• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: DELETE FROM cache_filter WHERE expire != 0 AND expire <= 1720470171 in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 24.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4ba80833f4568a4c5df8e4198c47c47f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>สหภาพยุโรป</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ข้อมูลทั่วไป </strong>\n</p>\n<ul>\n<li>ที่ตั้ง         ประเทศในทวีปยุโรป 27 ประเทศ (ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก  เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน สหราชอาณาจักร ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย  ฮังการี  ลัตเวีย ลิทัวเนีย  มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย สโลวาเกีย โรมาเนียและบัลแกเรีย) </li>\n<li>พื้นที่         3,976,372 ตารางกิโลเมตร </li>\n<li>ประชากร    ประมาณ 456.9 ล้านคน </li>\n<li>ภาษา        ประมาณ 20 ภาษา </li>\n<li>ศาสนา       ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ นอกนั้นนับถือศาสนา ต่าง ๆ เช่น ยิว อิสลาม พุทธ </li>\n<li>ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   กรุงบรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม </li>\n<li>สกุลเงิน       ยูโร ขณะนี้ มีสมาชิกประเทศสหภาพยุโรปเข้าร่วมใน eurozone 13 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี  ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน และล่าสุด คือ สโลวีเนีย   </li>\n<li>อัตราแลกเปลี่ยน                        1 ยูโร =  ประมาณ 49-53 บาท </li>\n<li>ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) 13.31 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ </li>\n<li>อัตราการเจริญเติบโตของ GDP       ร้อยละ 1.7 </li>\n<li>รายได้เฉลี่ยต่อหัว                       28,100 ยูโร / คน </li>\n<li>อัตราการว่างงาน                        ร้อยละ 9.4 </li>\n<li>อัตราเงินเฟ้อ                             ร้อยละ 2.2 </li>\n<li>มูลค่าการนำเข้า                         1.402 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ </li>\n<li>ประเทศคู่นำเข้า                         สหรัฐอเมริกา จีน รัสเซีย ญี่ปุ่น </li>\n<li>สินค้าเข้าสำคัญ                         เครื่องจักร ยานยนต์ เครื่องบิน พลาสติก น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ โลหะ อาหาร เสื้อผ้า </li>\n<li>มูลค่าการส่งออก                        1.318 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ </li>\n<li>ประเทศคู่ส่งออก                        สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ จีน รัสเซีย </li>\n<li>สินค้าออกสำคัญ                        เครื่องจักร ยานยนต์ เครื่องบิน พลาสติก ยาและเวชภัณฑ์ เชื้อเพลิง เหล็กและเหล็กกล้า โลหะ เยื่อไม้และกระดาษ สิ่งทอ </li>\n<li>ระบบการเมือง                           เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเงิน ปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีประเทศสมาชิกหมุนเวียนกันดำรงตำแหน่งประธานสหภาพยุโรปทุก 6 เดือน โดยทำงานร่วมกันกับคณะกรรมาธิการยุโรปและสภายุโรป </li>\n</ul>\n<p>\n<strong>ประธานสหภาพยุโรป (EU Presidency)</strong> แต่ละประเทศสมาชิกจะเวียนเข้ารับตำแหน่งวาระคราวละ 6 เดือน\n</p>\n<ul>\n<li>ในช่วงปี 2549 ได้แก่ ออสเตรีย  : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2549  และ  ฟินแลนด์  : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2549 </li>\n<li>ในช่วงปี 2550 ได้แก่ เยอรมนี    : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2550  และ โปรตุเกส   : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2550 </li>\n<li>ในช่วงปี 2551  ได้แก่ สโลวีเนีย  : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2551  และ ฝรั่งเศส    : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2551 </li>\n<li>ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป              นาย Jose Manuel Barroso (โปรตุเกส) </li>\n<li>ประธานสภายุโรป                            นาย Hans Gert Pottering (เยอรมนี) </li>\n</ul>\n<p>\n<strong>สถานะและความสำคัญของสหภาพยุโรป</strong>\n</p>\n<ul>\n<li>ในภาพรวม สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างกระแสและทิศทางการเมือง ความมั่นคงเศรษฐกิจและสังคมระดับโลก </li>\n<li>ในด้านเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปเป็น 1 ใน 3 ศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก เป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ “Economic Heavyweight” ที่มี GDP ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นตลาดสินค้าและบริการ ตลาดการเงิน และแหล่งที่มาของการลงทุนที่สำคัญที่สุด และเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด รวมทั้งมีบรรษัทข้ามชาติระดับโลกเป็นจำนวนมากที่สุด </li>\n<li>พลังทางเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเป็นผลมาจากการขยายสมาชิกภาพอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาในกรอบสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน การพัฒนานโยบายร่วมในด้านต่างๆ และการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันและการบริหาร </li>\n</ul>\n<p>\n<br />\n<strong>ความเป็นมา</strong>\n</p>\n<ul>\n<li>ค.ศ. 1952 : จัดตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community – ECSC) มีสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และ ลักเซมเบิร์ก และ 25 มี.ค. ค.ศ. 1957 กลุ่มประเทศทั้ง 6 ได้ลงนามสนธิสัญญากรุงโรม (Treaties of Rome) ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป และได้พัฒนามาเป็นสหภาพยุโรปในปัจจุบัน </li>\n<li>ค.ศ. 1958 : จัดตั้งประชาคมพลังงานปรมาณู (European Atomic Energy Community – EURATOM) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community – EEC) </li>\n<li>ค.ศ. 1967 : ทั้งสามองค์กรได้รวมตัวกันภายใต้กรอบ EEC </li>\n<li>ค.ศ. 1968 : EEC ได้พัฒนาเป็นสหภาพศุลกากร (Custom Union) และก้าวสู่การเป็น    ตลาดร่วม (Common Market) </li>\n<li>ค.ศ. 1973 : สหราชอาณาจักร เดนมาร์ก และไอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิก </li>\n<li>ค.ศ. 1981 : กรีซเข้าเป็นสมาชิก </li>\n<li>ค.