเชิงคุณภาพ การผลิตกุหลาบเชิงปริมาณ หมายถึงการปลูกกุหลาบในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรือปลูกในพื้นที่ราบ ซึ่งจะให้ผลผลิตมีปริมาณมาก แต่ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เช่น ดอกและก้านมีขนาดเล็ก มีตำหนิจากโรคและแมลง หรือการขนส่ง อายุการปักแจกันสั้น ทำให้ราคาต่ำ การผลิตชนิดนี้ต้องอาศัยการผลิตในปริมาณมากเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ ส่วนการผลิตกุหลาบในเชิงคุณภาพ นิยมปลูกในเขตภาคเหนือ และบนที่สูง โดยปลูกกุหลาบภายใต้โรงเรือนพลาสติก ในพื้นที่จำกัด มีการจัดการการผลิตและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวที่ดี ใช้แรงงานที่ชำนาญ ทำให้กุหลาบที่ได้มีคุณภาพดี และปักแจกันได้นาน ตลาดของกุหลาบคุณภาพปานกลางถึงต่ำ (ตลาดล่าง) ในปัจจุบันถึงขั้นอิ่มตัว เกษตรกรขายได้ราคาต่ำมาก ส่วนตลาดของกุหลาบที่มีคุณภาพสูง (ตลาดบน) ผลผลิตในประเทศยังไม่เพียงพอ และขาดความต่อเนื่อง ทำให้ยังต้องนำเข้าดอกกุหลาบจากต่างประเทศ เช่น เนเธอร์แลนด์ และมาเลเซีย เป็นต้น

ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตกุหลาบคุณภาพสูงอย่างต่อเนื่อง หากแต่จะต้องผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม คือพื้นที่สูงมากกว่า 800 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล หากปลูกในที่ราบจะได้คุณภาพดีในช่วงฤดูหนาวเท่านั้น ดังนั้นการผลิตกุหลาบมีแนวโน้มเพิ่มพื้นที่การผลิตบนที่สูงมากขึ้น

 ประเภท

กุหลาบสามารถจำแนกได้หลายแบบ เช่น จำแนกตามลักษณะการเจริญเติบโต ขนาดดอก สีดอก ความสูงต้น และจำแนก ตามลักษณะของดอก เป็นต้น ในที่นี้ได้จำแนกกุหลาบเฉพาะกุหลาบตัดดอกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ ทางการค้าในตลาดโลกเป็น 5 ประเภทดังนี้

