• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:423d1ff5cebefb76c2f9930b1fb378da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: large; font-family: MS Sans Serif\"><strong>องค์การสหประชาชาติ (United Nations หรือ UN)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong>สหประชาชาติ </strong>เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่มุ่งเน้นในการช่วยเหลือ มนุษยชาติ และรักษาสันติภาพของโลก เพื่อให้อยู่ร่วมกันโดยสันติ </p>\n<p>ก่อตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ที่ร่วมกันวางแนวทางตั้งองค์กรรักษาสันติภาพ คือผู้แทนของประเทศมหาอำนาจ ได้แก่<b> นายวินสตัน เชอร์ชิล</b> นายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และ<b>ประธานาธิบดี ธีโอดอร์ รุสเวลต์</b> แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ร่วมกับประเทศต่างๆ 51 ประเทศ ก่อตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรมของประชากรโลก </p>\n<p><b>กฏบัตรสหประชาชาติ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 </b></p>\n<p><b>วัตถุประสงค์ </b>\n</p>\n<ul>\n 1. ธำรงรักษาไว้ซึ่งความสันติ และความมั่นคงของโลก โดยการใช้มาตรการการร่วมมือกัน<br />\n 2. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยกันคลี่คลายและ แก้ปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน<br />\n 3. เป็นศูนย์กลางพัฒนาความสัมพันธ์อันดี และประสานงานกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้การดำเนินงานได้บรรลุผลตามเป้าหมาย\n</ul>\n<p><b>ประเภทสมาชิก และเงื่อนไขของการเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ </b>คือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ul>\n<li>สมาชิกดั้งเดิม คือประเทศที่ได้ร่วมการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศที่ซานฟรานซิสโก และร่วมกันลงนามในปฏิญญา สหประชาชาติ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2485 </li>\n<li>สมาชิกที่สมัครเข้าภายหลัง ได้แก่ประเทศที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ในกฏบัตรสหประชาชาติ และสมัครเข้าเป็นสมาชิกภายหลัง </li>\n</ul>\n<ul>\n<li>เป็นประเทศที่รักสันติภาพ ยอมปฏิบัติตามข้อตกลงที่สหประชาชาติตั้งไว้ </li>\n<li>ยอมรับฟังความคิดเห็น และคำตัดสินต่างๆของสหประชาชาติ ในกรณีที่เกิดข้อพิพาท หรือข้อขัดแย้ง </li>\n<li>ต้องได้รับคะแนนเสียงจำนวน 2 ใน 3 ของสมัชชาใหญ่ โดยมีคณะมนตรีความมั่นคงประกาศรับสมาชิกใหม่ </li>\n</ul>\n<ul>\n 1. ประเภทสมาชิก มี 2 ประเภทคือ<br />\n   2. เงื่อนไขการเข้าเป็นสมาชิกภาพ สหประชาชาติจะรับประเทศต่างๆ เข้าเป็นสมาชิกโดยพิจารณาจากเงื่อนไขต่อไปนี้\n</ul>\n<p>\n<br />\n<b>สหประชาชาติมีหน่วยงานและองค์กรหลัก 6 องค์กร </b>คือ\n</p>\n<ul>\n 1. สมัชชาใหญ่ (General Assembly) <br />\n 2. คณะมนตรีความมั่นคง (Security council) <br />\n 3. คณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม (Economic and Socialcouncil) <br />\n 4. คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship council) <br />\n 5. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice)<br />\n 6. สำนักงานเลขาธิการ (Secretariat)\n</ul>\n<p><b>องค์กรชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ</b> เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่ส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก โดยประสานงานกับคณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม แห่งสหประชาชาติ <br />\nองค์กรชำนัญพิเศษ ได้แก่\n</p>\n<ul>\n 1. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ และสังคม สำหรับเอเชียและแปซิฟิก (Economic and Social Committee for Asia and the Pacific หรือ ESCAP)<br />\n 2. องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization หรือ WHO)<br />\n 3. องค์การเงินทุนเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nation International Children\'s Emergency Fund หรือ UNICEF)<br />\n 4. องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nation Education Scientific and Cultural Organization หรือ UNESCO)<br />\n 5. องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization หรือ FAO)<br />\n 6. ธนาคารเพื่อการฟื้นฟู บูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (ธนาคารโลก International Bank for Reconstruction and Development หรือ World Bank )<br />\n  \n</ul>\n<p><b>การแก้ปัญหาระหว่างประเทศ ของสหประชาชาติ </b>คือ\n</p>\n<ul>\n<li>สิทธิมนุษยชน (Human Rights) </li>\n<li>การลดอาวุธ และการใช้อาวุธปรมาณู (Disarmament and Atomic Weapon) </li>\n<li>การควบคุมความขัดแย้งระหว่างประเทศ (International Control) </li>\n</ul>\n<p>\n<br />\nสหประชาชาติจะประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการที่เกี่ยวกับสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศก็เฉพาะในกรณีที่มหาอำนาจให้ความร่วมมือ นั่นคือ เมื่อผลประโยชน์ของมหาอำนาจไม่ขัดกัน <br />\n<b>เลขาธิการสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีฐานะเป็นนักการฑูตระดับโลก </b></p>\n<p><b>ประเทศไทย กับสหประชาชาติ</b><br />\nประเทศไทยสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ เป็นอันดับที่ 55 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ให้ความร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ ใน 2 ลักษณะ คือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ul>\n<li>ส่งทหารไปร่วมรบที่ประเทศเกาหลี </li>\n<li>ช่วยอพยพทหารต่างด้าวออกจากพม่า </li>\n<li>ดำเนินการคว่ำบาตร ในกรณีสงครามอ่าวเปอร์เซีย </li>\n<li>ส่งคณะแพทย์ไปให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยที่เกิดจากการสู้รบกรณีสงครามอ่าวเปอร์เซียที่รักษาตัวอยู่ในประเทศซาอุดิอารเบีย </li>\n</ul>\n<ul>\n<li>ให้การสนับสนุนในการจัดตั้งสำนักงานสาขา สมทบทั้งทางด้านการเงิน และบุคลากรเจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆ เช่น เอฟเอโอ ยูนิเซฟ ยูเนสโก ธนาคารโลก องค์การอนามัยโลก แอสแคป เป็นต้น </li>\n<li>เข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่ โดยการส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมประจำปี ทุกครั้ง </li>\n</ul>\n<ul>\n 1. ปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ ในกรณีต่างๆ ดังนี้ 2. การประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศ\n</ul>\n<p><a href=\"http://tc.mengrai.ac.th/users/angkana/sara5_files/p87.htm\"></a></p>\n', created = 1720468280, expire = 1720554680, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:423d1ff5cebefb76c2f9930b1fb378da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

