• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2e719a12ba6cae0968714cf2f5333f41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<strong><u><img border=\"0\" width=\"142\" src=\"http://i223.photobucket.com/albums/dd277/akapong/environment/th_07070801.gif\" height=\"160\" style=\"width: 102px; height: 116px\" /><img border=\"0\" width=\"438\" src=\"/files/u4034/555.jpg\" height=\"99\" style=\"width: 415px; height: 88px\" /></u><u><img border=\"0\" width=\"142\" src=\"http://i223.photobucket.com/albums/dd277/akapong/environment/th_07070801.gif\" height=\"160\" style=\"width: 103px; height: 115px\" /></u></strong>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<strong><u>ผักหวานบ้าน</u></strong>\n</p>\n<p>\n           เป็นไม้พุ่ม   ผลคล้ายลูกมะยม   พบได้ตามป่าและท้องนา     ต่อมามีการนำมาปลูกที่บ้าน จึงได้ชื่อว่า “ผักหวานบ้าน”  รูปภาพนี้ครูก็ถ่ายมาจากบ้านของครูเองเพราะครูก็นำมาปลูกไว้ที่บ้านเพราะจะได้เก็บรับประทานได้ตลอดเวลา สุโขทัยเรียกผักหวานบ้านเช่นเดียวกันกับ ภาคกลางและภาคอีสาน  ภาคเหนือเรียกว่าก้านตงหรือจ๊าผักหวาน ส่วนภาคใต้เรียก มะยมป่า มีใบเดี่ยวเรียงสลับ ก้านใบสั้น รูปไข่ปลายแหลม    ขอบเรียบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน  โคนใบมน    ด้านบนมีสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน  ยอดใบอ่อนก้านอวบอ้วนทำอาหารได้อร่อย  นิยมเอามาแกงใส่ปลาย่าง ทำเป็นแกงส้ม แกงเลียง แกงอ่อมแบบอีสาน แกงจืดใส่หมูบะช่อ ต้มลวกแล้วทำเป็นยำก็อร่อยดี หรือเพียงต้มหรือผัดน้ำมันกินกับน้ำพริก ผักจะสุกเขียวมีรสหวานอย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งเป็นเสน่ห์ของผักพื้นบ้านที่ครูหลงใหลจึงต้องแนะนำให้นักเรียนได้รู้จักและเห็นคุณค่าของผักพื้นบ้านจะได้หามาปลูกไว้รับประทานเองที่บ้าน<br />\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักหวานบ้าน 100 กรัม)<br />\n เส้นใยอาหาร 5.2 กรัม เบต้าแคโรทีน 3,275 ไมโครกรัม วิตามินเอ 546 ไมโครกรัม <br />\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ช่วยบำรุงกระดูก บำรุงสายตา ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"390\" src=\"/files/u4034/image002.jpg\" height=\"294\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>ผักหวานป่า</u></strong>\n</p>\n<p>\n      ผักหวานป้าเกิดขึ้นในป่าตามธรรมชาติ และมีรสชาติหวาน จึงเป็นที่มาของชื่อ ใบสีเขียวมัน คล้ายใบอ่อนของดอกแก้ว ก้านกรอบนุ่มและเปราะง่าย นิยมนำไปนึ่งแล้วจิ้มกับน้ำพริกแจ่ว<br />\nสารพัดชนิด จานยอดฮิตของคนอีสาน คือแกงใส่ไข่มดแดง หรือแกงใส่ปลาย่างผสมใบชะอม หรือแกงอ่อม ทางภาคเหนือแกงผักหวานใส่ปลาย่างกับวุ้นเส้น งบผักหวานใส่ไข่มดแดง ส่วนคนกรุงเพิ่มความอร่อยด้วยการนำไปผัดกับน้ำมันร้อนๆ ปรุงรสด้วยซีอิ๊ว เหยาะเกลือนิด ก็อร่อยไม่แพ้กัน\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักหวานป่า 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 35 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 52 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 3,713 ไมโครกรัม วิตามินเอ 619 ไมโครกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ช่วยเผาผลาญกรดอะมิโนในร่างกายจากโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จึงช่วยลดน้ำหนักได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"258\" src=\"/files/u4034/Untitled-14.jpg\" height=\"263\" />\n</div>\n<p>\n<u><strong>ผักไผ่</strong></u> </p>\n<p>\n      เรียกต่างกันไปตามถิ่น ทางภาคอีสานเรียก ผักแพว ผักแผ้ว ผักพริกม้า (ทางอีสานออกเสียง พิกม่า) ผักจันทน์โฉมเรียกกันในจังหวัดนครราชศรีมา ทางภาคเหนือเรียก ผักไผ่ เพราะลำต้นเป็นข้อๆ คล้ายต้นไผ่ และใบยาวรีปลายแหลมเหมือนใบไผ่ เป็นผักกินแนมกับลาบก้อย ส้มต้ม ฯลฯ ทั้งอาหารเหนือ อาหารอีสาน และอาหารเวียดนาม ก็นิยมอย่างมาก ผักไผ่มีรสชาติเฉพาะตัว กลิ่นหอมและรสร้อนแรง\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักไผ่ 100 กรัม)<br />\n เบต้าแคโรทีน 3,718 ไมโครกรัม วิตามินเอ 620 ไมโครกรัม เส้นใยอาหาร 9.0 กรัม แคลเซียม 191 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 45 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n รสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"402\" src=\"/files/u4034/Untitled-15.jpg\" height=\"270\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n<strong><u>ผักเผ็ด<br />\n</u></strong>      พืชล้มลุกที่กินได้ทั้งใบและดอก ใบแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย มีดอกสีเหลือง ออกตลอดทั้งปี ผักดอกชนิดนี้ สุโขทัยเรียก  ผักเผ็ด  ภาคกลางเรียกว่า ผักคราด ภาคเหนือเรียก ผักเผ็ด เฝื่อนซ่าประปราย มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ครัวภาคเหนือนิยมนำมาใส่ในแกงหลายชนิด โดยเฉพาะแกงแค แกงผักต่างๆ ครัวภาคอีสานนิยมนำมาลวกจิ้มน้ำพริก ใส่ในแกงคั่ว แกงอ่อม  แกงหอยขม เมื่อผักคราดลุกรสเฝื่อนและเผ็ดจะลดลง เลือกเอาเฉพาะดอกอ่อนและยอกอ่อนมาปรุงอาหาร\n</p>\n<p>\nคุณค่าทางอาหารและโภชนาการ (ผักคราด 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 680 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 96 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 3,708 ไมโครกรัม วิตามินซี 46 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ผักคราดสามารถลดอาการปวดฟันได้ เคี้ยวดอกหรือใบสดตรงบริเวณที่ปอด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"390\" src=\"/files/u4034/image008.jpg\" height=\"294\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>ผักปลัง</u></strong>\n</p>\n<p>\n    เป็นไม้เลื้อย มีพันธุ์ก้านสีเขียวและก้านสีม่วง ใบสีเขียวเป็นมัน คล้ายรูปหัวใจ ปลายแหลม ออกดอกเป็นช่อ ชาวเกาะเรียกว่า ผักปั่ง มีรสหวานเนื้อนุ่ม มีเมือกลื่นปาก กินง่าย ถ้าปรุงอาหารที่มีรสเปรี้ยว จึงจะไม่เป็นเมือกมาก กินได้ทั้งยอด ใบอ่อน และดอก นำมาลวก หรือนึ่งจิ้มน้ำพริก  ชาวเหนือนิยมกินกับน้ำพริกดำ น้ำพริกตาแดง นำไปแกงกับถั่วเน่า จอผักปั่งใส่มะนาว ดอกเอาจอกับแหนม แกงแค ชาวเหนือกับอีสานเด็ดยอดกับดอกตูมมาแกงส้ม ผัดกับแหนม แกงเลียงใส่ปลาหรือกุ้งแห้ง แกงผักปลังใส่แหนม ชาวกรุงเทพฯเอามาทำเป็นผัดผักไฟแดง หรือผัดน้ำมันหอย\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารและโภชนาการ  (ผักปลัง  100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 40 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 40 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 