• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2c593dabf9740b25ec7aa7e01d1ae7a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div class=\"Section1\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">การล่มสลายของสหภาพโซเวียต</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">: </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ความล้มเหลวของคอมมิวนิสต์ ???<i><o:p></o:p></i></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>    </span></span>\n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>        </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แนวมาร์กซ์มี <span>&quot;กระบวนการทางชนชั้น&quot;</span> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(class process) </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">เป็น <span>&quot;จุดตั้งต้น&quot; </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(entry point) </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ในการศึกษา<span>    </span><span>&quot;ชนชั้น&quot;</span> ตามนิยามของมาร์กซ์ไม่ได้จัดแบ่งตามเกณฑ์ <span>&quot;อำนาจ&quot;</span>(กลุ่มผู้มีอำนาจ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">-</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">กลุ่มผู้ไร้อำนาจ) หรือ<span>&quot;ทรัพย์สิน&quot;</span>(กลุ่มคนรวย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">-</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">กลุ่มคนจน) แต่มาร์กซ์เสนอแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วย <span>&quot;แรงงาน(มูลค่า)ส่วนเกิน&quot;</span> (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">surplus labor(value))</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"> ที่มีจุดเน้นที่กระบวนการในการผลิตส่วนเกิน<span>  </span>การเข้าถือครองส่วนเกิน<span>  </span>และการกระจายส่วนเกินที่เกิดขึ้นจากการผลิต<span>  </span>โดยสนใจว่าใครคือผู้ผลิตส่วนเกิน ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร และจัดสรรส่วนเกินที่เกิดขึ้นอย่างไร<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>หากยึดแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วยแรงงานส่วนเกิน เราสามารถจำแนกโครงสร้างทางชนชั้น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(class structure) </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ออกได้หลายรูปแบบตามกระบวนการเกี่ยวกับแรงงานส่วนเกินที่แตกต่างกัน เช่น โครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม แบบทาส แบบศักดินา แบบทุนนิยม และแบบคอมมิวนิสต์<span>  </span>แต่ละโครงสร้างทางชนชั้นเป็นตัวกำหนดว่าใครคือผู้ผลิตส่วนเกิน ใครเป็นผู้เข้าถือครองส่วนเกิน และส่วนเกินที่เกิดขึ้นถูกจัดสรรให้ใคร<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ในโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม แรงงานเป็นผู้ผลิตส่วนเกิน แต่ไม่ได้เป็นเจ้าของส่วนเกินที่ตนผลิตขึ้น ผู้ที่เข้าถือครองเป็นเจ้าของส่วนเกินคือนายทุน ซึ่งเป็นเจ้าของทุน แต่ไม่ได้เป็นผู้ลงมือผลิตสินค้านั้นโดยตรง นายทุนเป็นผู้จัดสรรส่วนเกินที่ได้รับในเบื้องแรกให้กับ <i>“ชนชั้นรอง”</i> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(subsumed class) ซึ่งเป็นกลุ่มที่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ไม่ได้เป็นผู้ลงมือผลิตโดยตรง แต่มีบทบาทสำคัญในการธำรงโครงสร้างความสัมพันธ์ในโครงสร้างชนชั้นนั้น ๆ เช่น ผู้จัดการ (ช่วยคุมให้แรงงานผลิตส่วนเกินมาก ๆ) ฝ่ายขาย (แปลงส่วนเกินเป็นเงินเพื่อสะสมทุนต่อ) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา<span>  </span>(พัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อช่วงชิงกำไรสูงสุด) เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ส่วนโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ แรงงาน <i>“ร่วมมือ”</i> กันผลิตส่วนเกิน และ <i>“ร่วมกัน”</i> เป็นเจ้าของส่วนเกินที่ได้ <i>“ร่วมกัน” </i>ผลิต รวมทั้ง <i>“ร่วมกัน” </i>จัดสรรส่วนเกินให้กับชนชั้นรองเพื่อประกันการดำรงอยู่ของโครงสร้างความสัมพันธ์ด้านแรงงานส่วนเกินแบบรวมหมู่ดังกล่าวไว้<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ในโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ ภาวะการเอาเปรียบขูดรีดแรงงานจึงไม่เกิดขึ้นเหมือนดังโครงสร้างแบบทุนนิยม<span>  </span>เนื่องจากผู้ผลิตส่วนเกินคือผู้เป็นเจ้าของส่วนเกินนั้นเอง ทั้งนี้การผลิตในโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์เป็นการผลิตแบบร่วมมือรวมหมู่<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ด้วยแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วยแรงงานส่วนเกินของมาร์กซ์ดังที่กล่าวมา<span>  </span>จึงมิอาจกล่าวได้ว่าสหภาพโซเวียตหลังการปฏิวัติโค่นล้มพระเจ้าซาร์ในปี </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">1917</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"> เป็นสังคมที่มีโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ ทั้งนี้รวมถึงหลายประเทศในยุโรปตะวันออกในเวลาต่อมาด้วย เนื่องจาก ภายหลังการปฏิวัติ รูปแบบความสัมพันธ์ทางด้านแรงงานส่วนเกินยังมิได้มีการเปลี่ยนผ่านจากรูปแบบทุนนิยมไปยังคอมมิวนิสต์แต่อย่างใด<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ปฏิเสธไม่ได้ว่าหลังการปฏิวัติ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">1917</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"> มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมครั้งใหญ่<span>  </span>การวางแผนจากส่วนกลางเข้าแทนที่ระบบตลาด กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลถูกแทนที่ด้วยกรรมสิทธิ์แบบรวมหมู่โดยรัฐ<span>  </span>รัฐบาลเข้ายึดทรัพย์สินส่วนบุคคลทั้งเครื่องไม้เครื่องมือในการผลิต และผลผลิต ฯลฯ<span>  </span>กระนั้น ใช่ว่าโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยมได้ถูกทำลายไป<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>แม้บริษัท ธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรมกลายเป็นของรัฐ แต่โครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมที่ว่าด้วยแรงงานเป็นผู้ผลิตส่วนเกินแต่ไม่ได้เป็นเจ้าของ นายทุนผู้ไม่ได้ลงมือผลิตกลับเป็นเจ้าของส่วนเกินนั้น ยังคงฝังตัวอยู่ภายในรัฐวิสาหกิจนั้น แรงงานยังคงผลิตแรงงานส่วนเกินให้กับภาคอุตสาหกรรม โดยที่ตนมิได้เป็นเจ้าของส่วนเกินดังกล่าว<span>  </span>เพียงแต่ผลิตแรงงานส่วนเกินให้กับรัฐวิสาหกิจแทนที่โรงงานเอกชน<span>  </span>ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นเพียงการเปลี่ยนหน้าผู้เข้าถือครองเป็นเจ้าของส่วนเกิน จาก <i>“นายทุนเอกชน” </i>ที่มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลในทุนและผลผลิต เป็น <i>“รัฐ”</i> (นายทุนรัฐและข้าราชการ) เท่านั้น<span>  </span>การเอาเปรียบขูดรีดแรงงานยังคงดำรงอยู่อย่างไม่เปลี่ยนแปลงภายหลังการปฏิวัติ<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงมิอาจกล่าวได้ว่าโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ได้เกิดขึ้นแทนที่ทุนนิยมในสหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">20</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลมิใช่เงื่อนไขที่จำเป็นในการดำรงอยู่ของโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม<span>  </span>โครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมสามารถมีชีวิตอยู่ได้โดยปราศจากตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล ตราบที่ผู้ผลิตส่วนเกินมิได้เป็นเจ้าของส่วนเกินนั้น