• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:199b68ac5babe8c089fc2d656b20ea8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>&nbsp;</p>\n<object width=\"340\" height=\"255\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image.jpg\" /></object>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมล็ดพันธ์ข้าว</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;“ข้าว” เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาตั้งแต่อดีต และต้องใช้เวลาที่ยาวนานและหลากหลายขั้นตอนกว่าจะออกมาเป็นข้าวหนึ่งเมล็ด ซึ่งวิธีในการปลูกข้าวนั้นมีอยู่หลากหลายวิธีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยถูกพัฒนาและคิดค้นเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาดีที่สุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ตั้งแต่อดีตคนส่วนมากจะรู้จักวิธีการปลูกข้าว คือวิธีการทำนาดำและนาหว่านซึ่งทั้งสองวิธีนั้นมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไป โดยนาดำนั้นมีข้อดีคือระยะห่างของต้นข้าวนั้นจะพอดีไม่เบียดกัน ทำให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี แต่มีข้อเสียคือต้องใช้เวลานานในการปักดำต้นข้าว ส่วนนาหว่านนั้นใช้เวลาที่น้อยกว่าและได้ปริมาณต้นข้าวที่มากกว่าด้วยการหว่านเมล็ด แต่มีข้อเสียคือในขณะที่รอต้นข้าวเติบโตนั้นก็จะเสียเมล็ดไปกับการมาจิกกินของนก และหากฝนตกในวันที่หว่านแล้วเมล็ดข้าวก็จะลอยหายไปกับน้ำ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><object width=\"353\" height=\"265\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%281%29.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%281%29.jpg\" /></object></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โรยเมล็ดกล้าลงในกระบะเพาะกล้า</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;แต่ด้วยประเทศไทยเรานั้นเป็นประเทศที่อุดมด้วยภูมิปัญญาในเรื่องการเกษตร จึงได้มีการปรับปรุงวิธีการปลูกข้าวเพื่อให้ได้ผลลิตที่ดีออกมา ซึ่งการทำ “นาโยน” ก็ได้เป็นอีกหนึ่งวิธีใหม่ในการทำนาในยุคปัจจุบัน ซึ่งข้อดีของการทำนาโยนคือ การประหยัดเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ต้องสูญเสียไปกับน้ำ ระยะห่างของต้นข้าวที่มีมากกว่าก็ทำให้ข้าวสามารถแตกกอได้ดีกว่า และการเติบโตของต้นกล้าข้าวที่โยนลงไปก็ไม่หยุดชะงักเหมือนนาดำที่ต้องปักต้นกล้า อีกทั้งยังใช้ต้นทุนและแรงงานน้อยกว่า&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><object width=\"360\" height=\"270\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%282%29.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%282%29.jpg\" /></object></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ร่อนดินใส่กระบะเพาะกล้า</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; ซึ่งวิถีการทำนาโยนนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยากมากนัก เริ่มต้นด้วยการคัดสรรเมล็ดพันธุ์ข้าวตามที่ต้องการ และหากระบะเพาะกล้าที่มีลักษณะเป็นหลุม จากนั้นโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวลงหลุมกระบะเพาะกล้า ประมาณหลุมละ 3-5 เมล็ด ตามด้วยการร่อนดินลงหลุมให้เต็ม แต่อย่าให้ดินล้นออกมานอกหลุมเพราะจะทำให้รากข้าวที่งอกออกมาพันกัน เวลาหว่านต้นข้าวจะไม่กระจายตัว&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><object width=\"367\" height=\"275\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%283%29.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%283%29.jpg\" /></object></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ใช้สแตนพลางแสงคลุมรดน้ำดินไม่กระจาย</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;หลังจากทำกระบะเพาะเมล็ดข้าวเสร็จแล้วให้นำมาวางไว้บริเวณที่มีแสงแดดรำไร และหาอุปกรณ์ อาทิ กระสอบป่าน หรือสแลนพรางแสงวางคลุมไว้เพื่อเวลารดน้ำจะได้ไม่กระเด็น หลังจากนั้นก็ทำการรดน้ำเช้า-เย็น ประมาณ 3-4 วัน ต้นข้าวจะงอกทะลุกระสอบป่านหรือสแลนกลางแสง ให้เอาที่คลุมออก และรดน้ำต่อไปจนกล้าอายุ 15 วัน<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><object width=\"375\" height=\"281\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%284%29.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%284%29.jpg\" /></object></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล้าข้าวที่พร้อมโยน<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในการรอต้นกล้าโตนั้น การเตรียมแปลงนาเพื่อการปลูกก็เป็นสิ่งสำคัญ ต้องมีการปรับพื้นดินให้สม่ำเสมอโดยให้น้ำในนามีระดับเพียงตื้นๆประมาณ 1 เซ็นติเมตร ไม่ควรลึกมากเพราะหากโยนต้นกล้าลงไปแล้วจะทำให้ต้นกล้าข้าวลอยน้ำ รากจะไม่สามารถหยั่งลงดินได้ และควรใส่ปุ๋ยรองพื้นก่อนโยนต้นกล้า 1 วัน&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><object width=\"375\" height=\"281\" data=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%285%29.jpg\" type=\"application/x-shockwave-flash\"><param name=\"src\" value=\"http://www.thaigoodview.com/files/u110704/Image%20%285%29.jpg\" /></object></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; โยน &nbsp;กล้าข้าว &nbsp;ลงแปลงนา</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; ในส่วนการโยนกล้านั้น จะใช้ต้นกล้าประมาณ 60-70 กระบะต่อไร่ จากนั้นคนที่จะโยนกล้าจะต้องหยิบกระบะกล้ามาวางพาดบนแขน แล้วใช้มือหยิบกล้าข้าวหว่านหรือโยนในแปลง โดยโยนให้สูงกว่าศีรษะ ต้นกล้าจะพุ่งลงโดยใช้ส่วนรากที่มีดินติดอยู่ลงพื้นดินก่อน และหลังจากนั้นประมาณ 3 วัน ต้นข้าวจะสามารถตั้งตัวได้ แล้สก็สามารถทำการเพิ่มระดับน้ำให้อยู่ที่ระดับครึ่งหนึ่งของต้นข้าวหรือประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อการควบคุมวัชพืช&nbsp;</p>\n', created = 1728180626, expire = 1728267026, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:199b68ac5babe8c089fc2d656b20ea8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิปัญญาไทยด้านการเกษตร การปลูกข้าวของไทย “นาโยน”