2,866 ไมโครกรัม วิตามินเอ 478 ไมโครกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้ท้องผูก แน่นท้อง ช่วยขับสารพิษตกค้างในลำไส้\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u4034/image012.jpg\" height=\"263\" /> <img border=\"0\" width=\"263\" src=\"/files/u4034/Untitled-16.jpg\" height=\"262\" />\n</p>\n<p>\n                                   ผักปลังแดง                                                            ผักปลังขาว</p>\n<p><strong><u>ดอกแค</u></strong>\n</p>\n<p>\n      แคหรือแคบ้าน เป็นไม้ยืนต้นขนนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกลำต้นสีเทาผิวขรุขระ ดอกคล้ายดอกถั่ว มีทั้งดอกสีขาวและสีแดงออกเป็นช่อตามซอกใบ กินได้ทั้งยอดอ่อน ใบอ่อน และดอก ทั้งดอกตูมและดอกบานมีรสหวาน มัน นิยมต้มสุกและราดหัวกะทิ กินเป็นผักจิ้มกับน้ำพริก อาหารที่รู้จักกันดีคือ แกงส้มดอกแค จะอร่อยต้องใส่ปลาช่อนและใช้ดอกแคสีขาวเท่านั้น ครัวอีสานนำมานึ่งหรือย่างให้สุกกินกับปลานึ่งจิ้มแจ่ว ลาบ ก้อย และแกงอ่อม ภาคกลางทำแกงส้ม แกงคั่ว และนำดอกแคมายัดไส้ชุบแป้งทอดอีกด้วย\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกแค 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 2 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 57 มิลลิกรัม โซเดียม 38 มิลลิกรัม วิตามินซี 27 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ใบอ่อน และยอดอ่อน ช่วยถอนพิษไข้ดับร้อน ส่วนดอกแค แก้ไข้หัวลม\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"366\" src=\"/files/u4034/image014.jpg\" height=\"276\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>ดอกโสน</u></strong>\n</p>\n<p>\n      โสนเป็นไม้ล้มลุก ภาคเหนือเรียก ผักฮองเฮง ขึ้นตามท้องไร่ท้องนา ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย ดอกเป็นช่อ ช่อดอกยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 5-12 ดอก กลีบดอกสีเหลือง ดอกโสนควรเก็บในตอนเช้า เพราะดอกจะบานทำให้สังเกตได้ง่ายว่าดอกไหนอ่อน ดอกไหนแก่ นิยมนำไปต้มหรือนึ่งสุกจิ้มน้ำพริก หรือราดด้วยหัวกะทิเพิ่มรสหวานมัน หรือผัดฉาบน้ำมันไฟแรง หรือนำ ไปไปประกอบอาหารต่างๆ เช่น ดอกโสนชุบไข่ทอด แกงจืดหมูบะช่อดอกโสน แกงส้มดอกโสนกับกุ้ง  ฯลฯ ทำขนมหวานได้ 2 แบบ คือ ขนมดอกโสนแบบขนมขี้หนู และทำแบบขนมกล้วย ถ้ามีมากๆ ก็ดองเปรี้ยวไว้กินได้นานวัน\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกโสน 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 49 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 59 มิลลิกรัม เหล็ก 5.2 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 206 ไมโครกรัม วิตามินเอ 34 ไมโครกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n โสนมีรสจืดเย็น สรรพคุณแก้พิษร้อนและสมานลำไส้ แก้ปวดมวนท้อง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"378\" src=\"/files/u4034/image016.jpg\" height=\"285\" /> \n</div>\n<p>\n<strong><u>ดอกกระเจียว</u></strong>\n</p>\n<p>\n      พืชป่ามีหัวอยู่ใต้ดิน นิยมนำหน่อหรือดอกมากิน พบมากในภาคเหนือและภาคอีสาน มีอยู่ 2 ชนิด คือ กระเจียวแดงและกระเจียวขาว กระเจียวขาวมีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย ส่วนกระเจียวแดงเป็นทรงสูง กระเจียวแดงมีมากในภาคเหนือ นิยมกินดอกมากกว่าหน่อโดยต้มกับกะทิ จิ้มกินกับน้ำพริก ดอกกระเจียวจะนุ่ม รสซ่า บ้างก็ลวกเฉยๆ หรือแกงรวมกับผักอื่น ส่วนภาคอีสานมีกระเจียวขาว นิยมกินหน่อและดอกสดๆ และนำไปนึ่งจิ้มกับน้ำพริกปลาร้า กินแนบกับลาบ หรือใส่แกงรวมไป   กับเห็ดเผาะและผักอีรอก\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกกระเจียว 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 43 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 36 มิลลิกรัม เหล็ก 1.9 มิลลิกรัม โซเดียม 45 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 622 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n รสเผ็ดร้อนของกระเจียวเป็นยาช่วยขับลม และยาระบาย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"292\" src=\"/files/u4034/Untitled-13.jpg\" height=\"311\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p>\n<strong><u>เห็ดโคน</u></strong>\n</p>\n<p>\n      ดอกเห็ดโคนที่ยังอ่อนมีหมวกเห็ดสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน ยอดหมวกแหลม ส่วนมากจะงอกเดี่ยวๆ อยู่ตามดินในสวนที่ปลูกต้นไม้หลายชนิดคละกัน หรือขึ้นตามจอมปลวก จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า  เห็ดปลวก และจะงอกที่เดิมในทุกปี ลักษณะของเห็ดโคน เมื่อโผล่พ้นดินจะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว นักล่าเห็ดที่ชำนาญจะสามารถค้นพบกลุ่มเห็ดโคนได้โดยการดมกลิ่น รสชาติอร่อยกว่าเห็ดทุกชนิด เห็ดโคนเริ่มออกในระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม นำไปปรุงอาหารหลากหลายชนิด ทั้งยำเห็ดโคน เห็ดโคนผัดน้ำมันหอย แกงเลียงกะปิ หรือแกงเลียงเกลือ ฯลฯ\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เห็ดโคน 100 กรัม) <br />\n โปรตีน 4.8 กรัม แคลเซียม 9 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 149 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n การวิจัยพบว่าเห็ดโคนช่วยในการย่อยอาหาร ลดเสมหะ ยับยั้งเซลล์มะเร็ง มีโปรตีนและแร่ธาตุต่างๆ สูงแต่ไขมันน้อย\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"354\" src=\"/files/u4034/image020.jpg\" height=\"267\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>เห็ดเผาะ</u></strong>\n</p>\n<p>\n      ทางภาคเหนือเรียกว่าเห็ดอบหรือเห็ดเหียง สุโขทัยเรียกเห็ดหอบ เรียกทั่วไปว่าเห็ดเผาะ เพราะเวลาขบเคี้ยวเห็ดจะมีเสียงดังเผาะในปาก มีมากทางภาคเหนือและอีสาน เห็ดอ่อนกินอร่อย ผิวเรียบ เนื้อในมีสีขาวนวล นำไปต้ม แกง ผัด หรือปิ้งย่าง ชาวเหนือนิยมห่อใบตองย่างจนสุก หรือต้มจิ้มน้ำพริก แกงใส่ยอด  มะขามอ่อนหรือใบเม่าอ่อนที่มีรสเปรี้ยว ต้มใส่น้ำพริกตาแดง ผัดใส่ใบชะพลู ยำเห็ดเพาะ ต้มยำ        น้ำใส อีสานนิยมใส่ในต้มเปอะและแกงลาวที่ใส่ใบแมงลัก ภาคกลางนิยมนำไปทำแกงคั่วเห็ดเผาะ ถือเป็นแกงอร่อยมากจานหนึ่ง\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เห็ดเผาะ 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 40 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 85 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 200 มิลลิกรัม วิตามินซี 12 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n เห็ดเผาะมีรสหวานเย็น ใช้เป็นอาหารบำรุงร่างกาย ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ กระจายโลหิต\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"334\" src=\"/files/u4034/Untitled-9.jpg\" height=\"254\" /><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u4034/Untitled-10.jpg\" height=\"262\" style=\"width: 243px; height: 254px\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>สายบัว</u></strong>\n</p>\n<p>\n    สายบัวคือก้านของดอกบัวสายที่มีเหง้าอยู่ใต้ดิน      ก้านอยู่ในน้ำ ไม่มีหนาม ใบบัวกลม         ขอบใบหยัก กลีบดอกยาวปลายมน ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน สายบัวมี 2 สี คือขาวและแดง มีมากในหลายฤดูฝน สายบัวกินแบบสดโดยลอกเปลือกหุ้มบางๆ ออก เด็ดสายบัวเป็นท่อนๆ จิ้มกับน้ำพริก และยัง  นำมาปรุงกินกับข้าวแบบไทยๆ เช่น ผัดสายบัวปลาช่อนกรอบ หรือทำเป็นแกงส้มหรือต้มกะทิสายบัวปลาทู นอกจากนั้นยังใช้ทำขนมหวาน คือขนมสายบัว ซึ่งต้องเลือกใช้บัวแดง เนื้อขนมจะมีสีสวย กลิ่นหอมน่ากิน\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (สายบัว 100 กรัม)<br />\n เส้นใยอาหาร 1.7 กรัม แคลเซียม 8 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 9 มิลลิกรัม วิตามินซี 9 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n สายบัวเป็นผักที่มีน้ำมาก รสจืดเย็น จึงช่วยบรรเทาความร้อนในร่างกายได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"275\" src=\"/files/u4034/Untitled-11.jpg\" height=\"271\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>ผักขี้หูด</u></strong>\n</p>\n<p>\n      เป็นไม้ล้มลุกในตระกูลเดียวกับถั่วฝักยาว     ฝักมีขนาดเล็ก        ลักษณะขอดเป็นปุ่ม    ผิวตะปุ่มตะป่ำยาวตลอดฝัก โดยทั่วไปจะนิยมกินโดยเฉพาะฝักและดอก เพราะใบมีกลิ่นฉุนและรสเผ็ด  อ่อนๆ แต่เมื่อนำไปต้มจะออกรสหวาน ผักขี้หูดถือเป็นผักพื้นบ้านของทางภาคเหนือ โดยชาวเหนือนิยมนำไปทำอาหารอย่าง แกงแค แกงผัดขี้หูดใส่ไข่มดแดง แกงผัดขี้หูดกับแหนมใส่ไข่ แกงส้มกับปลาช่อน แกงส้มพริกสด ใส่มะเขือเทศหรือกินเป็นผักสด หรือจิ้มน้ำพริก ฯลฯ\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักขี้หูด 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 60 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 19 มิลลิกรัม เหล็ก 0.6 มิลลิกรัม วิตามินซี 52 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ฝักและใบช่วยให้เจริญอาหาร แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย และช่วยละลายนิ่ว  ดอกมีสรรพคุณเป็นยาขับน้ำดี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u4034/Untitled-12.jpg\" height=\"263\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>มะรุม</u></strong>\n</p>\n<p>\n      มะรุม หรือทางอีสานเรียก ผักอีฮุม เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง กินยอดอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ฝักอ่อนจะปลอกเปลือกเพียงบางๆ ถ้าฝักไม่อ่อนมากก็จะต้องปลอกเปลือกสีเขียวออกให้หมด จึงนำไปปรุงอาหาร เมื่อสุกเนื้อมีรสหวานอร่อย แทบทุกภาคนิยมนำมะรุมไปแกงส้ม และมักจะแกงคู่กับปลาช่อน แต่การปรุงแตกต่างไปตามแต่ละท้องถิ่น แกงส้ม ปักษ์ใต้ไปใส่ขมิ้นเพื่อดับกลิ่นคาวปลา และปรุงรสด้วยส้มแขก ส่วนปลาช่อนจะหั่นแว่นชิ้นใหญ่ ต่างกับภาคกลางที่จะปรุงรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะขามเปียก ทางอีสานนำยอด ดอกและฝัก มาลวกจิ้มกินกับน้ำพริก แจ่ว หรือแนมกับลาบรบรสจัดอีกด้วย\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะรุม 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 9 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 26 มิลลิกรัม วิตามินซี 262 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ใบของมะรุมมีสรรพคุณแก้เลือดออกตามไรฟัน แก้อักเสบ ส่วนของดอกใช้เป็นยาบำรุง ขับปัสสาวะ ฝักของมะรุมกินแล้วช่วยลดไข้ เมล็ดสดกินเป็นยาแก้ปวดตามข้อ น้ำมันจากเมล็ดสดนำมา  ปรุงอาหารช่วยบำรุงหัวใจ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"284\" src=\"/files/u4034/Untitled-8.jpg\" height=\"306\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>เพกา </u></strong>\n</p>\n<p>\n      เรียกชื่อต่างกันไปตามท้องถิ่น ภาคเหนือเรียก มะลิ้นไม้ ลิ้นไม้ ทางอีสานเรียก หมากลิ้นฟ้า ฝักลิ้นฟ้า ฝักลิ้นงู ภาคกลางและใต้เรียก ฝักเพกา ฝักมีลักษณะแบนยาวคล้ายดาม ห้อยจากยอดของต้นที่ค่อนข้างสูง เพกากินได้ตั้งแต่ยอดอ่อน ดอกอ่อน นิยมนำมาต้มหรือลวกจิ้มน้ำพริก  ส่วนฝักอ่อนเลือกโดยลองจิกที่เนื้อฝัก       ถ้าจิกได้แสดงว่าอ่อนกำลังกิน    ทางอีสานมักนำไปเผาไฟแล้วมาแช่          น้ำลอกผิวที่ไหม้ออก     แต่ทางเหนือหลังจากเผาแล้วลอกผิวยังนิยมไปต้มให้ฝักอ่อนตัวและสุกอีก    และเนื่องจากเป็นผักที่มีรสขม      เมื่อราดด้วยหัวกะทิต้มสุก หรือต้มในกะทิจะช่วยลดความขมได้ นอกจากนั้นยังนำฝักเพกามาแกงถั่ว ยำ ผัด แกงอ่อมหรือแกงเขียวหวานอีกด้วย\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เพกา 100กรัม)<br />\n วิตามินบี 1    0.08 มิลลิกรัม วิตามินบี 2      0.69 มิลลิกรัม ไนอะซีน 2.4 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ทุกส่วนของเพกาช่วยให้เจริญอาหาร ฝักเพกานั้นมีสรรพคุณช่วยขับลม ขับเสมหะ แต่ถ้ากินบ่อยนักก็ไม่ดีจะทำให้เป็นต้อเนื้อที่ตาได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u4034/Untitled-5.jpg\" height=\"156\" style=\"width: 188px; height: 196px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<strong><u>ถั่วแปบ</u></strong>\n</p>\n<p>\n      ผักพื้นบ้านของภาคเหนือและอีสาน  เรียกอีกชื่อว่า มะแปบ   เป็นพืชล้มลุกชนิดเลื้อยที่ขึ้นตามธรรมชาติ ดอกมีลักษณะเป็นพวงยาว  ผลเป็นฝักมีหลายแบบ    ทั้งแบบฝักแบนยาวสีเขียว   ฝักแบนยาวสีเขียวแกมม่วง และฝักสั้นกลม กินฝักอ่อนเป็นผักจะต้มหรือลวกสุก   ไม่กินฝักสด  เพราะตัวฝักมีน้ำยางใสๆ กลิ่นเหม็นเขียว คนอีสานทำเป็นซุบถั่วแปบ ชาวเหนือนิยมนำไปต้มสุกทั้งฝักจิ้มมน้ำพริก ใส่ในแกงแค แกงถั่วแปบใส่กระดูกหมู หรือตำถั่วแปบ เลือกซื้อผักอ่อนสีเขียวสด เ   มล็ด   ด้านในเล็ก ถ้าเป็นฝักแก่จะออกเหลือง เมล็ดโต เนื้อหยาบ กินไม่อร่อย\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ถั่วแปบ 100กรัม)<br />\n แคลเซียม 75 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 50 มิลลิกรัม วิตามินเอ 267 ไมโครกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ช่วยบำรุงร่างกายในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดบุตร เมล็ดช่วยบำรุงธาตุ แก้ไข้ แก้อาการเกร็ง