ศ. 1986 : สเปนและโปรตุเกสเข้าเป็นสมาชิก </li>\n<li>ค.ศ. 1987 : ออก Single European Act เพื่อพัฒนา EEC ให้เป็นตลาดร่วมหรือตลาดเดียว ในวันที่ 1 มกราคม 1993 และเรียกชื่อใหม่ว่า ประชาคมยุโรป (European Community – EC) </li>\n<li>ค.ศ. 1992 : ลงนามในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า สหภาพยุโรป (European Union – EU) มีเสาหลัก 3 ประการ คือ (1) ประชาคมยุโรป (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้านกิจการยุติธรรมและกิจการภายใน </li>\n<li>ค.ศ. 1995 : ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดนเข้าเป็นสมาชิก </li>\n<li>ค.ศ. 1997 : ลงนามในสนธิสัญญาอัมสเตอร์ดัม (Treaty of Amsterdam) แก้ไขเพิ่มเติม สนธิสัญญามาสทริกท์ เรื่องนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง ความเป็นพลเมืองของสหภาพยุโรป และการปฏิรูปกลไกด้านสถาบันของสหภาพยุโรป </li>\n<li>ค.ศ. 2001 : ลงนามในสนธิสัญญานีซ (Treaty of Nice) เน้นการปฏิรูปด้านสถาบันและกลไกต่าง ๆ ของสหภาพยุโรป เพื่อรองรับการขยายสมาชิกภาพ </li>\n<li>1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 : รับสมาชิกเพิ่มอีก 10 ประเทศ ได้แก่ ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลตา  โปแลนด์ สโลวาเกีย และสโลวีเนีย </li>\n<li>29 ตุลาคม ค.ศ. 2004 : ประเทศสมาชิก EU 25 ประเทศ </li>\n<li>ล่าสุด 1 มกราคม ค.ศ.2007 : ประเทศสมาชิก EU 27 ประเทศ (รับเพิ่มอีก 2 ประเทศ ได้แก่ โรมาเนียและบัลแกเรีย) และ </li>\n<li>25 มีนาคม ค.ศ.2007 ได้ครบรอบ 50 ปี ของการลงนามในสนธิสัญญากรุงโรม </li>\n</ul>\n<p>\n<strong>เสาหลัก 3 ประการ ตามที่ระบุไว้ในสนธิสัญญามาสทริชท์</strong>\n</p>\n<ul>\n<li>เสาหลักที่หนึ่ง : ประชาคมยุโรป (the European Communities) ประกอบด้วย <br />\n   1.) การเป็นตลาดเดียว (Single Market) ที่มีการเคลื่อนที่อย่างเสรีของปัจจัย 4 ประการ (free movement) คือ <br />\n        (1) บุคคล <br />\n        (2) สินค้า <br />\n        (3) การบริการ <br />\n        (4) ทุน<br />\n   2.) การมีนโยบายร่วม (Common Policies) ในด้านการค้า การเกษตร (CAP) พลังงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และสังคม เป็นต้น<br />\n   3.) สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (Economic and Monetary Union) มีธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank) และมีการใช้เงินสกุลเดียว (Single Currency) คือเงินยูโร อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2545 </li>\n<li>เสาหลักที่สอง : นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง (Common Foreign and Security Policy – CFSP) </li>\n<li>เสาหลักที่สาม : ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (Cooperation in Justice and Home Affairs) เช่น การตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด ตำรวจยุโรป (Europol) และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน </li>\n</ul>\n<li>\n<p>\nสถาบันหลักของสหภาพยุโรป<br />\nคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (the Council of the European Union) <br />\n• เป็นสถาบันที่มีอำนาจในการตัดสินใจหลักและทำงานด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภายุโรป ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกที่มาประชุมเพื่อแสดงจุดยืนและประนีประนอมทางด้านผลประโยชน์ระหว่างกัน ผู้แทนเหล่านี้จะพบกันเป็นประจำทั้งในระดับคณะทำงาน เอกอัครราชทูต และรัฐมนตรี ในกรณีที่มีการตัดสินใจเกี่ยวกับแนวนโยบายสำคัญ ๆ การประชุมจะทำในระดับผู้นำประเทศเรียกว่า การประชุมคณะมนตรียุโรปหรือที่ประชุมสุดยอดยุโรป (European Council) <br />\n• หน้าที่หลักของคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีดังนี้<br />\n1. ทำงานร่วมกับสภายุโรปในการบัญญัติกฎหมาย<br />\n2. ประสานแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก<br />\n3. บรรลุความตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ ระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศหรือ                     <br />\nองค์กรระหว่างประเทศ<br />\n4. ใช้อำนาจร่วมกับสภายุโรปในการอนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป<br />\n5. พัฒนานโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง  <br />\n6. ประสานความร่วมมือระหว่างตำรวจและศาลยุติธรรมในการปราบปรามอาชญากรรม\n</p>\n<p>\nคณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission - EC) <br />\n• เป็นผู้รับผิดชอบงานประจำส่วนใหญ่ของสหภาพยุโรป ทั้งยังร่างข้อเสนอกฎหมายใหม่ ๆ เพื่อให้สภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปให้ความเห็นชอบ นอกจากนี้ ยังคอยควบคุมให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงต่าง ๆ อย่างเหมาะสม รวมทั้งการใช้งบประมาณของสหภาพยุโรป และคอยสอดส่องให้มีการปฏิบัติตามสนธิสัญญาและกฎหมายของสหภาพยุโรป ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการยุโรปจะทำงานอย่างเป็นอิสระจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก โดยมีสำนักงานอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม<br />\n• คณะกรรมาธิการยุโรปประกอบด้วยประธานและกรรมาธิการยุโรป รวม 25 คน โดยประธานคณะกรรมาธิการยุโรปได้รับการคัดเลือกจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก และได้รับการอนุมัติเห็นชอบโดยสภายุโรป ส่วนกรรมาธิการยุโรปคนอื่น ๆ ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลประเทศสมาชิกหลังจากที่ได้มีการหารือกับผู้ที่จะมาเป็นประธาน ซึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากสภายุโรปเช่นกัน  คณะกรรมาธิการยุโรปมีวาระการทำงาน 5 ปี แต่สามารถถูกถอดถอนได้โดยสภายุโรป <br />\n• ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 2547 ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป คือ นาย Jose Barroso<br />\n• หน้าที่หลักของคณะกรรมาธิการยุโรป มีดังนี้<br />\n  1.มีสิทธิในการริเริ่มร่างกฎหมายและส่งผ่านร่างกฎหมายไปยังสภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป<br />\n  2.ในฐานะที่เป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป โดยมีหน้าที่ในการนำกฎหมาย การจัดสรรงบประมาณ และนโยบายที่ออกโดยสภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปไปปฏิบัติ<br />\n  3.ทำหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาสนธิสัญญาต่างๆ และทำงานร่วมกับศาลยุติธรรมยุโรป ในการดูแลให้กฎหมายถูกนำไปใช้อย่างเหมาะสม<br />\n  4.เป็นตัวแทนของสหภาพยุโรปในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ และทำหน้าที่ในการเจรจาต่อรองข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการเจรจาในเรื่องการค้าและการร่วมมือระหว่างกัน\n</p>\n<p>\nสภายุโรป (European Parliament) <br />\n• เป็นเสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยู่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ทั้งนี้ ประธานสภายุโรปคนปัจจุบันคือ นาย Hans Gert Pottering (เยอรมนี)\n</p>\n<p>\n• สภายุโรปมีคณะกรรมาธิการสภาดูแลเฉพาะเรื่องต่าง ๆ เช่น กิจการระหว่างประเทศ งบประมาณ สิ่งแวดล้อม และอื่น ๆ <br />\n• หน้าที่หลักของสภายุโรป มีดังนี้<br />\n1. ตรวจสอบและบัญญัติกฎหมายของสหภาพยุโรป โดยส่วนใหญ่จะใช้อำนาจร่วมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป<br />\n2. อนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป<br />\n3. ตรวจสอบการทำงานของสถาบันต่าง ๆ ในสหภาพยุโรปตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อทำการไต่สวน<br />\n4. ให้ความเห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ เช่น การรับสมาชิกใหม่ และความตกลงด้านการค้าหรือการมีความสัมพันธ์ในเชิงการรวมกลุ่มระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศที่สาม\n</p>\n<p>\nการจัดทำธรรมนูญยุโรปและการเปลี่ยนรูปแบบมาสู่การจัดทำ New EU Treaty<br />\n• เมื่อวันที่ 29 ต.ค. 2547 ผู้นำประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป 25 ประเทศ ได้ลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยธรรมนูญยุโรป (Treaty Establishing a Constitution for Europe) ณ กรุงโรม โดยธรรมนูญดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศสมาชิกทั้ง 25 ประเทศ ให้สัตยาบันรับรอง โดยผ่านขั้นตอนของรัฐสภาหรือจัดให้มีการลงประชามติ ภายใน 2 ปี นับจากวันลงนามฯ (ปี 2549)<br />\n• จนถึงเดือน ก.พ. 2549 มีประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปให้สัตยาบันรับรองธรรมนูญยุโรปแล้ว 13 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย ไซปรัส เยอรมนี กรีซ ฮังการี อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา       สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน ส่วนประเทศสมาชิกที่คัดค้านธรรมนูญยุโรป (ด้วยการลงประชามติ) มี 2 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์\n</p>\n<p>\n• ธรรมนูญฯ ดังกล่าวมีความสำคัญเนื่องจากจะช่วยพัฒนาสหภาพยุโรปให้มีความโปร่งใสและเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น เช่น เปลี่ยนกระบวนการตัดสินใจจากระบบ qualified majority  เป็นระบบ double majority ซึ่งมติที่ผ่านจะต้องมาจากคะแนนเสียงร้อยละ 55 ของประเทศสมาชิก และร้อยละ 65 ของจำนวนประชากร เปลี่ยนระยะเวลาหมุนเวียนตำแหน่งประธานสหภาพยุโรปทุก 2 ปีครึ่ง แทนการหมุนเวียนทุก 6 เดือนอย่างเช่นในปัจจุบัน อีกทั้งส่งเสริมให้สถาบันต่าง ๆ ทั้งคณะกรรมาธิการยุโรป สภายุโรป และคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีบทบาทและความสำคัญเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ จะมีการแต่งตั้งตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นอีก 1 ตำแหน่งทำให้สหภาพยุโรปมีนโยบายต่างประเทศที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น                         •ล่าสุด จากการประชุมผู้นำประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปที่กรุงบรัสเซลส์ เดือนมิถุนายน 2550 ผู้นำเห็นพ้องให้มีการเปลี่ยนการจัดทำธรรมนูญยุโรปมาเป็นการจัดทำในรูปแบบสนธิสัญญาแทน (New EU Treaty) เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะชะงักงันของประเทศสมาชิก EU ในการในสัตยาบันรับรองธรรรมนูญยุโรป ซึ่งโปรตุเกสในฐานะประธานสหภาพยุโรป (EU Presidency) ในช่วงเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2550 ได้ให้ความสำคัญแก่การยกร่างสนธิสัญญาฯ ใหม่ให้แล้วเสร็จ เพื่อให้สมาชิก 27 ประเทศพิจารณาต่อไป\n</p>\n<p>\nการขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปในอนาคต (Enlargement)\n</p>\n<p>\n• EU กำลังพิจารณารับสมาชิกใหม่เพิ่มเติมจากประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก ดังนี้\n</p>\n<p>\n1. ประเทศที่อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาเข้าเป็นสมาชิก<br />\n   ตุรกี : ตุรกีเป็นสมาชิกสมทบของ EEC ตั้งแต่ปี 2506 และสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เมื่อปี 2520 (ค.ศ. 1977) ทั้งนี้ สหภาพยุโรปเพิ่งเปิดการเจรจากับตุรกี เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2548 โดยการเจรจาดังกล่าวเป็นแบบ open-ended process และหากเจรจาสำเร็จ กระบวนการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปของตุรกีอาจใช้เวลาถึง 10 ปี<br />\n   โครเอเชีย : เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2548 สหภาพยุโรปเปิดการเจรจารับโครเอเชียเข้าเป็นสมาชิก เนื่องจากพอใจที่โครเอเชียให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีกับศาลอาญาระหว่างประเทศในอดีตยูโกสลาเวีย (International Criminal Tribunal for the Former Yugoslavia – ICTY) ขององค์การสหประชาชาติ ทั้งนี้ คาดว่ากระบวนการพิจารณาระบบบริหารและนิติบัญญัติของโครเอเชียเพื่อนำไปสู่การบูรณาการเข้ากับระบบของสหภาพยุโรป จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี<br />\n   มาซิโดเนีย : เมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2548 ที่ประชุมคณะมนตรียุโรปมีมติให้สถานะประเทศผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป (candidate country status) แก่มาซิโดเนีย ทั้งนี้คณะกรรมธิการยุโรปยังต้องประเมินสถาการณ์อีกครั้งว่า มาซิโดเนียมีพัฒนาการและปฏิบัติสอดคล้องกับเงื่อนไขต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปหรือไม่ ก่อนที่จะมีการพิจารณาเรื่องการเปิดการเจรจาเพื่อเข้าเป็นสมาชิกต่อไป\n</p>\n<p>\n2. ประเทศที่กำลังจะสมัครเข้าเป็นสมาชิกในอนาคต<br />\n   เซอร์เบีย และมอนเตนีโกร : เมื่อวันที่ 12 เม.ย. 2548 คณะกรรมาธิการยุโรปได้เสนอแนะให้ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปเริ่มการเจรจาจัดทำความตกลง Stabilization and Association Agreement (SAA)  กับเซอร์เบีย และมอนเตนีโกร ซึ่งถือเป็นก้าวแรกของการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม สหภาพยุโรปยังต้องการความร่วมมือจากรัฐบาลเซอร์เบียฯ ในการจับกุมและส่งมอบอาชญากรรมสงครามจากสงครามกลางเมืองในอดีตยูโกสลาเวียแก่ ICTY ซึ่งอาจเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเจรจาขยายสมาชิกภาพของเซอร์เบีย<br />\n   บอสเนีย : เมื่อเดือน ม.