และนายทุน (ไม่ว่านายทุนเอกชนหรือนายทุนรัฐ) นำส่วนเกินที่ได้รับไปสะสมทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสวงหาส่วนเกินมากขึ้น ๆ ในรอบต่อ ๆ ไป<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">สหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">20</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"> มิใช่สังคมที่มีโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ เนื่องจากโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ยังมิได้ลงหลักปักฐานแทนที่โครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม<span>  </span>การปฏิวัติดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนรูปแบบของระบบทุนนิยม จาก <i>“ทุนนิยมเอกชน”</i> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(Private Capitalism) </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">เป็น <i>“ทุนนิยมโดยรัฐ” </i></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">(State Capitalism) </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">เท่านั้น<span>  </span>การปฏิวัติ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">1917 </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">มิใช่การเปลี่ยนรูปแบบจาก <i>“ทุนนิยม”</i> เป็น <i>“คอมมิวนิสต์”</i> แต่อย่างใด<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">20 </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">จึงเป็นประวัติศาสตร์ที่มีเรื่องเล่าว่าด้วยการเปลี่ยนผันสลับไปมาระหว่างทุนนิยมเอกชนและทุนนิยมโดยรัฐ ตามบริบทของเศรษฐกิจและสังคมในแต่ละห้วงเวลา<span>  </span>มิใช่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงจากทุนนิยมสู่คอมมิวนิสต์<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ในยุคพระเจ้าซาร์ โครงสร้างชนชั้นเป็นแบบทุนนิยมเอกชน<span>  </span>หลังปฏิวัติ 1917<span>  </span>ทุนนิยมโดยรัฐเข้าแทนที่ทุนนิยมเอกชน ซึ่งเลนินถือว่าเป็นกระบวนการที่จำเป็นในการเปลี่ยนผ่านจากทุนนิยมเป็นคอมมิวนิสต์<span>  </span>หน่วยงานของรัฐ เช่น Supreme Council of National Economy และ Council of Minister ในเวลาต่อมา เป็นผู้เข้าถือครองและกระจายส่วนเกินที่เกิดขึ้นจากการผลิตโดยแรงงาน ตามแผนเศรษฐกิจที่ส่วนกลางได้วางไว้ โดยปราศจากบทบาทของตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล<o:p></o:p></span><span style=\"font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>แต่ใช่ว่าโครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมจะเป็นโครงสร้างเดียวที่ดำรงอยู่ในสังคม ในแต่ละช่วงเวลาของสังคม มีโครงสร้างทางชนชั้นดำรงอยู่ร่วมกันอย่างหลากหลาย<span>  </span>แม้รัฐบาลเข้ามีบทบาทในภาคอุตสาหกรรม เช่น เข้าเป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม<span>  </span>กำหนดราคาผลผลิตและค่าจ้าง<span>  </span>แต่สำหรับภาคเกษตรในช่วงเวลาดังกล่าวมีโครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม ที่ผลผลิตถูกผลิตโดยเกษตรกรรายย่อยอิสระในชนบท และชนชั้นดังกล่าวเป็นผู้ได้รับส่วนเกิน<span>  </span>การแทรกแซงของรัฐในภาคเกษตรเป็นไปอย่างน้อยนิดเมื่อเทียบกับภาคอุตสาหกรรม<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span></span>\n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>              </span>ในปี 1921 เลนินเสนอ <i>“นโยบายเศรษฐกิจใหม่”</i> (New Economic Policy) ที่หันเหเศรษฐกิจไปสู่ทิศทางส่งเสริมทุนนิยมเอกชนมากขึ้น เช่น แปรรูปรัฐวิสาหกิจ<span>  </span>คืนชีวิตให้ตลาดและทรัพย์สินเอกชนในบางภาคส่วน เป็นต้น<span>  </span>แนวนโยบายดังกล่าวเอื้อประโยชน์แก่การผลิตในภาคเกษตรที่มีโครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม<span>  </span>ส่งผลให้อำนาจและความมั่งคั่งของกลุ่มเกษตรกรอิสระเพิ่มสูงขึ้น ชนชั้นนายทุนเอกชนกลับฟื้นคืนชีพอีกครั้ง และเป็นพื้นฐานสำคัญที่เป็นแรงผลักให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างก้าวกระโดด<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>หลังทศวรรษ 1920 กลุ่มเกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนมีอำนาจและความมั่งคั่งสูงขึ้นมาก ผลที่ตามมาคือราคาสินค้าและวัตถุดิบเพิ่มสูงขึ้น จนถึงระดับที่รัฐเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม<span>  </span>สตาลิน ซึ่งเป็นผู้นำในยุคนั้นได้เสนอแผนสองปีฉบับแรก โดยได้จัดตั้งระบบนารวมขนาดเล็กแทนที่เกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนในการผลิตภาคเกษตร รัฐก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการจัดสรรส่วนเกินเพื่อกระจายส่วนเกินในทางที่เอื้อประโยชน์แก่กลุ่มทุนอุตสาหกรรม<span>  </span>รัฐเข้ามากำหนดราคา โดยตั้งราคาสินค้าประเภทอาหารและวัตถุดิบให้ต่ำ เพื่ออำนวยการเติบโตแก่ภาคอุตสาหกรรม<span>  </span>ในทางตรงกันข้าม รัฐกลับตั้งราคาสินค้าอุตสาหกรรมในระดับสูง<span>  </span>นโยบายโยกย้ายส่วนเกินดังกล่าวเสมือนให้รางวัลแก่ภาคอุตสาหกรรมและลงโทษภาคเกษตร<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ต่อมาเมื่อเกิดการต่อต้านจากกลุ่มเกษตรกร<span>  </span>สตาลินได้ล้มเลิกระบบนารวมขนาดเล็ก และจัดตั้งนารัฐขนาดใหญ่แทน รัฐเข้ามามีบทบาทในภาคเกษตรอย่างเต็มรูปแบบแทนที่เอกชน พลังและความมั่งคั่งของเกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนถูกทำลายลงอีกครั้ง<span>  </span>ในช่วงนี้นับว่าโครงสร้างชนชั้นได้หมุนกลับจากทุนนิยมเอกชนมาเป็นทุนนิยมโดยรัฐอีกครั้งหนึ่ง<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>ด้วยนโยบายที่เอื้ออำนวยภาคอุตสาหกรรม ทำให้สหภาพโซเวียตมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงกระทั่งทศวรรษที่ 1960<span>  </span>ระดับการบริโภคในเศรษฐกิจสูง โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจดี และมีอำนาจทางการเมืองสูงยิ่ง เป็นผู้นำทางการเมืองของโลกอีกขั้วหนึ่ง<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>หลังทศวรรษ 1960<span>  </span>ระบบทุนนิยมโดยรัฐดังกล่าวไม่สามารถผลิตส่วนเกินได้มากเพียงพอที่จะรักษาโครงสร้างความสัมพันธ์ทางชนชั้นแบบทุนนิยมโดยรัฐได้<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ส่วนเกินที่ผลิตได้ไม่เพียงพอที่จะธำรงความสำเร็จทางการเมืองและเศรษฐกิจ<span>  </span>ผสมกับปัญหาผลิตภาพในกระบวนการผลิตที่ต่ำมาก<span>  </span>ส่วนเกินไม่เพียงพอสำหรับการกระจายให้ แก่ชนชั้นนายทุนรัฐและชนชั้นรองเพื่อรักษาสถานะทางการเมืองที่เปี่ยมอำนาจ และไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งของพรรคคอมมิวนิสต์ไว้ได้<span>  </span>นอกจากนั้น ส่วนเกินจากการผลิตยังน้อยเกินไปสำหรับการสะสมทุนในการผลิต ไม่สามารถรักษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและผลิตภาพ<span>  </span>ไม่สามารถผลิตสินค้าได้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ไม่สามารถสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ดีพอ<span>  </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจในช่วงนี้จึงหันหัวเรือกลับมาเดินในแนวทางทุนนิยมเอกชน โดยกระจายอำนาจออกจากส่วนกลาง<span>  </span>สร้างตลาดเอกชน และแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ฯลฯ เพื่อรับมือกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">จากเรื่องเล่าของประวัติเศรษฐกิจสหภาพโซเวียตอย่างหยาบ ๆ ข้างต้น จะเห็นว่า โครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ไม่เคยถูกพัฒนาอย่างจริงจังในยุคที่คนทั่วไปเข้าใจว่าสหภาพโซเวียตเป็นสังคมคอมมิวนิสต์<span>   </span>โครงสร้างทุนนิยมโดยรัฐของสหภาพโซเวียตในช่วงเวลาดังกล่าวอาจพอเรียกได้ว่าเป็น <i>“สังคมนิยม”</i> ในแง่ที่มีความเป็นเจ้าของแบบรวมหมู่ มีการกระจายรายได้ที่ค่อนข้างเท่าเทียม มีบริการของรัฐที่ดี และมีระดับการจ้างงานสูง<span>  </span>กระนั้นมิอาจเรียกได้ว่าเป็นระบบคอมมิวนิสต์<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>            </span>สังคมที่มีโครงสร้างทางชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์เป็นโครงสร้างหลักยังมิเคยเกิดขึ้นจริงในโลกใบนี้<span>   </span>หากใช้กรอบการวิเคราะห์ทางแรงงานส่วนเกินของมาร์กซ์ ความล้มเหลวของสหภาพโซเวียตจึงมิใช่ความล้มเหลวของคอมมิวนิสต์ หากเป็นความล้มเหลวของระบบทุนนิยมโดยรัฐต่างหาก<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span> </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">หมายเหต</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ุ : <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">บทความนี้เขียนขึ้นโดยใช้กรอบการวิเคราะห์ของ Overdeterminist Marixism เพียงเท่านั้น ทั้งนี้ วิวาทะว่าด้วยลักษณะความเป็น <i>“สังคมนิยม”</i> หรือ <i>“คอมมิวนิสต์”</i> ของสหภาพโซเวียตมีกว้างขวาง ภายใต้ระเบียบวิธีวิเคราะห์ที่หลากหลาย รวมทั้งคำนิยามของคำว่า <i>“สังคมนิยม”</i> และ <i>“คอมมิวนิสต์” </i>ก็มีความหลากหลายด้วยเช่นกัน<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span>\n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span> \n</div>\n<div class=\"Section1\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><o:p>      </o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">ตีพิมพ์ครั้งแรก </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\">: คอลัมน์ <i>“มองมุมใหม่”</i> หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับเดือนมิถุนายน 2545<span> </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span> </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: CordiaUPC\" lang=\"TH\"><span>  </span><o:p></o:p></span>\n</div>\n', created = 1720469005, expire = 1720555405, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2c593dabf9740b25ec7aa7e01d1ae7a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6ddb0e0b9ec669f3bce96919d7c96298' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตรวจแล้ว แต่ให้ทำเรื่องการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ในรายละเอียด ในเรื่องปัญหาและสาเหตุ ผลกระทบ\n</p>\n', created = 1720469005, expire = 1720555405, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6ddb0e0b9ec669f3bce96919d7c96298' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต: ความล้มเหลวของคอมมิวนิสต์ ???      
        ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แนวมาร์กซ์มี "กระบวนการทางชนชั้น" (class process) เป็น "จุดตั้งต้น" (entry point) ในการศึกษา    "ชนชั้น" ตามนิยามของมาร์กซ์ไม่ได้จัดแบ่งตามเกณฑ์ "อำนาจ"(กลุ่มผู้มีอำนาจ-กลุ่มผู้ไร้อำนาจ) หรือ"ทรัพย์สิน"(กลุ่มคนรวย-กลุ่มคนจน) แต่มาร์กซ์เสนอแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วย "แรงงาน(มูลค่า)ส่วนเกิน" (surplus labor(value)) ที่มีจุดเน้นที่กระบวนการในการผลิตส่วนเกิน  การเข้าถือครองส่วนเกิน  และการกระจายส่วนเกินที่เกิดขึ้นจากการผลิต  โดยสนใจว่าใครคือผู้ผลิตส่วนเกิน ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร และจัดสรรส่วนเกินที่เกิดขึ้นอย่างไร              หากยึดแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วยแรงงานส่วนเกิน เราสามารถจำแนกโครงสร้างทางชนชั้น (class structure) ออกได้หลายรูปแบบตามกระบวนการเกี่ยวกับแรงงานส่วนเกินที่แตกต่างกัน เช่น โครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม แบบทาส แบบศักดินา แบบทุนนิยม และแบบคอมมิวนิสต์  