  • กุหลาบดอกใหญ่ หรือ กุหลาบก้านยาว (large flowered or long stemmed roses) กุหลาบประเภทนี้เป็นกุหลาบไฮบริดที (Hybrid Tea: HT) ที่มีดอกใหญ่ แต่การดูแลรักษายาก ผลผลิตต่ำ (100-150 ดอก/ตร.ม./ปี) และอายุการปักแจกันสั้นกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับกุหลาบ Floribunda มักมีก้านยาวระหว่าง 50-120 เซนติเมตร กุหลาบดอกใหญ่ได้รับความนิยมมากใน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เม็กซิโก ญี่ปุ่น ซิมบับเว โมร๊อกโก ฝรั่งเศส และ อิตาลี พันธุ์กุหลาบดอกใหญ่ที่เป็นที่นิยมในตลาดต่างประเทศได้แก่ พันธุ์ เวก้า (Vega: แดง) , มาดาม เดลบา (Madam Delbard) , วีซ่า (Visa: แดง) , โรเท โรเซ (Rote Rose: แดง) , คารล์ เรด (Carl Red: แดง) , โซเนีย (Sonia: ชมพูส้ม) , เฟิร์สเรด (First Red: แดง) , โพรฟิตา (Prophyta: ปูนแห้ง) , บิอังกา (Bianca: ขาว) , โนเบลส (Noblesse: ชมพูส้ม) และ แกรนด์ กาลา (Grand Gala: แดง) เป็นต้น
  • กุหลาบดอกกลาง หรือ กุหลาบก้านขนาดกลาง (medium flowered or medium stemmed roses) เป็นกุหลาบชนิดใหม่ ซึ่งมีลักษณะระหว่างกุหลาบดอกใหญ่ และเล็ก เป็นกุหลาบ Hybrid Tea ให้ผลผลิตสูง (150-220 ดอก/ตร.ม./ปี) อายุการปักแจกันยาว และทนการขนส่งได้ดี ความยาวก้านระหว่าง 40-60 ซม. แหล่งผลิตที่สำคัญได้แก่ประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี อิสราเอล ซิมบับเว เคนยา พันธุ์ที่นิยมปลูกได้แก่พันธุ์ ซาช่า (Sacha: แดง) , เมอร์ซิเดส (Mercedes: แดง) , เกเบรียล (Gabrielle: แดงสด) , คิสส์ (Kiss: ชมพู) , โกลเด้นทาม (Goldentime: เหลือง) , ซาฟารี (Safari: ส้ม) และ ซูวีเนีย (Souvenir: ม่วง) เป็นต้น
  • กุหลาบดอกเล็ก หรือ กุหลาบก้านสั้น (small flowered or short stemmed roses) เป็นกุหลาบที่ได้รับความนิยมปลูก และบริโภคกันมากในยุโรป โดยเฉพาะ เยอรมันนี และเนเธอร์แลนด์ กุหลาบก้านสั้นนี้เป็นกุหลาบ Floribunda ที่ให้ผลผลิตสูง (220-350 ดอก/ตร.ม./ปี) อายุการปักแจกันยาว และทนต่อการขนส่งดีกว่ากุหลาบดอกใหญ่ มักมีความยาวก้านระหว่าง 30-50 เซนติเมตร แหล่งผลิตกุหลาบดอกเล็กได้แก่ประเทศ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิสราเอล และเคนยา พันธุ์ที่นิยมปลูกได้แก่พันธุ์ ฟริสโก (Frisco:เหลือง) , เอสกิโม (Escimo: ขาว) , โมเทรีย (Motrea: แดง) , เซอไพรซ์ (Surprise: ชมพู) , และ แลมบาด้า (Lambada: แสด) เป็นต้น
  • กุหลาบดอกช่อ (spray roses) เป็นกุหลาบชนิดใหม่ ให้ผลผลิตต่ำต่อพื้นที่ (120-160 ดอกต่อตารางเมตรต่อปี) ความยาวก้านระหว่าง 40-70 ซม. มักมี 4-5 ดอกในหนึ่งช่อ และยังมีตลาดจำกัดอยู่ เช่นพันธุ์ เอวีลีน (Evelien: ชมพู) เดียดีม (Diadeem: ชมพู) และ นิกิต้า (Nikita: แดง) เป็นต้น
  • กุหลาบหนู (miniature roses) มีขนาดเล็กหรือแคระโดยธรรมชาติ ความสูงของทรงพุ่มไม่เกิน 1 ฟุตให้ผลผลิตสูง 450-550 ดอก/ตร.ม./ปี มีความยาวก้านดอกระหว่าง 20-30 ซม. ยังมีตลาดจำกัดอยู่ยกเว้นในประเทศญี่ปุ่น แอฟริกาใต้ และอิตาลี

สายพันธุ์

การคัดเลือกพันธุ์กุหลาบในปัจจุบันจะคำนึงถึงประโยชน์ และความคุ้มค่าที่ผู้บริโภคจะได้รับ มากกว่าการที่ดอกสวยสะดุดตาแต่เมื่อซื้อไปก็เหี่ยวทันที ดังนั้นการคัดเลือกพันธุ์กุหลาบในปัจจุบันมักมีข้อพิจารณาดังนี้

  1. มีผลผลิตสูง ปัจจุบันกุหลาบดอกเล็กให้ผลผลิตสูงถึง 300 ดอก/ตร.ม./ปี
  2. อายุการปักแจกันนาน พันธุ์กุหลาบในสมัยทศวรรษที่แล้วจะบานได้เพียง 5-6 วัน ปัจจุบันกุหลาบพันธุ์ใหม่ ๆ สามารถปานได้ทนถึง 16 วัน
  3. กุหลาบที่สามารถดูดน้ำได้ดี
  4. กุหลาบที่ไม่มีหนามหรือหนามน้อยเพื่อความสะดวกในการจัดการ
  5. สี สีแดงยังคงครองตลาดอยู่ รองลงมาคือสีชมพู สีอ่อนเย็นตา และสองสีในดอกเดียวกัน
  6. กลิ่น เป็นที่เสียดายที่กุหลาบกลิ่นหอมมักไม่ทน แต่ก็มีการผสมพันธุ์กุหลาบตัดดอกกลิ่นหอมบ้าง สำหรับตลาดท้องถิ่น
  7. มีความต้านทานโรค และทนความเสียหายจากการจัดการสูง