ค. 2549 สหภาพภาพยุโรปกับบอสเนียได้เริ่มเจรจาอย่าง  เป็นทางการเพื่อจัดทำ SAA ซึ่งนับเป็นความร่วมมือในขั้นแรกที่อาจนำไปสู่การเจรจาเข้าเป็นสมาชิกต่อไปหากบอสเนียสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปได้ <br />\n   แอลเบเนีย : สหภาพยุโรปเริ่มการเจรจาจัดทำข้อตกลง SAA กับแอลเบเนียตั้งแต่ปี 2546 และคาดว่าน่าจะสามารถบรรลุ        ข้อตกลงได้ในเร็วๆ นี้\n</p>\n<p>\nวาระงานที่สำคัญของประธานสหภาพยุโรป (EU Preidency)\n</p>\n<p>\nเยอรมนี ในฐานะประธานสหภาพยุโรป (วาระ 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม – มิถุนายน 2550  สืบต่อจากฟินแลนด์) ซึ่งเป็น    การดำรงตำแหน่งครั้งที่ 12 ของเยอรมนี (ดำรงตำแหน่งครั้งแรก เมื่อปี 2501) มีนโยบายหลักเพื่อสร้างความเข้มแข็งและ        เพิ่มศักยภาพให้สหภาพยุโรป ดังนี้ <br />\n1.  อนาคตของสหภาพยุโรป ซึ่งมีประเด็นสำคัญๆ ได้แก่\n</p>\n<p>\n-การเสริมสร้างความมั่นใจให้พลเมืองยุโรปทั้งต่อสถาบันและต่อผลงานของสหภาพยุโรป โดยเน้นสร้างความโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ปรับปรุงกฎระเบียบ และสำคัญที่สุด คือ  ทำให้งานของสหภาพยุโรปเกิดผลประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมแก่ประชาชน  โดยเห็นว่าความอดทนอดกลั้น จะเป็นหลักการพื้นฐานที่ยั่งยืนของสหภาพยุโรปที่นำมาซึ่งสันติภาพในยุโรป          และเป็นปัจจัยสำคัญต่อพัฒนาการทางสังคมประชากร และการขยายสมาชิกภาพยุโรปในอนาคต \n</p>\n<p>\n-ธรรมนูญยุโรป ที่ประชุมคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปเห็นพ้องให้ขยายกรอบระยะเวลาให้มีความยืดหยุ่นเพื่อพิจารณาเรื่องธรรมนูญฯ ต่อไปอีกระยะหนึ่ง\n</p>\n<p>\n-การขยายสมาชิกภาพ  มีพัฒนาการที่สำคัญ คือ การเจรจากับโครเอเชีย และตุรกีในการเข้าเป็นสมาชิก ตลอดจนการรายงานให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถของสหภาพยุโรปในการรับสมาชิกใหม่ในอนาคต\n</p>\n<p>\n2. การพัฒนานโยบายเศรษฐกิจและสังคมของสหภาพยุโรป เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการเพื่อลดภาระที่เกิดจากกฎระเบียบต่างๆ นอกจากนี้  ยังผลักดันให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามยุทธศาสตร์วาระลิสบอน (Lisbon Agenda) ซึ่งเป็นแผนงานที่เน้นการเพิ่มขีดความสามารถในด้านการแข่งขัน เพื่อเร่งรัดให้เกิดตลาดภายในอย่างสมบูรณ์ มีนโยบายด้านพลังงานที่มีประสิทธิภาพ และให้ความสำคัญกับการค้นคว้าพัฒนา และการสร้างนวัตกรรม เป็นต้น\n</p>\n<p>\n3. ตอบสนองภารกิจด้านการต่างประเทศและความมั่นคง สนับสนุนเสถียรภาพในภูมิภาคบอลข่านตะวันตก (อดีตยูโกสลาเวียและแอลเบเนีย) ในฐานะว่าที่สมาชิกใหม่ สนับสนุนภารกิจในกระบวนการสันติภาพในตะวันออกกลาง ยกระดับความสัมพันธ์และความร่วมมือกับรัสเซีย โดยเฉพาะด้านพลังงานและการจัดทำความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือ (PCA)   และเพิ่มความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกาและแอฟริกา \n</p>\n<p>\n4. ประสานงานด้านเสรีภาพ ความยุติธรรม และความมั่นคง โดยเห็นว่า เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวประชาชนชาวยุโรปและสำคัญต่อการเมืองภายในของประเทศสมาชิก เช่น  การประสานงานระหว่างตำรวจในแต่ละประเทศ การปราบปรามอาชญากรรม และการตรวจ คนเข้าเมือง เป็นต้น\n</p>\n<p>\n5. ผลักดันให้สหภาพยุโรปมีนโยบายร่วมในด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ภายใต้เยอรมนีในฐานะประธานสหภาพยุโรปได้เน้นการหารือถึงการวางนโยบายด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของ EU โดยเฉพาะมาตรการและนโยบายพลังงานเพื่อให้รักษาสิ่งแวดล้อมและบรรเทาภาวะโลกร้อนในระยะยาว (Energy &amp; Climate Change Package) และประเด็นเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน( energy security) \n</p>\n<p>\nโปรตุเกส ในฐานะประธานสหภาพยุโรปปัจจุบัน (วาระ 6 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2550) โดยเป็นการดำรงตำแหน่งประธานสหภาพยุโรป ครั้งที่ 3 ของโปรตุเกส (ครั้งแรก เมื่อปี 2535) นับตั้งแต่การจัดตั้งสหภาพยุโรป เมื่อปี 2501         มีวาระงานที่โปรตุเกสจะผลักดันในประเด็นสำคัญๆ ดังนี้ \n</p>\n<p>\n1. การเร่งรัดจัดทำ New EU Treaty ให้แล้วเสร็จ โปรตุเกสจะจัดประชุม inter-governmental conference ในช่วงเป็นประธานสหภาพยุโรปเพื่อวิเคราะห์ถึงรูปแบบสนธิสัญญาใหม่ของ EU ในแง่มุมต่างๆ ซึ่งคาดว่า สนธิสัญญาดังกล่าวจะได้รับการตอบสนองที่ดีในการประชุมผู้นำ EU ในเดือน ต.ค. 2550\n</p>\n<p>\n2.  การกระชับความสัมพันธ์กับภูมิภาคแอฟริกาให้ใกล้ชิดมากขึ้น นาย Jose Socrates นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส ตระหนักว่า ในห้วงเวลาที่ผ่านมา สหภาพยุโรปได้สูญเสียโอกาสไปมากที่ไม่สามารถจัดให้มีการหารือในลักษณะประจำและระหว่างองค์กรกับภูมิภาคแอฟริกา ดังนั้น เพื่อที่จะเสริมสร้างความสัมพันธ์กับภูมิภาคแอฟริกา โปรตุเกสเตรียมที่จะจัด  EU-Africa Summit ใน 8-9          ธ.ค.2550       \n</p>\n<p>\n3.  การผลักดันยุทธศาสตร์สำคัญๆ ของ EU  โปรตุเกสจะผลักดันนโยบายที่เป็นยุทธศาสตร์สำคัญๆ  (Lisbon Agenda)  เช่น การจ้างงาน การเสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจและการแข่งขัน การจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรี พลังงานและปัญหาการขาดแคลนน้ำ นโยบายกิจการทางทะเลและเกษตรร่วม รวมทั้งประเด็นเรื่องการลงโทษประหารชีวิต และการเข้าเมืองผิดกฎหมาย\n</p>\n<p>\n4.  การแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศของโลก โปรตุเกสและคณะกรรมาธิการยุโรปพยามผลักดันให้มีการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศเพื่อสืบแทนพิธีสารเกียวโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวทีการประชุม UN International Climate Conference ในช่วงปี 2550 และเสนอให้ประเทศที่พัฒนาแล้วตั้งเป้าหมายที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 30 ภายในปี 2563 และ  ในระยะยาว ให้ลดได้ถึงร้อยละ 60-80  ภายในปี 2593\n</p>\n</li>\n', created = 1720470472, expire = 1720556872, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4ba80833f4568a4c5df8e4198c47c47f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สหภาพยุโรป

