• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ตัวเก็บประจุ', 'node/51555', '', '18.220.95.193', 0, '89ee981496d9f8790a8dc3274a68b363', 139, 1717355066) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2337ae649f1885717fdf5960a0241ce1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n          ตามความเชื่อของชาวจีน และชาวไทยที่อยากเชื่อแบบจีน เมื่อทราบว่าปีเกิดของตนเองชงกับปีไหน มักจะสร้างความสบายใจด้วยการทำพิธีสะเดาะเคราะห์ และอธิษฐานขอบารมีองค์เทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตาให้ปลอดภัยตลอดปี<br />\n          ในปี 2552 ทราบกันตั้งแต่ต้นปีแล้วว่า ปีที่ชงคือ ฉลู กับ จอ ชงกับ มะแม และมะโรง ไปทำพิธีสะเดาะเคราะห์กันได้ที่วัดมังกรกมลาวาสหรือวัดเล่งเน่ยยี่ ถนนเจริญกรุง ฝั่งตรงข้ามกับเยาวราช หรือไปวัดเล่งเน่ยยี่ 2 (วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์) ที่บางบัวทอง <br />\n          ขับรถไปเส้นบางบัวทอง-สุพรรณบุรี เลยบิ๊กคิงส์ บางใหญ่ ไปไม่ไกล มีป้ายสีฟ้าบอกทางไปวัดบรมฯ เป็นระยะ หรือไม่ก็นั่งรถเมล์สาย 127 จนสุดสาย\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/leng.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n          วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ มีพื้นที่ประมาณ 12 ไร่เศษ ที่จอดรถสะดวกสบาย ด้านหลังของวัดเป็นแปลงสวนผักของชาวบ้าน แม้ในวันที่อากาศร้อนก็ยังมีช่องลม พอทำให้คลายจากไอร้อนได้บ้าง<br />\n          เดิมพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นโรงเจขนาดเล็ก  ต่อมาคณะสงฆ์จีนนิกายได้พัฒนาพื้นที่นี้ขึ้นมา เพื่อสร้างเป็นวัดเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสเถลิงถวัลย์ครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ร่วมกันปฏิบัติธรรม และตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ไทย-จีน เป็นที่ศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณร<br />\n          ปี 2539 วัดมังกรกมลาวาสกราบทูลเชิญ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานในการวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2539 \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/leng1.jpg\" height=\"400\" /><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/leng3.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n          จุดที่จะเข้าไปสักการะองค์เทพเจ้า แบ่งเป็นสามส่วน คือ ส่วนแรก วิหารจตุโลกบาล ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างหอกลองและหอระฆัง ภายในมีท้าวจตุโลกบาล ท้าวกุเวรมหาราช ท้าววิรูปักษ์มหาราช ท้าววิรุฬหกมหาราช ท้าวธตรัฐมหาราช พระสกันทโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย และเทพ 8 องค์\n</p>\n<p>\n          ส่วนที่สอง อุโบสถ ชั้น 1 พื้นที่อเนกประสงค์ ชั้น 2 หอธรรม และส่วนที่สาม วิหารสุขาวดีหมื่นพุทธสุขาวดีพุทธเกษตร ภายในประดิษฐานองค์ พระอมิตตาภพุทธเจ้า พระอวโลกิเตศวรและพระมหาสถามปราบต์โพธิสัตว์ ด้านบนของวิหารรายล้อมด้วยพระพุทธรูปหนึ่งหมื่นองค์<br />\n          วิหารพระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ มีองค์พระกวนอิม พันมือพันตา ทำจากไม้สักประเทศจีน องค์พระกวนอิมมีลักษณะงดงาม ปางพันมือพันตา เปรียบเสมือนว่าท่านได้ใช้พระเนตรพันดวง ตรวจดูเหล่าสรรพสัตว์ว่าสุขทุกข์ประการใด <br />\n \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u20/leng6.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 196px; height: 277px\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n        <img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u20/leng5.jpg\" height=\"300\" /><img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u20/leng4.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/leng2.jpg\" height=\"225\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          ได้ทำบุญแล้วก็รู้สึกจิตใจสบาย ใครหิวสามารถข้ามถนนไปฝั่งตรงข้ามวัด มีร้านขายอาหารอยู่หลายร้าน ครบครันทั้งหอยทอด ผัดไทย ข้าวหมูแดง ข้าวแกง กาแฟ ขนมหวาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/leng7.jpg\" height=\"500\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n          อากาศช่วงนี้ เดินทางอย่าลืมพกร่ม พกน้ำ  ป้องกันเป็นลมแดด อ้อ! ไม่ชงก็ไปไหว้พระกันได้ ประตูวัดปิดประมาณ 6 โมงเย็น\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"right\">\nโดย พี่นู๋ “ซูชี๋” <a href=\"mailto:thaigoodview.ryo@gmail.com\">thaigoodview.ryo@gmail.com</a>\n</p>\n', created = 1717355077, expire = 1717441477, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2337ae649f1885717fdf5960a0241ce1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:123a898920c66c8f29634fe20f2396a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>กรุณาช่วยบอกรายละเอียดการเดินทางเพราะข้าพเจ้าไม่รู้เส้นทางจริงๆๆครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้า </p>\n', created = 1717355077, expire = 1717441477, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:123a898920c66c8f29634fe20f2396a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทำบุญที่วัดเล่งเน่ยยี่ (บางบัวทอง)