รากนำมาต้มกินช่วยขับนิ่ว\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"320\" src=\"/files/u4034/Untitled-4.jpg\" height=\"327\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<strong><u>น้ำเต้า</u></strong> </p>\n<p>\n      น้ำเต้าเป็นเถาเลื้อยพัน จำพวกเดียวกับฟักแฟง ภาคอีสานเรียก หมากน้ำ หรือหมาก<br />\nน้ำเต้า ภาคเหนือเรียกว่า บ่าเต้า ที่มาของชื่อคงด้วยประโยชน์ใช้สอยเป็นภาชนะใส่น้ำเหมือนหม้อ      ยอดและลูกอ่อนนำมาต้มจิ้มน้ำพริก ใส่ในแกงเลียง แกงส้ม ผัดใส่กุ้ง หรือหมู กินได้ทั้งเปลือก              รสชาติคล้ายแกงกวา เวลาหั่นจะมียางออกมาทำให้มีสีคล้ำ จึงต้องแช่ในอ่างน้ำเกลือเจือจางเสียก่อน        เพื่อล้างเอายางออกก่อนนำไปทำอาหาร\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (น้ำเต้า 100 กรัม)<br />\n พลังงาน 20 แคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต 4.4 กรัม ฟอสฟอรัส 8 กรัม แคลเซียม 13 มิลลิกรัม เส้นใยอาหาร 1.5 กรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n แก้ร้อนใน แก้กระหายน้ำ แก้ตัวร้อน แก้ฟกช้ำ เป็นผักที่มีเส้นใยอาหารและให้พลังงานต่ำ จึงจึงเหมาะสำหรับผู้ต้องการลดน้ำหนักเป็น\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"383\" src=\"/files/u4034/Untitled-2.jpg\" height=\"247\" style=\"width: 333px; height: 212px\" /><img border=\"0\" width=\"254\" src=\"/files/u4034/Untitled-7.jpg\" height=\"264\" style=\"width: 232px; height: 214px\" />\n</p>\n<p>\n<strong><u>มะแว้งเครือ</u></strong>\n</p>\n<p>\n     มะแว้งเครือ หรือมะแว้งเถา เป็นไม้เถาเลื้อย เถาสีเขียวอ่อนขนาดเล็ก มีหนามแหลมกระจาย อยู่ทั่วทั้งลำต้นและก้านใบ ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเข้ม ดอกสีม่วงอ่อนออกเป็นช่อหรือคล้ายพวงมะเขือ   ผลมะแว้งมีลักษณะกลม    ผิวเกลี้ยง เล็กกว่ามะเขือพวง ผลอ่อนมีลายสีขาว สุกเปลี่ยนเป็นสีแดงสด เมล็ดกลมแบน ผิวเรียบสีน้ำตาลอ่อน ยอดอ่อนและผลอ่อนนิยมกินสด ผลอ่อนมีรสขมและขื่น  อาจจะลวกหรือเผาไฟกินกับน้ำพริก บ้างก็ทุบใส่ในแกงกะทิหรือน้ำพริก\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะแว้งเครือ 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 50 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 68 มิลลิกรัม วิตามินซี 6 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ใช้กินเป็นผักช่วยลดน้ำตาลในเลือด แก้เบาหวาน และช่วยเจริญอาหาร บำ รุงธาตุ ขับลม      แก้ไข้หัวลม ทำให้ชุ่มคอ แก้ไอ เจ็บคอ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"305\" src=\"/files/u4034/Untitled-6.jpg\" height=\"331\" /> \n</div>\n<p>\n<strong><u>มะระขี้นก</u></strong>\n</p>\n<p>\n      ไม้เลื้อยล้มลุก อีสานเรียก ผักไซร้ ภาคกลางเรียก มะระหนู ผลของมะระขี้นกนั้น เป็นรูปรี ลายเรียวแหลม ผิวขรุขระสีขาวปนเขียว เมื่อสุกมีสีเหลืองสด เมล็ดสีแดงสด ผลอ่อนของมะระขี้นกนิยมนำมาต้มหรือเผากินทั้งลูกเป็นผักจิ้มน้ำพริกในแทบทุกภาค  ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง ควักเม็ด     ออกก่อน ประยุกต์เป็นอาหารภาคกลางอย่าง   พะแนงมะระขี้นกยัดไส้    หรือมะระขี้นกผัดไข่เค็มกระเทียมโทน วิธีลดความขมของมะระขี้นก ก่อนนำมาปรุงอาหารนั้นต้องต้มมะระในน้ำเดือดจัด     แล้วใส่เกลือซักหยิบมือ มะระสุกแต่ยังคงมีสีเขียว\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะระขี้นก 100 กรัม)<br />\n ฟอสฟอรัส 5 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 23 ไมโครกรัม วิตามินซี 147 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n แก้เบาหวาน ลดน้ำตาลในเลือด ช่วยให้เจริญอาหาร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"355\" src=\"/files/u4034/Untitled-3.jpg\" height=\"363\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>มะเขือขื่น</u></strong> </p>\n<p>\n     มะเขือขื่นเป็นมะเขือคนละสายพันธุ์กับมะเขือทั่วไป เป็นไม้พุ่มที่มีอายุหลายปี มีหนามทั่วลำต้น กิ่งเปราะหักง่าย ใบเดี่ยวขอบใบหยักเป็นคลื่น มีหนามห่างๆ ทั่วทั้งก้าน บนใบและหลังใบ ใบอ่อนมีขนปกคลุม ออกดอกที่ปลายยอด ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด ลูกเล็กและเปลือกมีผิวสาก เปลือกมีสีเขียวอมขาวเมื่อยังอ่อน และเหลืองยามแก่จัด มีรสขมและขื่นมากเป็นพิเศษ นิยมฝานเอาเปลือกใส่แกงป่า ส้มตำลาว และส้า หรือยำแบบภาคเหนือ หรือกินดิบจิ้มน้ำพริก\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะเขือขื่น 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 55 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม วิตามินซี 63 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านสุขภาพ<br />\n ช่วยลดโคเลสเตอรอลในเลือด แก้โรคความดันโลหิตสูง\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"276\" src=\"/files/u4034/Untitled-1.jpg\" height=\"295\" />\n</div>\n<p>\n<strong><u>มะกอกบก</u></strong>\n</p>\n<p>\n ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ผลแก่เปลือกมีสีเหลืองอมเขียว มีจุดประสีเหลืองเข้มสลับดำที่เปลือก  เปลือกเหนียว เม็ดแข็ง เนื้อบาง กลิ่นหอม รสเปรี้ยวปนขมอมฝาด ผลแก่กินเป็นผลไม้ จิ้มพริกเกลือ ผลสุกใช้แต่งรสเปรี้ยวและกลิ่นหอมให้กับอาหาร คนภาคกลางจะฝานเนื้อติดเปลือกบางๆ ผสมกับน้ำปลาดี หอมแดงซอย และพริกขี้หนูซอย ออกรสเปรี้ยว เค็ม เผ็ด และหวาน จิ้มกับเนื้อย่าง ปลาย่าง    คนอีสานใส่เป็นผักปรุงรสเปรี้ยวที่ออกรสหวาน ในส้มตำลาวหรือส้มตำปลาร้า และใส่ในน้ำพริกพื้นบ้านอีสานชนิดต่างๆ เลือกมะกอกสุกที่เปลือกมีจุดประเหลือง จุดดำน้อย ไม่สุกเกินไป เนื้อนิ่ม    ไม่เละ กลิ่นหอม\n</p>\n<p>\nคุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะกอกบก 100 กรัม)<br />\n แคลเซียม 49 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 80 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 1,231 ไมโครกรัม วิตามินเอ 205 ไมโครกรัม วิตามินซี 53 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางด้านโภชนาการ<br />\n ผลมีรสเปรี้ยวช่วยแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน ทำให้ชุ่มคอ ดับกระหาย\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"402\" src=\"/files/u4034/image047.jpg\" height=\"303\" />\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://s242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/angel-devil/th_ts24.gif\" height=\"1\" />\n</p>\n', created = 1715787578, expire = 1715873978, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2e719a12ba6cae0968714cf2f5333f41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผักพื้นท้องถิ่นสุโขทัย