รูปภาพของ thepthida_023

สหภาพยุโรป

ข้อมูลทั่วไป

  • ที่ตั้ง         ประเทศในทวีปยุโรป 27 ประเทศ (ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก  เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน สหราชอาณาจักร ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย  ฮังการี  ลัตเวีย ลิทัวเนีย  มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย สโลวาเกีย โรมาเนียและบัลแกเรีย)
  • พื้นที่         3,976,372 ตารางกิโลเมตร
  • ประชากร    ประมาณ 456.9 ล้านคน
  • ภาษา        ประมาณ 20 ภาษา
  • ศาสนา       ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ นอกนั้นนับถือศาสนา ต่าง ๆ เช่น ยิว อิสลาม พุทธ
  • ที่ตั้งสำนักงานใหญ่   กรุงบรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม
  • สกุลเงิน       ยูโร ขณะนี้ มีสมาชิกประเทศสหภาพยุโรปเข้าร่วมใน eurozone 13 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี  ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน และล่าสุด คือ สโลวีเนีย  
  • อัตราแลกเปลี่ยน                        1 ยูโร =  ประมาณ 49-53 บาท
  • ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) 13.31 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
  • อัตราการเจริญเติบโตของ GDP       ร้อยละ 1.7
  • รายได้เฉลี่ยต่อหัว                       28,100 ยูโร / คน
  • อัตราการว่างงาน                        ร้อยละ 9.4
  • อัตราเงินเฟ้อ                             ร้อยละ 2.2
  • มูลค่าการนำเข้า                         1.402 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
  • ประเทศคู่นำเข้า                         สหรัฐอเมริกา จีน รัสเซีย ญี่ปุ่น
  • สินค้าเข้าสำคัญ                         เครื่องจักร ยานยนต์ เครื่องบิน พลาสติก น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ โลหะ อาหาร เสื้อผ้า
  • มูลค่าการส่งออก                        1.318 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
  • ประเทศคู่ส่งออก                        สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ จีน รัสเซีย
  • สินค้าออกสำคัญ                        เครื่องจักร ยานยนต์ เครื่องบิน พลาสติก ยาและเวชภัณฑ์ เชื้อเพลิง เหล็กและเหล็กกล้า โลหะ เยื่อไม้และกระดาษ สิ่งทอ
  • ระบบการเมือง                           เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเงิน ปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีประเทศสมาชิกหมุนเวียนกันดำรงตำแหน่งประธานสหภาพยุโรปทุก 6 เดือน โดยทำงานร่วมกันกับคณะกรรมาธิการยุโรปและสภายุโรป

ประธานสหภาพยุโรป (EU Presidency) แต่ละประเทศสมาชิกจะเวียนเข้ารับตำแหน่งวาระคราวละ 6 เดือน

  • ในช่วงปี 2549 ได้แก่ ออสเตรีย  : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2549  และ  ฟินแลนด์  : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2549
  • ในช่วงปี 2550 ได้แก่ เยอรมนี    : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2550  และ โปรตุเกส   : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2550
  • ในช่วงปี 2551  ได้แก่ สโลวีเนีย  : 1 ม.ค.-30 มิ.ย. 2551  และ ฝรั่งเศส    : 1 ก.ค.- 31 ธ.ค. 2551
  • ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป              นาย Jose Manuel Barroso (โปรตุเกส)
  • ประธานสภายุโรป                            นาย Hans Gert Pottering (เยอรมนี)

สถานะและความสำคัญของสหภาพยุโรป

  • ในภาพรวม สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างกระแสและทิศทางการเมือง ความมั่นคงเศรษฐกิจและสังคมระดับโลก
  • ในด้านเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปเป็น 1 ใน 3 ศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก เป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ “Economic Heavyweight” ที่มี GDP ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นตลาดสินค้าและบริการ ตลาดการเงิน และแหล่งที่มาของการลงทุนที่สำคัญที่สุด และเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด รวมทั้งมีบรรษัทข้ามชาติระดับโลกเป็นจำนวนมากที่สุด
  • พลังทางเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเป็นผลมาจากการขยายสมาชิกภาพอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาในกรอบสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน การพัฒนานโยบายร่วมในด้านต่างๆ และการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันและการบริหาร


ความเป็นมา

  • ค.ศ. 1952 : จัดตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community – ECSC) มีสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และ ลักเซมเบิร์ก และ 25 มี.ค. ค.ศ. 1957 กลุ่มประเทศทั้ง 6 ได้ลงนามสนธิสัญญากรุงโรม (Treaties of Rome) ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป และได้พัฒนามาเป็นสหภาพยุโรปในปัจจุบัน
  • ค.ศ. 1958 : จัดตั้งประชาคมพลังงานปรมาณู (European Atomic Energy Community – EURATOM) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community – EEC)
  • ค.ศ. 1967 : ทั้งสามองค์กรได้รวมตัวกันภายใต้กรอบ EEC
  • ค.ศ. 1968 : EEC ได้พัฒนาเป็นสหภาพศุลกากร (Custom Union) และก้าวสู่การเป็น    ตลาดร่วม (Common Market)
  • ค.ศ. 1973 : สหราชอาณาจักร เดนมาร์ก และไอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิก
  • ค.ศ. 1981 : กรีซเข้าเป็นสมาชิก
  • ค.ศ. 1986 : สเปนและโปรตุเกสเข้าเป็นสมาชิก
  • ค.ศ. 1987 : ออก Single European Act เพื่อพัฒนา EEC ให้เป็นตลาดร่วมหรือตลาดเดียว ในวันที่ 1 มกราคม 1993 และเรียกชื่อใหม่ว่า ประชาคมยุโรป (European Community – EC)
  • ค.ศ. 1992 : ลงนามในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า สหภาพยุโรป (European Union – EU) มีเสาหลัก 3 ประการ คือ (1) ประชาคมยุโรป (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้านกิจการยุติธรรมและกิจการภายใน
  • ค.ศ. 1995 : ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดนเข้าเป็นสมาชิก
  • ค.ศ. 1997 : ลงนามในสนธิสัญญาอัมสเตอร์ดัม (Treaty of Amsterdam) แก้ไขเพิ่มเติม สนธิสัญญามาสทริกท์ เรื่องนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง ความเป็นพลเมืองของสหภาพยุโรป และการปฏิรูปกลไกด้านสถาบันของสหภาพยุโรป
  • ค.ศ. 2001 : ลงนามในสนธิสัญญานีซ (Treaty of Nice) เน้นการปฏิรูปด้านสถาบันและกลไกต่าง ๆ ของสหภาพยุโรป เพื่อรองรับการขยายสมาชิกภาพ
  • 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 : รับสมาชิกเพิ่มอีก 10 ประเทศ ได้แก่ ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลตา  โปแลนด์ สโลวาเกีย และสโลวีเนีย
  • 29 ตุลาคม ค.ศ. 2004 : ประเทศสมาชิก EU 25 ประเทศ
  • ล่าสุด 1 มกราคม ค.ศ.2007 : ประเทศสมาชิก EU 27 ประเทศ (รับเพิ่มอีก 2 ประเทศ ได้แก่ โรมาเนียและบัลแกเรีย) และ
  • 25 มีนาคม ค.ศ.2007 ได้ครบรอบ 50 ปี ของการลงนามในสนธิสัญญากรุงโรม