แต่ละโครงสร้างทางชนชั้นเป็นตัวกำหนดว่าใครคือผู้ผลิตส่วนเกิน ใครเป็นผู้เข้าถือครองส่วนเกิน และส่วนเกินที่เกิดขึ้นถูกจัดสรรให้ใคร            ในโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม แรงงานเป็นผู้ผลิตส่วนเกิน แต่ไม่ได้เป็นเจ้าของส่วนเกินที่ตนผลิตขึ้น ผู้ที่เข้าถือครองเป็นเจ้าของส่วนเกินคือนายทุน ซึ่งเป็นเจ้าของทุน แต่ไม่ได้เป็นผู้ลงมือผลิตสินค้านั้นโดยตรง นายทุนเป็นผู้จัดสรรส่วนเกินที่ได้รับในเบื้องแรกให้กับ “ชนชั้นรอง” (subsumed class) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ไม่ได้เป็นผู้ลงมือผลิตโดยตรง แต่มีบทบาทสำคัญในการธำรงโครงสร้างความสัมพันธ์ในโครงสร้างชนชั้นนั้น ๆ เช่น ผู้จัดการ (ช่วยคุมให้แรงงานผลิตส่วนเกินมาก ๆ) ฝ่ายขาย (แปลงส่วนเกินเป็นเงินเพื่อสะสมทุนต่อ) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา  (พัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อช่วงชิงกำไรสูงสุด) เป็นต้น            ส่วนโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ แรงงาน “ร่วมมือ” กันผลิตส่วนเกิน และ “ร่วมกัน” เป็นเจ้าของส่วนเกินที่ได้ “ร่วมกัน” ผลิต รวมทั้ง “ร่วมกัน” จัดสรรส่วนเกินให้กับชนชั้นรองเพื่อประกันการดำรงอยู่ของโครงสร้างความสัมพันธ์ด้านแรงงานส่วนเกินแบบรวมหมู่ดังกล่าวไว้  ในโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ ภาวะการเอาเปรียบขูดรีดแรงงานจึงไม่เกิดขึ้นเหมือนดังโครงสร้างแบบทุนนิยม  เนื่องจากผู้ผลิตส่วนเกินคือผู้เป็นเจ้าของส่วนเกินนั้นเอง ทั้งนี้การผลิตในโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์เป็นการผลิตแบบร่วมมือรวมหมู่             ด้วยแนวคิดทางชนชั้นว่าด้วยแรงงานส่วนเกินของมาร์กซ์ดังที่กล่าวมา  จึงมิอาจกล่าวได้ว่าสหภาพโซเวียตหลังการปฏิวัติโค่นล้มพระเจ้าซาร์ในปี 1917 เป็นสังคมที่มีโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ ทั้งนี้รวมถึงหลายประเทศในยุโรปตะวันออกในเวลาต่อมาด้วย เนื่องจาก ภายหลังการปฏิวัติ รูปแบบความสัมพันธ์ทางด้านแรงงานส่วนเกินยังมิได้มีการเปลี่ยนผ่านจากรูปแบบทุนนิยมไปยังคอมมิวนิสต์แต่อย่างใด  ปฏิเสธไม่ได้ว่าหลังการปฏิวัติ 1917 มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมครั้งใหญ่  การวางแผนจากส่วนกลางเข้าแทนที่ระบบตลาด กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลถูกแทนที่ด้วยกรรมสิทธิ์แบบรวมหมู่โดยรัฐ  รัฐบาลเข้ายึดทรัพย์สินส่วนบุคคลทั้งเครื่องไม้เครื่องมือในการผลิต และผลผลิต ฯลฯ  กระนั้น ใช่ว่าโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยมได้ถูกทำลายไป              แม้บริษัท ธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรมกลายเป็นของรัฐ แต่โครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมที่ว่าด้วยแรงงานเป็นผู้ผลิตส่วนเกินแต่ไม่ได้เป็นเจ้าของ นายทุนผู้ไม่ได้ลงมือผลิตกลับเป็นเจ้าของส่วนเกินนั้น ยังคงฝังตัวอยู่ภายในรัฐวิสาหกิจนั้น แรงงานยังคงผลิตแรงงานส่วนเกินให้กับภาคอุตสาหกรรม โดยที่ตนมิได้เป็นเจ้าของส่วนเกินดังกล่าว  เพียงแต่ผลิตแรงงานส่วนเกินให้กับรัฐวิสาหกิจแทนที่โรงงานเอกชน  ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นเพียงการเปลี่ยนหน้าผู้เข้าถือครองเป็นเจ้าของส่วนเกิน จาก “นายทุนเอกชน” ที่มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลในทุนและผลผลิต เป็น “รัฐ” (นายทุนรัฐและข้าราชการ) เท่านั้น  การเอาเปรียบขูดรีดแรงงานยังคงดำรงอยู่อย่างไม่เปลี่ยนแปลงภายหลังการปฏิวัติ  เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงมิอาจกล่าวได้ว่าโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ได้เกิดขึ้นแทนที่ทุนนิยมในสหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ 20            ตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลมิใช่เงื่อนไขที่จำเป็นในการดำรงอยู่ของโครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม  โครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมสามารถมีชีวิตอยู่ได้โดยปราศจากตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล ตราบที่ผู้ผลิตส่วนเกินมิได้เป็นเจ้าของส่วนเกินนั้น และนายทุน (ไม่ว่านายทุนเอกชนหรือนายทุนรัฐ) นำส่วนเกินที่ได้รับไปสะสมทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสวงหาส่วนเกินมากขึ้น ๆ ในรอบต่อ ๆ ไป สหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ 20 มิใช่สังคมที่มีโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ เนื่องจากโครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ยังมิได้ลงหลักปักฐานแทนที่โครงสร้างชนชั้นแบบทุนนิยม  การปฏิวัติดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนรูปแบบของระบบทุนนิยม จาก “ทุนนิยมเอกชน” (Private Capitalism) เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” (State Capitalism) เท่านั้น  การปฏิวัติ 1917 มิใช่การเปลี่ยนรูปแบบจาก “ทุนนิยม” เป็น “คอมมิวนิสต์” แต่อย่างใด            ประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียตในศตวรรษที่ 20 จึงเป็นประวัติศาสตร์ที่มีเรื่องเล่าว่าด้วยการเปลี่ยนผันสลับไปมาระหว่างทุนนิยมเอกชนและทุนนิยมโดยรัฐ ตามบริบทของเศรษฐกิจและสังคมในแต่ละห้วงเวลา  มิใช่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงจากทุนนิยมสู่คอมมิวนิสต์            ในยุคพระเจ้าซาร์ โครงสร้างชนชั้นเป็นแบบทุนนิยมเอกชน  หลังปฏิวัติ 1917  ทุนนิยมโดยรัฐเข้าแทนที่ทุนนิยมเอกชน ซึ่งเลนินถือว่าเป็นกระบวนการที่จำเป็นในการเปลี่ยนผ่านจากทุนนิยมเป็นคอมมิวนิสต์  หน่วยงานของรัฐ เช่น Supreme Council of National Economy และ Council of Minister ในเวลาต่อมา เป็นผู้เข้าถือครองและกระจายส่วนเกินที่เกิดขึ้นจากการผลิตโดยแรงงาน ตามแผนเศรษฐกิจที่ส่วนกลางได้วางไว้ โดยปราศจากบทบาทของตลาดและกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล            แต่ใช่ว่าโครงสร้างทางชนชั้นแบบทุนนิยมจะเป็นโครงสร้างเดียวที่ดำรงอยู่ในสังคม ในแต่ละช่วงเวลาของสังคม มีโครงสร้างทางชนชั้นดำรงอยู่ร่วมกันอย่างหลากหลาย  แม้รัฐบาลเข้ามีบทบาทในภาคอุตสาหกรรม เช่น เข้าเป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม  กำหนดราคาผลผลิตและค่าจ้าง  แต่สำหรับภาคเกษตรในช่วงเวลาดังกล่าวมีโครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม ที่ผลผลิตถูกผลิตโดยเกษตรกรรายย่อยอิสระในชนบท และชนชั้นดังกล่าวเป็นผู้ได้รับส่วนเกิน  การแทรกแซงของรัฐในภาคเกษตรเป็นไปอย่างน้อยนิดเมื่อเทียบกับภาคอุตสาหกรรม           
              ในปี 1921 เลนินเสนอ “นโยบายเศรษฐกิจใหม่” (New Economic Policy) ที่หันเหเศรษฐกิจไปสู่ทิศทางส่งเสริมทุนนิยมเอกชนมากขึ้น เช่น แปรรูปรัฐวิสาหกิจ  คืนชีวิตให้ตลาดและทรัพย์สินเอกชนในบางภาคส่วน เป็นต้น  แนวนโยบายดังกล่าวเอื้อประโยชน์แก่การผลิตในภาคเกษตรที่มีโครงสร้างทางชนชั้นแบบดั้งเดิม  ส่งผลให้อำนาจและความมั่งคั่งของกลุ่มเกษตรกรอิสระเพิ่มสูงขึ้น ชนชั้นนายทุนเอกชนกลับฟื้นคืนชีพอีกครั้ง และเป็นพื้นฐานสำคัญที่เป็นแรงผลักให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างก้าวกระโดด            หลังทศวรรษ 1920 กลุ่มเกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนมีอำนาจและความมั่งคั่งสูงขึ้นมาก ผลที่ตามมาคือราคาสินค้าและวัตถุดิบเพิ่มสูงขึ้น จนถึงระดับที่รัฐเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม  สตาลิน ซึ่งเป็นผู้นำในยุคนั้นได้เสนอแผนสองปีฉบับแรก โดยได้จัดตั้งระบบนารวมขนาดเล็กแทนที่เกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนในการผลิตภาคเกษตร รัฐก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการจัดสรรส่วนเกินเพื่อกระจายส่วนเกินในทางที่เอื้อประโยชน์แก่กลุ่มทุนอุตสาหกรรม  รัฐเข้ามากำหนดราคา โดยตั้งราคาสินค้าประเภทอาหารและวัตถุดิบให้ต่ำ เพื่ออำนวยการเติบโตแก่ภาคอุตสาหกรรม  ในทางตรงกันข้าม รัฐกลับตั้งราคาสินค้าอุตสาหกรรมในระดับสูง  นโยบายโยกย้ายส่วนเกินดังกล่าวเสมือนให้รางวัลแก่ภาคอุตสาหกรรมและลงโทษภาคเกษตร  ต่อมาเมื่อเกิดการต่อต้านจากกลุ่มเกษตรกร  สตาลินได้ล้มเลิกระบบนารวมขนาดเล็ก และจัดตั้งนารัฐขนาดใหญ่แทน รัฐเข้ามามีบทบาทในภาคเกษตรอย่างเต็มรูปแบบแทนที่เอกชน พลังและความมั่งคั่งของเกษตรกรอิสระและนายทุนเอกชนถูกทำลายลงอีกครั้ง  ในช่วงนี้นับว่าโครงสร้างชนชั้นได้หมุนกลับจากทุนนิยมเอกชนมาเป็นทุนนิยมโดยรัฐอีกครั้งหนึ่ง            ด้วยนโยบายที่เอื้ออำนวยภาคอุตสาหกรรม ทำให้สหภาพโซเวียตมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงกระทั่งทศวรรษที่ 1960  ระดับการบริโภคในเศรษฐกิจสูง โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจดี และมีอำนาจทางการเมืองสูงยิ่ง เป็นผู้นำทางการเมืองของโลกอีกขั้วหนึ่ง            หลังทศวรรษ 1960  ระบบทุนนิยมโดยรัฐดังกล่าวไม่สามารถผลิตส่วนเกินได้มากเพียงพอที่จะรักษาโครงสร้างความสัมพันธ์ทางชนชั้นแบบทุนนิยมโดยรัฐได้  ส่วนเกินที่ผลิตได้ไม่เพียงพอที่จะธำรงความสำเร็จทางการเมืองและเศรษฐกิจ  ผสมกับปัญหาผลิตภาพในกระบวนการผลิตที่ต่ำมาก  ส่วนเกินไม่เพียงพอสำหรับการกระจายให้ แก่ชนชั้นนายทุนรัฐและชนชั้นรองเพื่อรักษาสถานะทางการเมืองที่เปี่ยมอำนาจ และไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งของพรรคคอมมิวนิสต์ไว้ได้  นอกจากนั้น ส่วนเกินจากการผลิตยังน้อยเกินไปสำหรับการสะสมทุนในการผลิต ไม่สามารถรักษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและผลิตภาพ  ไม่สามารถผลิตสินค้าได้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ไม่สามารถสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ดีพอ  ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจในช่วงนี้จึงหันหัวเรือกลับมาเดินในแนวทางทุนนิยมเอกชน โดยกระจายอำนาจออกจากส่วนกลาง  สร้างตลาดเอกชน และแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ฯลฯ เพื่อรับมือกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น            จากเรื่องเล่าของประวัติเศรษฐกิจสหภาพโซเวียตอย่างหยาบ ๆ ข้างต้น จะเห็นว่า โครงสร้างชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์ไม่เคยถูกพัฒนาอย่างจริงจังในยุคที่คนทั่วไปเข้าใจว่าสหภาพโซเวียตเป็นสังคมคอมมิวนิสต์   โครงสร้างทุนนิยมโดยรัฐของสหภาพโซเวียตในช่วงเวลาดังกล่าวอาจพอเรียกได้ว่าเป็น “สังคมนิยม” ในแง่ที่มีความเป็นเจ้าของแบบรวมหมู่ มีการกระจายรายได้ที่ค่อนข้างเท่าเทียม มีบริการของรัฐที่ดี และมีระดับการจ้างงานสูง  กระนั้นมิอาจเรียกได้ว่าเป็นระบบคอมมิวนิสต์            สังคมที่มีโครงสร้างทางชนชั้นแบบคอมมิวนิสต์เป็นโครงสร้างหลักยังมิเคยเกิดขึ้นจริงในโลกใบนี้   หากใช้กรอบการวิเคราะห์ทางแรงงานส่วนเกินของมาร์กซ์ ความล้มเหลวของสหภาพโซเวียตจึงมิใช่ความล้มเหลวของคอมมิวนิสต์ หากเป็นความล้มเหลวของระบบทุนนิยมโดยรัฐต่างหาก  หมายเหตุ :  บทความนี้เขียนขึ้นโดยใช้กรอบการวิเคราะห์ของ Overdeterminist Marixism เพียงเท่านั้น ทั้งนี้ วิวาทะว่าด้วยลักษณะความเป็น “สังคมนิยม” หรือ “คอมมิวนิสต์” ของสหภาพโซเวียตมีกว้างขวาง ภายใต้ระเบียบวิธีวิเคราะห์ที่หลากหลาย รวมทั้งคำนิยามของคำว่า “สังคมนิยม” และ “คอมมิวนิสต์” ก็มีความหลากหลายด้วยเช่นกัน  
 
      ตีพิมพ์ครั้งแรก : คอลัมน์ “มองมุมใหม่” หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับเดือนมิถุนายน 2545   
สร้างโดย: 
นายวีระประวัติ สงวนดี ม.4/4 เลขที่4 นางสาวพัชราภรณ์ ง้วนประเสริฐ ม.4/4 เลขที่24 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว แต่ให้ทำเรื่องการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ในรายละเอียด ในเรื่องปัญหาและสาเหตุ ผลกระทบ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 369 คน กำลังออนไลน์