] การขยายพันธุ์กุหลาบ

กุหลาบ สามารถขยายพันธุ์ได้หลายวิธี เช่น การตัดชำ การตอน การติดตา และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อให้ได้ต้นกุหลาบที่มีระบบรากที่แข็งแรง และให้ผลผลิตสูงเกษตรกรมักนิยมกุหลาบพันธุ์ดีที่ติดตาบนตอกุหลาบป่า การปลูกและการจัดการ

 สภาพที่เหมาะสมในการปลูก

พื้นที่ปลูก ควรปลูกในที่ที่ระบายน้ำได้ดี มีความเป็นกรดเล็กน้อย พีเอ็ช ประมาณ 6-6.5 และได้แสงอย่างน้อย 6 ชั่วโมง อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญของกุหลาบคือ กลางคืน 15-18 องศาเซลเซียส และกลางวัน 20-25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิที่จะทำให้ได้ดอกที่มีคุณภาพดี และให้ผลผลิตสูง หากอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส การเจริญเติบโตและการออกดอกจะช้าอย่างมาก หากอุณหภูมิสูงกว่า 28 องศาเซลเซียส ควรให้มีความชื้นในอากาศสูงเพื่อชลอการคายน้ำ ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสมกับการเจริญของกุหลาบคือร้อยละ 70-80 แสง กุหลาบจะให้ผลผลิตสูง และดอกมีคุณภาพดี ถ้าความเข้มของแสงมาก และช่วงวันยาว

 การให้น้ำ และปุ๋ยกุหลาบ

การให้น้ำ

ให้น้ำระบบน้ำหยด หรือใช้หัวพ่นน้ำระหว่างแถวปลูก อัตรา 6-7 ลิตร/ตร.ม./ วัน หรือ 49 ลิตร/ตร.ม./สัปดาห์ อาจให้ทุกวัน วันเว้นวัน หรือ 2-3 วันต่อครั้ง แล้วแต่สภาพการอุ้มน้ำของดิน อย่ารดน้ำให้ดินแฉะตลอดเวลา ควรให้ดินมีโอกาสระบายน้ำ และมีอากาศเข้าไปแทนที่บ้าง ดังนั้นใน 1 สัปดาห์ หากปลูกในโรงเรือนจะต้องใช้น้ำประมาณ 78,400 ลิตร หรือ 78.4 คิวบิคเมตร ต่อไร่ น้ำที่ใช้ควรมีคุณภาพดี มี pH 5.8-6.5

การให้ปุ๋ยก่อนปลูก

ปุ๋ยก่อนปลูกคือปุ๋ยที่ผสมกับเครื่องปลูกก่อนการปลูกพืช ซึ่งให้ประโยชน์ 2 ประการคือ

  1. ให้ธาตุอาหารที่พืชต้องการอย่างเพียงพอตั้งแต่เริ่มปลูก
  2. ให้ธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมากและเพียงพอสำหรับการปลูกพืชตลอดฤดู ซึ่งทำให้สามารถงดหรือลดการให้ปุ๋ยนั้น ๆ ได้

ระหว่างการปลูกพืชการให้ธาตุอาหารทุกชนิดแก่พืชในขณะปลูก ทำได้ลำบากเนื่องจากมีถึง 14 ธาตุ ธาตุบางชนิดจะมีอยู่ในดินอยู่แล้ว บางชนิดต้องให้เพิ่มเติม หากเป็นไปได้ควรส่งดินไปตรวจเพื่อรับคำแนะนำว่าควรปรับปรุงดินได้อย่างไร ซึ่งตัวอย่างสามารถส่งไปตรวจที่กองเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ

 การให้ปุ๋ยระหว่างปลูก

 ปริมาณ และสัดส่วนของธาตุอาหาร

การให้ปุ๋ยระหว่างปลูกพืช เนื่องจากธาตุอาหารส่วนใหญ่จะมีอยู่ในดินแล้วเมื่อปลูกพืชจึงยังคงเหลือธาตุ ไนโตรเจน และโปแตสเซืยม ซึ่งจะถูกชะล้างได้ง่าย ดังนั้นจึงต้องให้ปุ๋ย ทั้งสองในระหว่างที่พืชเจริญเติบโต ซึ่งการให้ปุ๋ยอาจทำได้โดยการให้พร้อมกับการให้น้ำ (fertigation)