เสาหลัก 3 ประการ ตามที่ระบุไว้ในสนธิสัญญามาสทริชท์

  • เสาหลักที่หนึ่ง : ประชาคมยุโรป (the European Communities) ประกอบด้วย
      1.) การเป็นตลาดเดียว (Single Market) ที่มีการเคลื่อนที่อย่างเสรีของปัจจัย 4 ประการ (free movement) คือ
           (1) บุคคล
           (2) สินค้า
           (3) การบริการ
           (4) ทุน
      2.) การมีนโยบายร่วม (Common Policies) ในด้านการค้า การเกษตร (CAP) พลังงาน สิ่งแวดล้อม ประมง และสังคม เป็นต้น
      3.) สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (Economic and Monetary Union) มีธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank) และมีการใช้เงินสกุลเดียว (Single Currency) คือเงินยูโร อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2545
  • เสาหลักที่สอง : นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง (Common Foreign and Security Policy – CFSP)
  • เสาหลักที่สาม : ความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมและกิจการภายใน (Cooperation in Justice and Home Affairs) เช่น การตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด ตำรวจยุโรป (Europol) และการดำเนินการร่วมด้านความมั่นคงภายใน
  • สถาบันหลักของสหภาพยุโรป
    คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (the Council of the European Union)
    • เป็นสถาบันที่มีอำนาจในการตัดสินใจหลักและทำงานด้านนิติบัญญัติร่วมกับสภายุโรป ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกที่มาประชุมเพื่อแสดงจุดยืนและประนีประนอมทางด้านผลประโยชน์ระหว่างกัน ผู้แทนเหล่านี้จะพบกันเป็นประจำทั้งในระดับคณะทำงาน เอกอัครราชทูต และรัฐมนตรี ในกรณีที่มีการตัดสินใจเกี่ยวกับแนวนโยบายสำคัญ ๆ การประชุมจะทำในระดับผู้นำประเทศเรียกว่า การประชุมคณะมนตรียุโรปหรือที่ประชุมสุดยอดยุโรป (European Council)
    • หน้าที่หลักของคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีดังนี้
    1. ทำงานร่วมกับสภายุโรปในการบัญญัติกฎหมาย
    2. ประสานแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
    3. บรรลุความตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ ระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศหรือ                    
    องค์กรระหว่างประเทศ
    4. ใช้อำนาจร่วมกับสภายุโรปในการอนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป
    5. พัฒนานโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง 
    6. ประสานความร่วมมือระหว่างตำรวจและศาลยุติธรรมในการปราบปรามอาชญากรรม

    คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission - EC)
    • เป็นผู้รับผิดชอบงานประจำส่วนใหญ่ของสหภาพยุโรป ทั้งยังร่างข้อเสนอกฎหมายใหม่ ๆ เพื่อให้สภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปให้ความเห็นชอบ นอกจากนี้ ยังคอยควบคุมให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงต่าง ๆ อย่างเหมาะสม รวมทั้งการใช้งบประมาณของสหภาพยุโรป และคอยสอดส่องให้มีการปฏิบัติตามสนธิสัญญาและกฎหมายของสหภาพยุโรป ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการยุโรปจะทำงานอย่างเป็นอิสระจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก โดยมีสำนักงานอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
    • คณะกรรมาธิการยุโรปประกอบด้วยประธานและกรรมาธิการยุโรป รวม 25 คน โดยประธานคณะกรรมาธิการยุโรปได้รับการคัดเลือกจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก และได้รับการอนุมัติเห็นชอบโดยสภายุโรป ส่วนกรรมาธิการยุโรปคนอื่น ๆ ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลประเทศสมาชิกหลังจากที่ได้มีการหารือกับผู้ที่จะมาเป็นประธาน ซึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากสภายุโรปเช่นกัน  คณะกรรมาธิการยุโรปมีวาระการทำงาน 5 ปี แต่สามารถถูกถอดถอนได้โดยสภายุโรป
    • ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 2547 ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป คือ นาย Jose Barroso
    • หน้าที่หลักของคณะกรรมาธิการยุโรป มีดังนี้
      1.มีสิทธิในการริเริ่มร่างกฎหมายและส่งผ่านร่างกฎหมายไปยังสภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป
      2.ในฐานะที่เป็นฝ่ายบริหารของสหภาพยุโรป โดยมีหน้าที่ในการนำกฎหมาย การจัดสรรงบประมาณ และนโยบายที่ออกโดยสภายุโรปและคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปไปปฏิบัติ
      3.ทำหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาสนธิสัญญาต่างๆ และทำงานร่วมกับศาลยุติธรรมยุโรป ในการดูแลให้กฎหมายถูกนำไปใช้อย่างเหมาะสม
      4.เป็นตัวแทนของสหภาพยุโรปในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ และทำหน้าที่ในการเจรจาต่อรองข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการเจรจาในเรื่องการค้าและการร่วมมือระหว่างกัน

    สภายุโรป (European Parliament)
    • เป็นเสียงแห่งประชาธิปไตยของประชาชนยุโรป สมาชิกสภายุโรปจำนวน 731 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปี โดยสมาชิกสภายุโรปเหล่านี้มิได้แบ่งตามประเทศ แต่สังกัดอยู่กับพรรคการเมืองในระดับยุโรปที่มีแนวคิดทางการเมืองสอดคล้องกับพรรคการเมืองในระดับประเทศที่ตนสังกัดมากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีสมาชิกสภายุโรปบางส่วนที่ไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ทั้งนี้ ประธานสภายุโรปคนปัจจุบันคือ นาย Hans Gert Pottering (เยอรมนี)

    • สภายุโรปมีคณะกรรมาธิการสภาดูแลเฉพาะเรื่องต่าง ๆ เช่น กิจการระหว่างประเทศ งบประมาณ สิ่งแวดล้อม และอื่น ๆ
    • หน้าที่หลักของสภายุโรป มีดังนี้
    1. ตรวจสอบและบัญญัติกฎหมายของสหภาพยุโรป โดยส่วนใหญ่จะใช้อำนาจร่วมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป
    2. อนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป
    3. ตรวจสอบการทำงานของสถาบันต่าง ๆ ในสหภาพยุโรปตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อทำการไต่สวน
    4. ให้ความเห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ เช่น การรับสมาชิกใหม่ และความตกลงด้านการค้าหรือการมีความสัมพันธ์ในเชิงการรวมกลุ่มระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศที่สาม