          ตามความเชื่อของชาวจีน และชาวไทยที่อยากเชื่อแบบจีน เมื่อทราบว่าปีเกิดของตนเองชงกับปีไหน มักจะสร้างความสบายใจด้วยการทำพิธีสะเดาะเคราะห์ และอธิษฐานขอบารมีองค์เทพเจ้าคุ้มครองดวงชะตาให้ปลอดภัยตลอดปี
          ในปี 2552 ทราบกันตั้งแต่ต้นปีแล้วว่า ปีที่ชงคือ ฉลู กับ จอ ชงกับ มะแม และมะโรง ไปทำพิธีสะเดาะเคราะห์กันได้ที่วัดมังกรกมลาวาสหรือวัดเล่งเน่ยยี่ ถนนเจริญกรุง ฝั่งตรงข้ามกับเยาวราช หรือไปวัดเล่งเน่ยยี่ 2 (วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ คณะสงฆ์จีนนิกายรังสรรค์) ที่บางบัวทอง 
          ขับรถไปเส้นบางบัวทอง-สุพรรณบุรี เลยบิ๊กคิงส์ บางใหญ่ ไปไม่ไกล มีป้ายสีฟ้าบอกทางไปวัดบรมฯ เป็นระยะ หรือไม่ก็นั่งรถเมล์สาย 127 จนสุดสาย

          วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์ มีพื้นที่ประมาณ 12 ไร่เศษ ที่จอดรถสะดวกสบาย ด้านหลังของวัดเป็นแปลงสวนผักของชาวบ้าน แม้ในวันที่อากาศร้อนก็ยังมีช่องลม พอทำให้คลายจากไอร้อนได้บ้าง
          เดิมพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นโรงเจขนาดเล็ก  ต่อมาคณะสงฆ์จีนนิกายได้พัฒนาพื้นที่นี้ขึ้นมา เพื่อสร้างเป็นวัดเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสเถลิงถวัลย์ครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ร่วมกันปฏิบัติธรรม และตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ไทย-จีน เป็นที่ศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณร
          ปี 2539 วัดมังกรกมลาวาสกราบทูลเชิญ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานในการวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2539 

 


          จุดที่จะเข้าไปสักการะองค์เทพเจ้า แบ่งเป็นสามส่วน คือ ส่วนแรก วิหารจตุโลกบาล ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างหอกลองและหอระฆัง ภายในมีท้าวจตุโลกบาล ท้าวกุเวรมหาราช ท้าววิรูปักษ์มหาราช ท้าววิรุฬหกมหาราช ท้าวธตรัฐมหาราช พระสกันทโพธิสัตว์ พระศรีอริยเมตไตรย และเทพ 8 องค์

          ส่วนที่สอง อุโบสถ ชั้น 1 พื้นที่อเนกประสงค์ ชั้น 2 หอธรรม และส่วนที่สาม วิหารสุขาวดีหมื่นพุทธสุขาวดีพุทธเกษตร ภายในประดิษฐานองค์ พระอมิตตาภพุทธเจ้า พระอวโลกิเตศวรและพระมหาสถามปราบต์โพธิสัตว์ ด้านบนของวิหารรายล้อมด้วยพระพุทธรูปหนึ่งหมื่นองค์
          วิหารพระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ มีองค์พระกวนอิม พันมือพันตา ทำจากไม้สักประเทศจีน องค์พระกวนอิมมีลักษณะงดงาม ปางพันมือพันตา เปรียบเสมือนว่าท่านได้ใช้พระเนตรพันดวง ตรวจดูเหล่าสรรพสัตว์ว่าสุขทุกข์ประการใด 
 

 

        

 

          ได้ทำบุญแล้วก็รู้สึกจิตใจสบาย ใครหิวสามารถข้ามถนนไปฝั่งตรงข้ามวัด มีร้านขายอาหารอยู่หลายร้าน ครบครันทั้งหอยทอด ผัดไทย ข้าวหมูแดง ข้าวแกง กาแฟ ขนมหวาน


          อากาศช่วงนี้ เดินทางอย่าลืมพกร่ม พกน้ำ  ป้องกันเป็นลมแดด อ้อ! ไม่ชงก็ไปไหว้พระกันได้ ประตูวัดปิดประมาณ 6 โมงเย็น


โดย พี่นู๋ “ซูชี๋” thaigoodview.ryo@gmail.com

กรุณาช่วยบอกรายละเอียดการเดินทางเพราะข้าพเจ้าไม่รู้เส้นทางจริงๆๆครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้า

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 820 คน กำลังออนไลน์