 

                              เมล็ดพันธ์ข้าว

 

       “ข้าว” เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาตั้งแต่อดีต และต้องใช้เวลาที่ยาวนานและหลากหลายขั้นตอนกว่าจะออกมาเป็นข้าวหนึ่งเมล็ด ซึ่งวิธีในการปลูกข้าวนั้นมีอยู่หลากหลายวิธีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยถูกพัฒนาและคิดค้นเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาดีที่สุด

       
       ตั้งแต่อดีตคนส่วนมากจะรู้จักวิธีการปลูกข้าว คือวิธีการทำนาดำและนาหว่านซึ่งทั้งสองวิธีนั้นมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไป โดยนาดำนั้นมีข้อดีคือระยะห่างของต้นข้าวนั้นจะพอดีไม่เบียดกัน ทำให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี แต่มีข้อเสียคือต้องใช้เวลานานในการปักดำต้นข้าว ส่วนนาหว่านนั้นใช้เวลาที่น้อยกว่าและได้ปริมาณต้นข้าวที่มากกว่าด้วยการหว่านเมล็ด แต่มีข้อเสียคือในขณะที่รอต้นข้าวเติบโตนั้นก็จะเสียเมล็ดไปกับการมาจิกกินของนก และหากฝนตกในวันที่หว่านแล้วเมล็ดข้าวก็จะลอยหายไปกับน้ำ

 

              โรยเมล็ดกล้าลงในกระบะเพาะกล้า

 