    การจัดทำธรรมนูญยุโรปและการเปลี่ยนรูปแบบมาสู่การจัดทำ New EU Treaty
    • เมื่อวันที่ 29 ต.ค. 2547 ผู้นำประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป 25 ประเทศ ได้ลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยธรรมนูญยุโรป (Treaty Establishing a Constitution for Europe) ณ กรุงโรม โดยธรรมนูญดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศสมาชิกทั้ง 25 ประเทศ ให้สัตยาบันรับรอง โดยผ่านขั้นตอนของรัฐสภาหรือจัดให้มีการลงประชามติ ภายใน 2 ปี นับจากวันลงนามฯ (ปี 2549)
    • จนถึงเดือน ก.พ. 2549 มีประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปให้สัตยาบันรับรองธรรมนูญยุโรปแล้ว 13 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย ไซปรัส เยอรมนี กรีซ ฮังการี อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา       สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน ส่วนประเทศสมาชิกที่คัดค้านธรรมนูญยุโรป (ด้วยการลงประชามติ) มี 2 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์

    • ธรรมนูญฯ ดังกล่าวมีความสำคัญเนื่องจากจะช่วยพัฒนาสหภาพยุโรปให้มีความโปร่งใสและเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น เช่น เปลี่ยนกระบวนการตัดสินใจจากระบบ qualified majority  เป็นระบบ double majority ซึ่งมติที่ผ่านจะต้องมาจากคะแนนเสียงร้อยละ 55 ของประเทศสมาชิก และร้อยละ 65 ของจำนวนประชากร เปลี่ยนระยะเวลาหมุนเวียนตำแหน่งประธานสหภาพยุโรปทุก 2 ปีครึ่ง แทนการหมุนเวียนทุก 6 เดือนอย่างเช่นในปัจจุบัน อีกทั้งส่งเสริมให้สถาบันต่าง ๆ ทั้งคณะกรรมาธิการยุโรป สภายุโรป และคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีบทบาทและความสำคัญเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ จะมีการแต่งตั้งตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นอีก 1 ตำแหน่งทำให้สหภาพยุโรปมีนโยบายต่างประเทศที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น                         •ล่าสุด จากการประชุมผู้นำประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปที่กรุงบรัสเซลส์ เดือนมิถุนายน 2550 ผู้นำเห็นพ้องให้มีการเปลี่ยนการจัดทำธรรมนูญยุโรปมาเป็นการจัดทำในรูปแบบสนธิสัญญาแทน (New EU Treaty) เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะชะงักงันของประเทศสมาชิก EU ในการในสัตยาบันรับรองธรรรมนูญยุโรป ซึ่งโปรตุเกสในฐานะประธานสหภาพยุโรป (EU Presidency) ในช่วงเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2550 ได้ให้ความสำคัญแก่การยกร่างสนธิสัญญาฯ ใหม่ให้แล้วเสร็จ เพื่อให้สมาชิก 27 ประเทศพิจารณาต่อไป

    การขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปในอนาคต (Enlargement)

    • EU กำลังพิจารณารับสมาชิกใหม่เพิ่มเติมจากประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่านตะวันตก ดังนี้

    1. ประเทศที่อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาเข้าเป็นสมาชิก
       ตุรกี : ตุรกีเป็นสมาชิกสมทบของ EEC ตั้งแต่ปี 2506 และสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป เมื่อปี 2520 (ค.ศ. 1977) ทั้งนี้ สหภาพยุโรปเพิ่งเปิดการเจรจากับตุรกี เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2548 โดยการเจรจาดังกล่าวเป็นแบบ open-ended process และหากเจรจาสำเร็จ กระบวนการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปของตุรกีอาจใช้เวลาถึง 10 ปี
       โครเอเชีย : เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2548 สหภาพยุโรปเปิดการเจรจารับโครเอเชียเข้าเป็นสมาชิก เนื่องจากพอใจที่โครเอเชียให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีกับศาลอาญาระหว่างประเทศในอดีตยูโกสลาเวีย (International Criminal Tribunal for the Former Yugoslavia – ICTY) ขององค์การสหประชาชาติ ทั้งนี้ คาดว่ากระบวนการพิจารณาระบบบริหารและนิติบัญญัติของโครเอเชียเพื่อนำไปสู่การบูรณาการเข้ากับระบบของสหภาพยุโรป จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี
       มาซิโดเนีย : เมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2548 ที่ประชุมคณะมนตรียุโรปมีมติให้สถานะประเทศผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป (candidate country status) แก่มาซิโดเนีย ทั้งนี้คณะกรรมธิการยุโรปยังต้องประเมินสถาการณ์อีกครั้งว่า มาซิโดเนียมีพัฒนาการและปฏิบัติสอดคล้องกับเงื่อนไขต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปหรือไม่ ก่อนที่จะมีการพิจารณาเรื่องการเปิดการเจรจาเพื่อเข้าเป็นสมาชิกต่อไป

    2. ประเทศที่กำลังจะสมัครเข้าเป็นสมาชิกในอนาคต
       เซอร์เบีย และมอนเตนีโกร : เมื่อวันที่ 12 เม.ย. 2548 คณะกรรมาธิการยุโรปได้เสนอแนะให้ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปเริ่มการเจรจาจัดทำความตกลง Stabilization and Association Agreement (SAA)  กับเซอร์เบีย และมอนเตนีโกร ซึ่งถือเป็นก้าวแรกของการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม สหภาพยุโรปยังต้องการความร่วมมือจากรัฐบาลเซอร์เบียฯ ในการจับกุมและส่งมอบอาชญากรรมสงครามจากสงครามกลางเมืองในอดีตยูโกสลาเวียแก่ ICTY ซึ่งอาจเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเจรจาขยายสมาชิกภาพของเซอร์เบีย
       บอสเนีย : เมื่อเดือน ม.ค. 2549 สหภาพภาพยุโรปกับบอสเนียได้เริ่มเจรจาอย่าง  เป็นทางการเพื่อจัดทำ SAA ซึ่งนับเป็นความร่วมมือในขั้นแรกที่อาจนำไปสู่การเจรจาเข้าเป็นสมาชิกต่อไปหากบอสเนียสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปได้
       แอลเบเนีย : สหภาพยุโรปเริ่มการเจรจาจัดทำข้อตกลง SAA กับแอลเบเนียตั้งแต่ปี 2546 และคาดว่าน่าจะสามารถบรรลุ        ข้อตกลงได้ในเร็วๆ นี้

    วาระงานที่สำคัญของประธานสหภาพยุโรป (EU Preidency)

    เยอรมนี ในฐานะประธานสหภาพยุโรป (วาระ 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม – มิถุนายน 2550  สืบต่อจากฟินแลนด์) ซึ่งเป็น    การดำรงตำแหน่งครั้งที่ 12 ของเยอรมนี (ดำรงตำแหน่งครั้งแรก เมื่อปี 2501) มีนโยบายหลักเพื่อสร้างความเข้มแข็งและ        เพิ่มศักยภาพให้สหภาพยุโรป ดังนี้
    1.  อนาคตของสหภาพยุโรป ซึ่งมีประเด็นสำคัญๆ ได้แก่

    -การเสริมสร้างความมั่นใจให้พลเมืองยุโรปทั้งต่อสถาบันและต่อผลงานของสหภาพยุโรป โดยเน้นสร้างความโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ปรับปรุงกฎระเบียบ และสำคัญที่สุด คือ  ทำให้งานของสหภาพยุโรปเกิดผลประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมแก่ประชาชน  โดยเห็นว่าความอดทนอดกลั้น จะเป็นหลักการพื้นฐานที่ยั่งยืนของสหภาพยุโรปที่นำมาซึ่งสันติภาพในยุโรป          และเป็นปัจจัยสำคัญต่อพัฒนาการทางสังคมประชากร และการขยายสมาชิกภาพยุโรปในอนาคต 

    -ธรรมนูญยุโรป ที่ประชุมคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปเห็นพ้องให้ขยายกรอบระยะเวลาให้มีความยืดหยุ่นเพื่อพิจารณาเรื่องธรรมนูญฯ ต่อไปอีกระยะหนึ่ง

    -การขยายสมาชิกภาพ  มีพัฒนาการที่สำคัญ คือ การเจรจากับโครเอเชีย และตุรกีในการเข้าเป็นสมาชิก ตลอดจนการรายงานให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถของสหภาพยุโรปในการรับสมาชิกใหม่ในอนาคต

    2. การพัฒนานโยบายเศรษฐกิจและสังคมของสหภาพยุโรป เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการเพื่อลดภาระที่เกิดจากกฎระเบียบต่างๆ นอกจากนี้  ยังผลักดันให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามยุทธศาสตร์วาระลิสบอน (Lisbon Agenda) ซึ่งเป็นแผนงานที่เน้นการเพิ่มขีดความสามารถในด้านการแข่งขัน เพื่อเร่งรัดให้เกิดตลาดภายในอย่างสมบูรณ์ มีนโยบายด้านพลังงานที่มีประสิทธิภาพ และให้ความสำคัญกับการค้นคว้าพัฒนา และการสร้างนวัตกรรม เป็นต้น

    3. ตอบสนองภารกิจด้านการต่างประเทศและความมั่นคง สนับสนุนเสถียรภาพในภูมิภาคบอลข่านตะวันตก (อดีตยูโกสลาเวียและแอลเบเนีย) ในฐานะว่าที่สมาชิกใหม่ สนับสนุนภารกิจในกระบวนการสันติภาพในตะวันออกกลาง ยกระดับความสัมพันธ์และความร่วมมือกับรัสเซีย โดยเฉพาะด้านพลังงานและการจัดทำความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือ (PCA)   และเพิ่มความร่วมมือกับประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกาและแอฟริกา 

    4. ประสานงานด้านเสรีภาพ ความยุติธรรม และความมั่นคง โดยเห็นว่า เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวประชาชนชาวยุโรปและสำคัญต่อการเมืองภายในของประเทศสมาชิก เช่น  การประสานงานระหว่างตำรวจในแต่ละประเทศ การปราบปรามอาชญากรรม และการตรวจ คนเข้าเมือง เป็นต้น

    5. ผลักดันให้สหภาพยุโรปมีนโยบายร่วมในด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ภายใต้เยอรมนีในฐานะประธานสหภาพยุโรปได้เน้นการหารือถึงการวางนโยบายด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของ EU โดยเฉพาะมาตรการและนโยบายพลังงานเพื่อให้รักษาสิ่งแวดล้อมและบรรเทาภาวะโลกร้อนในระยะยาว (Energy & Climate Change Package) และประเด็นเรื่องความมั่นคงด้านพลังงาน( energy security) 

    โปรตุเกส ในฐานะประธานสหภาพยุโรปปัจจุบัน (วาระ 6 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2550) โดยเป็นการดำรงตำแหน่งประธานสหภาพยุโรป ครั้งที่ 3 ของโปรตุเกส (ครั้งแรก เมื่อปี 2535) นับตั้งแต่การจัดตั้งสหภาพยุโรป เมื่อปี 2501         มีวาระงานที่โปรตุเกสจะผลักดันในประเด็นสำคัญๆ ดังนี้ 

    1. การเร่งรัดจัดทำ New EU Treaty ให้แล้วเสร็จ โปรตุเกสจะจัดประชุม inter-governmental conference ในช่วงเป็นประธานสหภาพยุโรปเพื่อวิเคราะห์ถึงรูปแบบสนธิสัญญาใหม่ของ EU ในแง่มุมต่างๆ ซึ่งคาดว่า สนธิสัญญาดังกล่าวจะได้รับการตอบสนองที่ดีในการประชุมผู้นำ EU ในเดือน ต.ค. 2550

    2.  การกระชับความสัมพันธ์กับภูมิภาคแอฟริกาให้ใกล้ชิดมากขึ้น นาย Jose Socrates นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส ตระหนักว่า ในห้วงเวลาที่ผ่านมา สหภาพยุโรปได้สูญเสียโอกาสไปมากที่ไม่สามารถจัดให้มีการหารือในลักษณะประจำและระหว่างองค์กรกับภูมิภาคแอฟริกา ดังนั้น เพื่อที่จะเสริมสร้างความสัมพันธ์กับภูมิภาคแอฟริกา โปรตุเกสเตรียมที่จะจัด  EU-Africa Summit ใน 8-9          ธ.ค.2550       

    3.  การผลักดันยุทธศาสตร์สำคัญๆ ของ EU  โปรตุเกสจะผลักดันนโยบายที่เป็นยุทธศาสตร์สำคัญๆ  (Lisbon Agenda)  เช่น การจ้างงาน การเสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจและการแข่งขัน การจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรี พลังงานและปัญหาการขาดแคลนน้ำ นโยบายกิจการทางทะเลและเกษตรร่วม รวมทั้งประเด็นเรื่องการลงโทษประหารชีวิต และการเข้าเมืองผิดกฎหมาย

    4.  การแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศของโลก โปรตุเกสและคณะกรรมาธิการยุโรปพยามผลักดันให้มีการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศเพื่อสืบแทนพิธีสารเกียวโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวทีการประชุม UN International Climate Conference ในช่วงปี 2550 และเสนอให้ประเทศที่พัฒนาแล้วตั้งเป้าหมายที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 30 ภายในปี 2563 และ  ในระยะยาว ให้ลดได้ถึงร้อยละ 60-80  ภายในปี 2593

  • สร้างโดย: 
    นางสาววีธิกา ยิ้มศรีแพร ม.4/4 เลขที่ 6 และ นางสาวเทพธิดา คุ้มทรัพย์ ม.4/4 เลขที่ 23 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
    รูปภาพของ silavacharee

     

    ตรวจแล้ว

    มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
     

     ช่วยด้วยครับ
    นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
    คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
    ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
    หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
    ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
    มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

    ช่วยกันนะครับ 
    ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
    ไม่ถูกปิดเสียก่อน

    ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

    อ่านรายละเอียด

    ด่วน...... ขณะนี้
    พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
    มีผลบังคับใช้แล้ว 
    ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
    เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
    ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
    อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

     

    สมาชิกที่ออนไลน์

    ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 367 คน กำลังออนไลน์