ผักหวานบ้าน

           เป็นไม้พุ่ม   ผลคล้ายลูกมะยม   พบได้ตามป่าและท้องนา     ต่อมามีการนำมาปลูกที่บ้าน จึงได้ชื่อว่า “ผักหวานบ้าน”  รูปภาพนี้ครูก็ถ่ายมาจากบ้านของครูเองเพราะครูก็นำมาปลูกไว้ที่บ้านเพราะจะได้เก็บรับประทานได้ตลอดเวลา สุโขทัยเรียกผักหวานบ้านเช่นเดียวกันกับ ภาคกลางและภาคอีสาน  ภาคเหนือเรียกว่าก้านตงหรือจ๊าผักหวาน ส่วนภาคใต้เรียก มะยมป่า มีใบเดี่ยวเรียงสลับ ก้านใบสั้น รูปไข่ปลายแหลม    ขอบเรียบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน  โคนใบมน    ด้านบนมีสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน  ยอดใบอ่อนก้านอวบอ้วนทำอาหารได้อร่อย  นิยมเอามาแกงใส่ปลาย่าง ทำเป็นแกงส้ม แกงเลียง แกงอ่อมแบบอีสาน แกงจืดใส่หมูบะช่อ ต้มลวกแล้วทำเป็นยำก็อร่อยดี หรือเพียงต้มหรือผัดน้ำมันกินกับน้ำพริก ผักจะสุกเขียวมีรสหวานอย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งเป็นเสน่ห์ของผักพื้นบ้านที่ครูหลงใหลจึงต้องแนะนำให้นักเรียนได้รู้จักและเห็นคุณค่าของผักพื้นบ้านจะได้หามาปลูกไว้รับประทานเองที่บ้าน
คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักหวานบ้าน 100 กรัม)
 เส้นใยอาหาร 5.2 กรัม เบต้าแคโรทีน 3,275 ไมโครกรัม วิตามินเอ 546 ไมโครกรัม
ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ช่วยบำรุงกระดูก บำรุงสายตา ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ

 

 

 


ผักหวานป่า

      ผักหวานป้าเกิดขึ้นในป่าตามธรรมชาติ และมีรสชาติหวาน จึงเป็นที่มาของชื่อ ใบสีเขียวมัน คล้ายใบอ่อนของดอกแก้ว ก้านกรอบนุ่มและเปราะง่าย นิยมนำไปนึ่งแล้วจิ้มกับน้ำพริกแจ่ว
สารพัดชนิด จานยอดฮิตของคนอีสาน คือแกงใส่ไข่มดแดง หรือแกงใส่ปลาย่างผสมใบชะอม หรือแกงอ่อม ทางภาคเหนือแกงผักหวานใส่ปลาย่างกับวุ้นเส้น งบผักหวานใส่ไข่มดแดง ส่วนคนกรุงเพิ่มความอร่อยด้วยการนำไปผัดกับน้ำมันร้อนๆ ปรุงรสด้วยซีอิ๊ว เหยาะเกลือนิด ก็อร่อยไม่แพ้กัน

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักหวานป่า 100 กรัม)
 แคลเซียม 35 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 52 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 3,713 ไมโครกรัม วิตามินเอ 619 ไมโครกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ช่วยเผาผลาญกรดอะมิโนในร่างกายจากโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จึงช่วยลดน้ำหนักได้

 

 

ผักไผ่

      เรียกต่างกันไปตามถิ่น ทางภาคอีสานเรียก ผักแพว ผักแผ้ว ผักพริกม้า (ทางอีสานออกเสียง พิกม่า) ผักจันทน์โฉมเรียกกันในจังหวัดนครราชศรีมา ทางภาคเหนือเรียก ผักไผ่ เพราะลำต้นเป็นข้อๆ คล้ายต้นไผ่ และใบยาวรีปลายแหลมเหมือนใบไผ่ เป็นผักกินแนมกับลาบก้อย ส้มต้ม ฯลฯ ทั้งอาหารเหนือ อาหารอีสาน และอาหารเวียดนาม ก็นิยมอย่างมาก ผักไผ่มีรสชาติเฉพาะตัว กลิ่นหอมและรสร้อนแรง

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักไผ่ 100 กรัม)
 เบต้าแคโรทีน 3,718 ไมโครกรัม วิตามินเอ 620 ไมโครกรัม เส้นใยอาหาร 9.0 กรัม แคลเซียม 191 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 45 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 รสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ

 

 


ผักเผ็ด
      พืชล้มลุกที่กินได้ทั้งใบและดอก ใบแหลม ขอบหยักเป็นฟันเลื่อย มีดอกสีเหลือง ออกตลอดทั้งปี ผักดอกชนิดนี้ สุโขทัยเรียก  ผักเผ็ด  ภาคกลางเรียกว่า ผักคราด ภาคเหนือเรียก ผักเผ็ด เฝื่อนซ่าประปราย มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ครัวภาคเหนือนิยมนำมาใส่ในแกงหลายชนิด โดยเฉพาะแกงแค แกงผักต่างๆ ครัวภาคอีสานนิยมนำมาลวกจิ้มน้ำพริก ใส่ในแกงคั่ว แกงอ่อม  แกงหอยขม เมื่อผักคราดลุกรสเฝื่อนและเผ็ดจะลดลง เลือกเอาเฉพาะดอกอ่อนและยอกอ่อนมาปรุงอาหาร

คุณค่าทางอาหารและโภชนาการ (ผักคราด 100 กรัม)
 แคลเซียม 680 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 96 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 3,708 ไมโครกรัม วิตามินซี 46 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ผักคราดสามารถลดอาการปวดฟันได้ เคี้ยวดอกหรือใบสดตรงบริเวณที่ปอด

 

 