การให้ปุ๋ยพร้อมกับน้ำสำหรับกุหลาบ หากให้ทุกวันจะให้ในอัตราความเข้มข้นของไนโตรเจน 160 มก./ลิตร (ppm) และหากให้ปุ๋ยทุกสัปดาห์ควรให้ในอัตราความเข้มข้นของไนโตรเจน 480 มก./ลิตร

สัดส่วนของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P2O) และโปแตสเซียม (K2O) สำหรับกุหลาบในระยะต่าง ๆ คือ

  1. ระยะสร้างทรงพุ่ม สัดส่วน 1 : 0.58 : 0.83
  2. ระยะให้ดอก สัดส่วน 1 : 0.5 : 0.78
  3. ระยะตัดแต่งกิ่ง สัดส่วน 1: 0.8 : 0.9

การตัดแต่งกิ่งกุหลาบ

การดูแลกุหลาบระยะแรกหลังปลูก เมื่อตากุหลาบเริ่มแตก ควรส่งเสริมให้มีการเจริญทางใบ เพื่อการสะสมอาหาร และสร้างกิ่งกระโดง เพื่อให้ได้ดอกที่มีขนาดใหญ่ และก้านยาว ซึ่งทำได้ด้วยการเด็ดยอดเป็นระยะเวลาประมาณ 2-3 เดือน โดยเด็ดส่วนเหนือใบสมบูรณ์ (5 ใบย่อย) ใบที่สองจากยอด เมื่อดอกมีขนาดเท่าเมล็ดถั่วลันเตา จากนั้นกิ่งกระโดงจะเริ่มแทงออก ซึ่งกิ่งกระโดงนี้จะเป็นโครงสร้างหลักให้ต้นกุหลาบ ที่ให้ดอกมีคุณภาพดี

การตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งกิ่งกุหลาบปฏิบัติได้หลายวิธี แต่ละวิธีจะใช้หลักการที่คล้ายกัน คือตัดแต่งเพื่อให้ได้กิ่งที่สมบูรณ์เพื่อการตัดดอก และเพื่อให้ได้กิ่งกระโดง (water sprout หรือ bottom break) มากขึ้น และจะรักษาใบไว้กับต้นให้มากที่สุด เพื่อให้ได้กิ่งที่สมบูรณ์ที่สุด ควรรักษาให้พุ่มกุหลาบโปร่ง และไม่สูงมากเกินไปนัก เพื่อสะดวกต่อการดูแลรักษา และแสงที่กระทบโคนต้นกุหลาบจะช่วยกระตุ้นให้เกิดกิ่งกระโดงอีกด้วย การตัดแต่งกิ่งที่นิยมในปัจจุบันได้แก่การตัดแต่งกิ่งแบบ ตัดสูงและต่ำ

การตัดแต่งแบบ ตัดสูงและต่ำ (สูงและต่ำจากจุดกำเนิดของกิ่งสุดท้าย) เป็นการตัดแต่งเพื่อให้มีการผลิตดอกสม่ำเสมอทั้งปี

 โรคกุหลาบ

กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกชนิดหนึ่งที่มีศัตรูมากพืชหนึ่ง ดังนั้นการป้องกันและกำจัดศัตรูกุหลาบให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปลูกควรทราบลักษณะสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และวงจรชีวิตของศัตรูนั้น ๆ รวมทั้งการป้องกันกำจัด และการใช้สารเคมีให้มีประสิทธิภาพเพื่อไม่ให้เป็นอันตรายแก่ตัวเองและผู้อื่น และควรฝึกเจ้าหน้าที่ให้หมั่นตรวจแปลง และสังเกตต้นกุหลาบทุกวันจะช่วยให้พบโรคหรือแมลงในระยะเริ่มแรก ทำให้สามารถกำจัดได้ง่าย ในการฉีดพ่นสารเคมีควรใช้สารเคมีชนิดเดียวกันติดต่อกันอย่างน้อย 2-3 ครั้งเพื่อให้สารนั้น ๆ แสดงประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ จากนั้นนั้นควรสับเปลี่ยนกลุ่มของสารเคมีเพื่อลดการดื้อยา