           แต่ด้วยประเทศไทยเรานั้นเป็นประเทศที่อุดมด้วยภูมิปัญญาในเรื่องการเกษตร จึงได้มีการปรับปรุงวิธีการปลูกข้าวเพื่อให้ได้ผลลิตที่ดีออกมา ซึ่งการทำ “นาโยน” ก็ได้เป็นอีกหนึ่งวิธีใหม่ในการทำนาในยุคปัจจุบัน ซึ่งข้อดีของการทำนาโยนคือ การประหยัดเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ต้องสูญเสียไปกับน้ำ ระยะห่างของต้นข้าวที่มีมากกว่าก็ทำให้ข้าวสามารถแตกกอได้ดีกว่า และการเติบโตของต้นกล้าข้าวที่โยนลงไปก็ไม่หยุดชะงักเหมือนนาดำที่ต้องปักต้นกล้า อีกทั้งยังใช้ต้นทุนและแรงงานน้อยกว่า 

 

 

                             ร่อนดินใส่กระบะเพาะกล้า

 

      ซึ่งวิถีการทำนาโยนนั้นก็ไม่ได้ยุ่งยากมากนัก เริ่มต้นด้วยการคัดสรรเมล็ดพันธุ์ข้าวตามที่ต้องการ และหากระบะเพาะกล้าที่มีลักษณะเป็นหลุม จากนั้นโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวลงหลุมกระบะเพาะกล้า ประมาณหลุมละ 3-5 เมล็ด ตามด้วยการร่อนดินลงหลุมให้เต็ม แต่อย่าให้ดินล้นออกมานอกหลุมเพราะจะทำให้รากข้าวที่งอกออกมาพันกัน เวลาหว่านต้นข้าวจะไม่กระจายตัว 

 

                ใช้สแตนพลางแสงคลุมรดน้ำดินไม่กระจาย

     

       หลังจากทำกระบะเพาะเมล็ดข้าวเสร็จแล้วให้นำมาวางไว้บริเวณที่มีแสงแดดรำไร และหาอุปกรณ์ อาทิ กระสอบป่าน หรือสแลนพรางแสงวางคลุมไว้เพื่อเวลารดน้ำจะได้ไม่กระเด็น หลังจากนั้นก็ทำการรดน้ำเช้า-เย็น ประมาณ 3-4 วัน ต้นข้าวจะงอกทะลุกระสอบป่านหรือสแลนกลางแสง ให้เอาที่คลุมออก และรดน้ำต่อไปจนกล้าอายุ 15 วัน
       

 

                                    กล้าข้าวที่พร้อมโยน
     

         ในการรอต้นกล้าโตนั้น การเตรียมแปลงนาเพื่อการปลูกก็เป็นสิ่งสำคัญ ต้องมีการปรับพื้นดินให้สม่ำเสมอโดยให้น้ำในนามีระดับเพียงตื้นๆประมาณ 1 เซ็นติเมตร ไม่ควรลึกมากเพราะหากโยนต้นกล้าลงไปแล้วจะทำให้ต้นกล้าข้าวลอยน้ำ รากจะไม่สามารถหยั่งลงดินได้ และควรใส่ปุ๋ยรองพื้นก่อนโยนต้นกล้า 1 วัน 

 

                              โยน  กล้าข้าว  ลงแปลงนา

 

      ในส่วนการโยนกล้านั้น จะใช้ต้นกล้าประมาณ 60-70 กระบะต่อไร่ จากนั้นคนที่จะโยนกล้าจะต้องหยิบกระบะกล้ามาวางพาดบนแขน แล้วใช้มือหยิบกล้าข้าวหว่านหรือโยนในแปลง โดยโยนให้สูงกว่าศีรษะ ต้นกล้าจะพุ่งลงโดยใช้ส่วนรากที่มีดินติดอยู่ลงพื้นดินก่อน และหลังจากนั้นประมาณ 3 วัน ต้นข้าวจะสามารถตั้งตัวได้ แล้สก็สามารถทำการเพิ่มระดับน้ำให้อยู่ที่ระดับครึ่งหนึ่งของต้นข้าวหรือประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อการควบคุมวัชพืช 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 410 คน กำลังออนไลน์