ผักปลัง

    เป็นไม้เลื้อย มีพันธุ์ก้านสีเขียวและก้านสีม่วง ใบสีเขียวเป็นมัน คล้ายรูปหัวใจ ปลายแหลม ออกดอกเป็นช่อ ชาวเกาะเรียกว่า ผักปั่ง มีรสหวานเนื้อนุ่ม มีเมือกลื่นปาก กินง่าย ถ้าปรุงอาหารที่มีรสเปรี้ยว จึงจะไม่เป็นเมือกมาก กินได้ทั้งยอด ใบอ่อน และดอก นำมาลวก หรือนึ่งจิ้มน้ำพริก  ชาวเหนือนิยมกินกับน้ำพริกดำ น้ำพริกตาแดง นำไปแกงกับถั่วเน่า จอผักปั่งใส่มะนาว ดอกเอาจอกับแหนม แกงแค ชาวเหนือกับอีสานเด็ดยอดกับดอกตูมมาแกงส้ม ผัดกับแหนม แกงเลียงใส่ปลาหรือกุ้งแห้ง แกงผักปลังใส่แหนม ชาวกรุงเทพฯเอามาทำเป็นผัดผักไฟแดง หรือผัดน้ำมันหอย

คุณค่าอาหารและโภชนาการ  (ผักปลัง  100 กรัม)
 แคลเซียม 40 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 40 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 2,866 ไมโครกรัม วิตามินเอ 478 ไมโครกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้ท้องผูก แน่นท้อง ช่วยขับสารพิษตกค้างในลำไส้

 

  

                                   ผักปลังแดง                                                            ผักปลังขาว

ดอกแค

      แคหรือแคบ้าน เป็นไม้ยืนต้นขนนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกลำต้นสีเทาผิวขรุขระ ดอกคล้ายดอกถั่ว มีทั้งดอกสีขาวและสีแดงออกเป็นช่อตามซอกใบ กินได้ทั้งยอดอ่อน ใบอ่อน และดอก ทั้งดอกตูมและดอกบานมีรสหวาน มัน นิยมต้มสุกและราดหัวกะทิ กินเป็นผักจิ้มกับน้ำพริก อาหารที่รู้จักกันดีคือ แกงส้มดอกแค จะอร่อยต้องใส่ปลาช่อนและใช้ดอกแคสีขาวเท่านั้น ครัวอีสานนำมานึ่งหรือย่างให้สุกกินกับปลานึ่งจิ้มแจ่ว ลาบ ก้อย และแกงอ่อม ภาคกลางทำแกงส้ม แกงคั่ว และนำดอกแคมายัดไส้ชุบแป้งทอดอีกด้วย

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกแค 100 กรัม)
 แคลเซียม 2 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 57 มิลลิกรัม โซเดียม 38 มิลลิกรัม วิตามินซี 27 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ใบอ่อน และยอดอ่อน ช่วยถอนพิษไข้ดับร้อน ส่วนดอกแค แก้ไข้หัวลม

 

ดอกโสน

      โสนเป็นไม้ล้มลุก ภาคเหนือเรียก ผักฮองเฮง ขึ้นตามท้องไร่ท้องนา ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย ดอกเป็นช่อ ช่อดอกยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 5-12 ดอก กลีบดอกสีเหลือง ดอกโสนควรเก็บในตอนเช้า เพราะดอกจะบานทำให้สังเกตได้ง่ายว่าดอกไหนอ่อน ดอกไหนแก่ นิยมนำไปต้มหรือนึ่งสุกจิ้มน้ำพริก หรือราดด้วยหัวกะทิเพิ่มรสหวานมัน หรือผัดฉาบน้ำมันไฟแรง หรือนำ ไปไปประกอบอาหารต่างๆ เช่น ดอกโสนชุบไข่ทอด แกงจืดหมูบะช่อดอกโสน แกงส้มดอกโสนกับกุ้ง  ฯลฯ ทำขนมหวานได้ 2 แบบ คือ ขนมดอกโสนแบบขนมขี้หนู และทำแบบขนมกล้วย ถ้ามีมากๆ ก็ดองเปรี้ยวไว้กินได้นานวัน

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกโสน 100 กรัม)
 แคลเซียม 49 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 59 มิลลิกรัม เหล็ก 5.2 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 206 ไมโครกรัม วิตามินเอ 34 ไมโครกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 โสนมีรสจืดเย็น สรรพคุณแก้พิษร้อนและสมานลำไส้ แก้ปวดมวนท้อง

 

 

ดอกกระเจียว

      พืชป่ามีหัวอยู่ใต้ดิน นิยมนำหน่อหรือดอกมากิน พบมากในภาคเหนือและภาคอีสาน มีอยู่ 2 ชนิด คือ กระเจียวแดงและกระเจียวขาว กระเจียวขาวมีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย ส่วนกระเจียวแดงเป็นทรงสูง กระเจียวแดงมีมากในภาคเหนือ นิยมกินดอกมากกว่าหน่อโดยต้มกับกะทิ จิ้มกินกับน้ำพริก ดอกกระเจียวจะนุ่ม รสซ่า บ้างก็ลวกเฉยๆ หรือแกงรวมกับผักอื่น ส่วนภาคอีสานมีกระเจียวขาว นิยมกินหน่อและดอกสดๆ และนำไปนึ่งจิ้มกับน้ำพริกปลาร้า กินแนบกับลาบ หรือใส่แกงรวมไป   กับเห็ดเผาะและผักอีรอก

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ดอกกระเจียว 100 กรัม)
 แคลเซียม 43 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 36 มิลลิกรัม เหล็ก 1.9 มิลลิกรัม โซเดียม 45 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 622 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 รสเผ็ดร้อนของกระเจียวเป็นยาช่วยขับลม และยาระบาย

 

 

 

เห็ดโคน

      ดอกเห็ดโคนที่ยังอ่อนมีหมวกเห็ดสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน ยอดหมวกแหลม ส่วนมากจะงอกเดี่ยวๆ อยู่ตามดินในสวนที่ปลูกต้นไม้หลายชนิดคละกัน หรือขึ้นตามจอมปลวก จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า  เห็ดปลวก และจะงอกที่เดิมในทุกปี ลักษณะของเห็ดโคน เมื่อโผล่พ้นดินจะมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว นักล่าเห็ดที่ชำนาญจะสามารถค้นพบกลุ่มเห็ดโคนได้โดยการดมกลิ่น รสชาติอร่อยกว่าเห็ดทุกชนิด เห็ดโคนเริ่มออกในระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม นำไปปรุงอาหารหลากหลายชนิด ทั้งยำเห็ดโคน เห็ดโคนผัดน้ำมันหอย แกงเลียงกะปิ หรือแกงเลียงเกลือ ฯลฯ

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เห็ดโคน 100 กรัม)
 โปรตีน 4.8 กรัม แคลเซียม 9 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 149 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 การวิจัยพบว่าเห็ดโคนช่วยในการย่อยอาหาร ลดเสมหะ ยับยั้งเซลล์มะเร็ง มีโปรตีนและแร่ธาตุต่างๆ สูงแต่ไขมันน้อย

 

เห็ดเผาะ

      ทางภาคเหนือเรียกว่าเห็ดอบหรือเห็ดเหียง สุโขทัยเรียกเห็ดหอบ เรียกทั่วไปว่าเห็ดเผาะ เพราะเวลาขบเคี้ยวเห็ดจะมีเสียงดังเผาะในปาก มีมากทางภาคเหนือและอีสาน เห็ดอ่อนกินอร่อย ผิวเรียบ เนื้อในมีสีขาวนวล นำไปต้ม แกง ผัด หรือปิ้งย่าง ชาวเหนือนิยมห่อใบตองย่างจนสุก หรือต้มจิ้มน้ำพริก แกงใส่ยอด  มะขามอ่อนหรือใบเม่าอ่อนที่มีรสเปรี้ยว ต้มใส่น้ำพริกตาแดง ผัดใส่ใบชะพลู ยำเห็ดเพาะ ต้มยำ        น้ำใส อีสานนิยมใส่ในต้มเปอะและแกงลาวที่ใส่ใบแมงลัก ภาคกลางนิยมนำไปทำแกงคั่วเห็ดเผาะ ถือเป็นแกงอร่อยมากจานหนึ่ง