องค์การสหประชาชาติ

 องค์การสหประชาชาติ (United Nations หรือ UN)

สหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่มุ่งเน้นในการช่วยเหลือ มนุษยชาติ และรักษาสันติภาพของโลก เพื่อให้อยู่ร่วมกันโดยสันติ

ก่อตั้งขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ที่ร่วมกันวางแนวทางตั้งองค์กรรักษาสันติภาพ คือผู้แทนของประเทศมหาอำนาจ ได้แก่ นายวินสตัน เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และประธานาธิบดี ธีโอดอร์ รุสเวลต์ แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ร่วมกับประเทศต่างๆ 51 ประเทศ ก่อตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรมของประชากรโลก

กฏบัตรสหประชาชาติ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488

วัตถุประสงค์

    1. ธำรงรักษาไว้ซึ่งความสันติ และความมั่นคงของโลก โดยการใช้มาตรการการร่วมมือกัน
    2. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยกันคลี่คลายและ แก้ปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน
    3. เป็นศูนย์กลางพัฒนาความสัมพันธ์อันดี และประสานงานกันระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อให้การดำเนินงานได้บรรลุผลตามเป้าหมาย

ประเภทสมาชิก และเงื่อนไขของการเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ คือ

 

  • สมาชิกดั้งเดิม คือประเทศที่ได้ร่วมการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศที่ซานฟรานซิสโก และร่วมกันลงนามในปฏิญญา สหประชาชาติ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2485
  • สมาชิกที่สมัครเข้าภายหลัง ได้แก่ประเทศที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ในกฏบัตรสหประชาชาติ และสมัครเข้าเป็นสมาชิกภายหลัง
  • เป็นประเทศที่รักสันติภาพ ยอมปฏิบัติตามข้อตกลงที่สหประชาชาติตั้งไว้
  • ยอมรับฟังความคิดเห็น และคำตัดสินต่างๆของสหประชาชาติ ในกรณีที่เกิดข้อพิพาท หรือข้อขัดแย้ง
  • ต้องได้รับคะแนนเสียงจำนวน 2 ใน 3 ของสมัชชาใหญ่ โดยมีคณะมนตรีความมั่นคงประกาศรับสมาชิกใหม่
    1. ประเภทสมาชิก มี 2 ประเภทคือ
      2. เงื่อนไขการเข้าเป็นสมาชิกภาพ สหประชาชาติจะรับประเทศต่างๆ เข้าเป็นสมาชิกโดยพิจารณาจากเงื่อนไขต่อไปนี้


สหประชาชาติมีหน่วยงานและองค์กรหลัก 6 องค์กร คือ

    1. สมัชชาใหญ่ (General Assembly)
    2. คณะมนตรีความมั่นคง (Security council)
    3. คณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม (Economic and Socialcouncil)
    4. คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship council)
    5. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice)
    6. สำนักงานเลขาธิการ (Secretariat)

องค์กรชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่ส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก โดยประสานงานกับคณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม แห่งสหประชาชาติ
องค์กรชำนัญพิเศษ ได้แก่

    1. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ และสังคม สำหรับเอเชียและแปซิฟิก (Economic and Social Committee for Asia and the Pacific หรือ ESCAP)
    2. องค์การอนามัยโลก ( World Health Organization หรือ WHO)
    3. องค์การเงินทุนเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nation International Children's Emergency Fund หรือ UNICEF)
    4. องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nation Education Scientific and Cultural Organization หรือ UNESCO)
    5. องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization หรือ FAO)
    6. ธนาคารเพื่อการฟื้นฟู บูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (ธนาคารโลก International Bank for Reconstruction and Development หรือ World Bank )
     

การแก้ปัญหาระหว่างประเทศ ของสหประชาชาติ คือ

  • สิทธิมนุษยชน (Human Rights)
  • การลดอาวุธ และการใช้อาวุธปรมาณู (Disarmament and Atomic Weapon)
  • การควบคุมความขัดแย้งระหว่างประเทศ (International Control)


สหประชาชาติจะประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการที่เกี่ยวกับสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศก็เฉพาะในกรณีที่มหาอำนาจให้ความร่วมมือ นั่นคือ เมื่อผลประโยชน์ของมหาอำนาจไม่ขัดกัน
เลขาธิการสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีฐานะเป็นนักการฑูตระดับโลก

ประเทศไทย กับสหประชาชาติ
ประเทศไทยสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ เป็นอันดับที่ 55 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ให้ความร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ ใน 2 ลักษณะ คือ

 

  • ส่งทหารไปร่วมรบที่ประเทศเกาหลี
  • ช่วยอพยพทหารต่างด้าวออกจากพม่า
  • ดำเนินการคว่ำบาตร ในกรณีสงครามอ่าวเปอร์เซีย
  • ส่งคณะแพทย์ไปให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยที่เกิดจากการสู้รบกรณีสงครามอ่าวเปอร์เซียที่รักษาตัวอยู่ในประเทศซาอุดิอารเบีย
  • ให้การสนับสนุนในการจัดตั้งสำนักงานสาขา สมทบทั้งทางด้านการเงิน และบุคลากรเจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆ เช่น เอฟเอโอ ยูนิเซฟ ยูเนสโก ธนาคารโลก องค์การอนามัยโลก แอสแคป เป็นต้น
  • เข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่ โดยการส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมประจำปี ทุกครั้ง
    1. ปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ ในกรณีต่างๆ ดังนี้ 2. การประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศ

สร้างโดย: 
นางสาวภัทรพร บุญสืบมา เลขที่ 5 ม.4/4 นางสาวณัฐกานต์ ธัญญชาติพัวพงษ์ เลขที่ 8 ม.4/4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 367 คน กำลังออนไลน์