  • โรคราน้ำค้าง (Downey mildew) เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Peronospora spasa ลักษณะการทำลาย อาการจะแสดงบน ใบ กิ่ง คอดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก การเข้าทำลายจะจำกัดที่ส่วนอ่อน หรือส่วนยอด
  • โรคราแป้ง (Powdery mildew) เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Sphaerotheca pannosa ลักษณะการทำลาย อาการเริ่มแรกผิวใบด้านบนจะมีลักษณะนูน อวบน้ำเล็กน้อย และบริเวณนั้นมักมีสีแดง และจะสังเกตเห็นเส้นใย และอัปสปอร์ สีขาวเด่นชัดบนผิวของใบอ่อน ใบจะบิดเบี้ยว และจะถูกปกคลุมด้วยเส้นใยสีขาว ใบแก่อาจไม่เสียรูปแต่จะมีราแป้งเป็นวงกลม หรือรูปทรงไม่แน่นอน
  • โรคใบจุดสีดำ (black spot: Diplocarpon rosae) เป็นโรคที่พบเสมอ ๆ ในกุหลาบที่ปลูกเป็นแปลงใหญ่ ๆ หรือปลูกประดับอาคารบ้านเรือนเพียง 2-3 ต้น โดยมากจะเกิดกับใบล่าง ๆ อาการเริ่มแรกเป็นจุดกลมสีดำขนาดเล็กด้านบนของใบ และจะขยายใหญ่ขึ้นหากอากาศมีความชื้นสูง และผิวใบเปียก หากเป็นติดต่อกันนาน จะทำให้ใบร่วงก่อนกำหนด ต้นโทรม ใบและดอกมีขนาดเล็กลง
  • โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการแตกต่างกันไปตามชนิดของไวรัส เช่น ใบด่างซีดเหลือง หรือด่างเป็นซิกแซก
  • โรคราสีเทา (botrytis: Botryotinia fuckeliana syn. Botrytis cinerea) มักพบในสภาพอุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพัทธ์สูง และการระบายอากาศไม่ดีพอ ดอกตูมจะเป็นจุดสีน้ำตาล และลามขยายใหญ่และเน่าแห้ง การป้องกันกำจัด เพื่อไม่ให้ดอกกุหลาบถูกฝนควรปลูกกุหลาบในโรงเรือนพลาสติก การป้องกันควรฉีดพ่นสารเคมีด้านข้างและด้านบนดอกด้วย คอปเปอร์ ไฮดร๊อกไซด์ แมนโคเซ็บ หรือ คอปเปอร์ อ๊อกซี่คลอไรด์
  • โรคกิ่งแห้งตาย (die back) เกิดจากตัดกิ่งเหนือตามากเกินไปทำให้เชื้อราเข้าทำลายกิ่งเหนือตาจนเป็นสีดำ และอาจลามลงมาทั้งกิ่งได้ ดังนั้นจึงควรตัดกิ่งเหนือตาประมาณ 1/4 นิ้ว ทำมุม 45 องศาเฉียงลง

แมลงและไรศัตรูกุหลาบ

  1. ไรแดง (Spider mite)
  2. เพลี้ยไฟ (Thrips)
  3. หนอนเจาะสมอฝ้าย (Heliothis armigera)
  4. หนอนกระทู้หอมหรือหนอนหนังเหนียว (onion cutworm: Spodoptera exigua)
  5. ด้วงกุหลาบ (rose beetle: Adoretus compressus)
  6. เพลี้ยหอย (scale insect: Aulucaspis rosae)
  7. เพลี้ยอ่อน (aphids: Macrosiphum rosae และ Myzaphis rosarum)

 การเก็บเกี่ยว

ระยะที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวกุหลาบ คือ ตัดเมื่อดอกตูมอยู่หรือเห็นกลีบดอกเริ่มแย้ม (ยกเว้นบางสายพันธุ์) หากตัดดอกอ่อนเกินไปดอกจะไม่บาน ในฤดูร้อนควรตัดในระยะที่ยังตูมมากกว่าการตัดในฤดูหนาวเพราะดอกจะบานเร็วกว่า

 ประโยชน์

ปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน เพิ่มบรรยากาศ ใช้ประดับตกแต่งบ้าน งานเลี้ยง งานแต่งงาน ปลูกเพื่อส่งดอกขาย เพื่อนำไปสกัดน้ำหอม นำไปทำเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้น

สร้างโดย: 
นางสาวมาลินี คำภาเมือง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 404 คน กำลังออนไลน์