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เห็ดเผาะ 100 กรัม)
 แคลเซียม 40 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 85 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 200 มิลลิกรัม วิตามินซี 12 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 เห็ดเผาะมีรสหวานเย็น ใช้เป็นอาหารบำรุงร่างกาย ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ กระจายโลหิต

 


สายบัว

    สายบัวคือก้านของดอกบัวสายที่มีเหง้าอยู่ใต้ดิน      ก้านอยู่ในน้ำ ไม่มีหนาม ใบบัวกลม         ขอบใบหยัก กลีบดอกยาวปลายมน ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน สายบัวมี 2 สี คือขาวและแดง มีมากในหลายฤดูฝน สายบัวกินแบบสดโดยลอกเปลือกหุ้มบางๆ ออก เด็ดสายบัวเป็นท่อนๆ จิ้มกับน้ำพริก และยัง  นำมาปรุงกินกับข้าวแบบไทยๆ เช่น ผัดสายบัวปลาช่อนกรอบ หรือทำเป็นแกงส้มหรือต้มกะทิสายบัวปลาทู นอกจากนั้นยังใช้ทำขนมหวาน คือขนมสายบัว ซึ่งต้องเลือกใช้บัวแดง เนื้อขนมจะมีสีสวย กลิ่นหอมน่ากิน

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (สายบัว 100 กรัม)
 เส้นใยอาหาร 1.7 กรัม แคลเซียม 8 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 9 มิลลิกรัม วิตามินซี 9 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 สายบัวเป็นผักที่มีน้ำมาก รสจืดเย็น จึงช่วยบรรเทาความร้อนในร่างกายได้

 

 

ผักขี้หูด

      เป็นไม้ล้มลุกในตระกูลเดียวกับถั่วฝักยาว     ฝักมีขนาดเล็ก        ลักษณะขอดเป็นปุ่ม    ผิวตะปุ่มตะป่ำยาวตลอดฝัก โดยทั่วไปจะนิยมกินโดยเฉพาะฝักและดอก เพราะใบมีกลิ่นฉุนและรสเผ็ด  อ่อนๆ แต่เมื่อนำไปต้มจะออกรสหวาน ผักขี้หูดถือเป็นผักพื้นบ้านของทางภาคเหนือ โดยชาวเหนือนิยมนำไปทำอาหารอย่าง แกงแค แกงผัดขี้หูดใส่ไข่มดแดง แกงผัดขี้หูดกับแหนมใส่ไข่ แกงส้มกับปลาช่อน แกงส้มพริกสด ใส่มะเขือเทศหรือกินเป็นผักสด หรือจิ้มน้ำพริก ฯลฯ

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ผักขี้หูด 100 กรัม)
 แคลเซียม 60 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 19 มิลลิกรัม เหล็ก 0.6 มิลลิกรัม วิตามินซี 52 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ฝักและใบช่วยให้เจริญอาหาร แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย และช่วยละลายนิ่ว  ดอกมีสรรพคุณเป็นยาขับน้ำดี

 

 

มะรุม

      มะรุม หรือทางอีสานเรียก ผักอีฮุม เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง กินยอดอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ฝักอ่อนจะปลอกเปลือกเพียงบางๆ ถ้าฝักไม่อ่อนมากก็จะต้องปลอกเปลือกสีเขียวออกให้หมด จึงนำไปปรุงอาหาร เมื่อสุกเนื้อมีรสหวานอร่อย แทบทุกภาคนิยมนำมะรุมไปแกงส้ม และมักจะแกงคู่กับปลาช่อน แต่การปรุงแตกต่างไปตามแต่ละท้องถิ่น แกงส้ม ปักษ์ใต้ไปใส่ขมิ้นเพื่อดับกลิ่นคาวปลา และปรุงรสด้วยส้มแขก ส่วนปลาช่อนจะหั่นแว่นชิ้นใหญ่ ต่างกับภาคกลางที่จะปรุงรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะขามเปียก ทางอีสานนำยอด ดอกและฝัก มาลวกจิ้มกินกับน้ำพริก แจ่ว หรือแนมกับลาบรบรสจัดอีกด้วย

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะรุม 100 กรัม)
 แคลเซียม 9 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 26 มิลลิกรัม วิตามินซี 262 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ใบของมะรุมมีสรรพคุณแก้เลือดออกตามไรฟัน แก้อักเสบ ส่วนของดอกใช้เป็นยาบำรุง ขับปัสสาวะ ฝักของมะรุมกินแล้วช่วยลดไข้ เมล็ดสดกินเป็นยาแก้ปวดตามข้อ น้ำมันจากเมล็ดสดนำมา  ปรุงอาหารช่วยบำรุงหัวใจ

 

 

เพกา

      เรียกชื่อต่างกันไปตามท้องถิ่น ภาคเหนือเรียก มะลิ้นไม้ ลิ้นไม้ ทางอีสานเรียก หมากลิ้นฟ้า ฝักลิ้นฟ้า ฝักลิ้นงู ภาคกลางและใต้เรียก ฝักเพกา ฝักมีลักษณะแบนยาวคล้ายดาม ห้อยจากยอดของต้นที่ค่อนข้างสูง เพกากินได้ตั้งแต่ยอดอ่อน ดอกอ่อน นิยมนำมาต้มหรือลวกจิ้มน้ำพริก  ส่วนฝักอ่อนเลือกโดยลองจิกที่เนื้อฝัก       ถ้าจิกได้แสดงว่าอ่อนกำลังกิน    ทางอีสานมักนำไปเผาไฟแล้วมาแช่          น้ำลอกผิวที่ไหม้ออก     แต่ทางเหนือหลังจากเผาแล้วลอกผิวยังนิยมไปต้มให้ฝักอ่อนตัวและสุกอีก    และเนื่องจากเป็นผักที่มีรสขม      เมื่อราดด้วยหัวกะทิต้มสุก หรือต้มในกะทิจะช่วยลดความขมได้ นอกจากนั้นยังนำฝักเพกามาแกงถั่ว ยำ ผัด แกงอ่อมหรือแกงเขียวหวานอีกด้วย

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (เพกา 100กรัม)
 วิตามินบี 1    0.08 มิลลิกรัม วิตามินบี 2      0.69 มิลลิกรัม ไนอะซีน 2.4 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ทุกส่วนของเพกาช่วยให้เจริญอาหาร ฝักเพกานั้นมีสรรพคุณช่วยขับลม ขับเสมหะ แต่ถ้ากินบ่อยนักก็ไม่ดีจะทำให้เป็นต้อเนื้อที่ตาได้

 

ถั่วแปบ

      ผักพื้นบ้านของภาคเหนือและอีสาน  เรียกอีกชื่อว่า มะแปบ   เป็นพืชล้มลุกชนิดเลื้อยที่ขึ้นตามธรรมชาติ ดอกมีลักษณะเป็นพวงยาว  ผลเป็นฝักมีหลายแบบ    ทั้งแบบฝักแบนยาวสีเขียว   ฝักแบนยาวสีเขียวแกมม่วง และฝักสั้นกลม กินฝักอ่อนเป็นผักจะต้มหรือลวกสุก   ไม่กินฝักสด  เพราะตัวฝักมีน้ำยางใสๆ กลิ่นเหม็นเขียว คนอีสานทำเป็นซุบถั่วแปบ ชาวเหนือนิยมนำไปต้มสุกทั้งฝักจิ้มมน้ำพริก ใส่ในแกงแค แกงถั่วแปบใส่กระดูกหมู หรือตำถั่วแปบ เลือกซื้อผักอ่อนสีเขียวสด เ   มล็ด   ด้านในเล็ก ถ้าเป็นฝักแก่จะออกเหลือง เมล็ดโต เนื้อหยาบ กินไม่อร่อย

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (ถั่วแปบ 100กรัม)
 แคลเซียม 75 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 50 มิลลิกรัม วิตามินเอ 267 ไมโครกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ช่วยบำรุงร่างกายในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดบุตร เมล็ดช่วยบำรุงธาตุ แก้ไข้ แก้อาการเกร็ง รากนำมาต้มกินช่วยขับนิ่ว

 

น้ำเต้า

      น้ำเต้าเป็นเถาเลื้อยพัน จำพวกเดียวกับฟักแฟง ภาคอีสานเรียก หมากน้ำ หรือหมาก
น้ำเต้า ภาคเหนือเรียกว่า บ่าเต้า ที่มาของชื่อคงด้วยประโยชน์ใช้สอยเป็นภาชนะใส่น้ำเหมือนหม้อ      ยอดและลูกอ่อนนำมาต้มจิ้มน้ำพริก ใส่ในแกงเลียง แกงส้ม ผัดใส่กุ้ง หรือหมู กินได้ทั้งเปลือก              รสชาติคล้ายแกงกวา เวลาหั่นจะมียางออกมาทำให้มีสีคล้ำ จึงต้องแช่ในอ่างน้ำเกลือเจือจางเสียก่อน        เพื่อล้างเอายางออกก่อนนำไปทำอาหาร

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (น้ำเต้า 100 กรัม)
 พลังงาน 20 แคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต 4.4 กรัม ฟอสฟอรัส 8 กรัม แคลเซียม 13 มิลลิกรัม เส้นใยอาหาร 1.5 กรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 แก้ร้อนใน แก้กระหายน้ำ แก้ตัวร้อน แก้ฟกช้ำ เป็นผักที่มีเส้นใยอาหารและให้พลังงานต่ำ จึงจึงเหมาะสำหรับผู้ต้องการลดน้ำหนักเป็น

 

มะแว้งเครือ

     มะแว้งเครือ หรือมะแว้งเถา เป็นไม้เถาเลื้อย เถาสีเขียวอ่อนขนาดเล็ก มีหนามแหลมกระจาย อยู่ทั่วทั้งลำต้นและก้านใบ ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเข้ม ดอกสีม่วงอ่อนออกเป็นช่อหรือคล้ายพวงมะเขือ   ผลมะแว้งมีลักษณะกลม    ผิวเกลี้ยง เล็กกว่ามะเขือพวง ผลอ่อนมีลายสีขาว สุกเปลี่ยนเป็นสีแดงสด เมล็ดกลมแบน ผิวเรียบสีน้ำตาลอ่อน ยอดอ่อนและผลอ่อนนิยมกินสด ผลอ่อนมีรสขมและขื่น  อาจจะลวกหรือเผาไฟกินกับน้ำพริก บ้างก็ทุบใส่ในแกงกะทิหรือน้ำพริก

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะแว้งเครือ 100 กรัม)
 แคลเซียม 50 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 68 มิลลิกรัม วิตามินซี 6 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ใช้กินเป็นผักช่วยลดน้ำตาลในเลือด แก้เบาหวาน และช่วยเจริญอาหาร บำ รุงธาตุ ขับลม      แก้ไข้หัวลม ทำให้ชุ่มคอ แก้ไอ เจ็บคอ

 

มะระขี้นก

      ไม้เลื้อยล้มลุก อีสานเรียก ผักไซร้ ภาคกลางเรียก มะระหนู ผลของมะระขี้นกนั้น เป็นรูปรี ลายเรียวแหลม ผิวขรุขระสีขาวปนเขียว เมื่อสุกมีสีเหลืองสด เมล็ดสีแดงสด ผลอ่อนของมะระขี้นกนิยมนำมาต้มหรือเผากินทั้งลูกเป็นผักจิ้มน้ำพริกในแทบทุกภาค  ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง ควักเม็ด     ออกก่อน ประยุกต์เป็นอาหารภาคกลางอย่าง   พะแนงมะระขี้นกยัดไส้    หรือมะระขี้นกผัดไข่เค็มกระเทียมโทน วิธีลดความขมของมะระขี้นก ก่อนนำมาปรุงอาหารนั้นต้องต้มมะระในน้ำเดือดจัด     แล้วใส่เกลือซักหยิบมือ มะระสุกแต่ยังคงมีสีเขียว

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะระขี้นก 100 กรัม)
 ฟอสฟอรัส 5 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 23 ไมโครกรัม วิตามินซี 147 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 แก้เบาหวาน ลดน้ำตาลในเลือด ช่วยให้เจริญอาหาร

 

 

มะเขือขื่น

     มะเขือขื่นเป็นมะเขือคนละสายพันธุ์กับมะเขือทั่วไป เป็นไม้พุ่มที่มีอายุหลายปี มีหนามทั่วลำต้น กิ่งเปราะหักง่าย ใบเดี่ยวขอบใบหยักเป็นคลื่น มีหนามห่างๆ ทั่วทั้งก้าน บนใบและหลังใบ ใบอ่อนมีขนปกคลุม ออกดอกที่ปลายยอด ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด ลูกเล็กและเปลือกมีผิวสาก เปลือกมีสีเขียวอมขาวเมื่อยังอ่อน และเหลืองยามแก่จัด มีรสขมและขื่นมากเป็นพิเศษ นิยมฝานเอาเปลือกใส่แกงป่า ส้มตำลาว และส้า หรือยำแบบภาคเหนือ หรือกินดิบจิ้มน้ำพริก

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะเขือขื่น 100 กรัม)
 แคลเซียม 55 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม วิตามินซี 63 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ
 ช่วยลดโคเลสเตอรอลในเลือด แก้โรคความดันโลหิตสูง

 

มะกอกบก

 ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ผลแก่เปลือกมีสีเหลืองอมเขียว มีจุดประสีเหลืองเข้มสลับดำที่เปลือก  เปลือกเหนียว เม็ดแข็ง เนื้อบาง กลิ่นหอม รสเปรี้ยวปนขมอมฝาด ผลแก่กินเป็นผลไม้ จิ้มพริกเกลือ ผลสุกใช้แต่งรสเปรี้ยวและกลิ่นหอมให้กับอาหาร คนภาคกลางจะฝานเนื้อติดเปลือกบางๆ ผสมกับน้ำปลาดี หอมแดงซอย และพริกขี้หนูซอย ออกรสเปรี้ยว เค็ม เผ็ด และหวาน จิ้มกับเนื้อย่าง ปลาย่าง    คนอีสานใส่เป็นผักปรุงรสเปรี้ยวที่ออกรสหวาน ในส้มตำลาวหรือส้มตำปลาร้า และใส่ในน้ำพริกพื้นบ้านอีสานชนิดต่างๆ เลือกมะกอกสุกที่เปลือกมีจุดประเหลือง จุดดำน้อย ไม่สุกเกินไป เนื้อนิ่ม    ไม่เละ กลิ่นหอม

คุณค่าอาหารทางโภชนาการ (มะกอกบก 100 กรัม)
 แคลเซียม 49 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 80 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 1,231 ไมโครกรัม วิตามินเอ 205 ไมโครกรัม วิตามินซี 53 มิลลิกรัม

ประโยชน์ทางด้านโภชนาการ
 ผลมีรสเปรี้ยวช่วยแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน ทำให้ชุ่มคอ ดับกระหาย

 


สร้างโดย: 
สุพัตทกานต์ ปานบุตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 316 คน กำลังออนไลน์