• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:426894f8974119ad52dc5f7ec65939f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000; font-family: MS Sans Serif\"><b>ประวัติความเป็นมา</b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">               <span style=\"color: #ff9900\">วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเรียกวัดนี้ว่า วัดใหญ่ หรือ วัด หลวงพ่อโต จากโบราณคดีจารึก สืบต่อกันแต่ครั้งโบราณกาลว่า วัดนี้สร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช.  ในปี พ.ศ.2310  ครั้งหนึ่งที่พระองค์ยกทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยามาถึงยังตำบลหนึ่งซึ่งยังไม่ปรากฏนาม พระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พล และได้ทรงทำพิธีกรรมบวงสรวงหาฤกษ์ยามอันเป็นนิมิตตามตำรับพิชัยสงครามการทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้  ตามประเพณีมีการปลูกศาลเพียงตา พร้อมทั้งเครื่องเซ่นสังเวยมี ข้าวตอก ดอกไม้  สัตว์สี่เท้า สัตว์สองเท้า ขนมต้มขาว ขนมต้มดำ ขนมต้มแดง และอื่นๆพร้อมทั้งอัญเชิญพระแสงปืน พระแสงดาบ และสรรพวุธ เพื่อเข้าพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้พร้อมทั้งตั้งสัจจะอธิษฐานต่อเทวาอารักษ์และสิ่ง-ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายว่า &quot;ถ้าหากพระองค์ยังมีบุญญธิการปกครองไพร่ฟ้า ประชาชน พร้อมทั้งบ้านเมือง ให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้ว ขอให้พระองค์จงมีชัยชนะต่ออริราชศัตรูทั้งมวล&quot; </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/library/teachershow/samutprakan/pracha_c/bangplee/image/02_012.jpg\" height=\"225\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ff9900; font-family: MS Sans Serif\">               ครั้งเมื่อพระองค์ได้รับชัยชนะแล้ว ก็ทรงยกทัพกลับสู่กรุงศรีอยุธยา ผ่านมาทางเดิมที่พระองค์ได้ทำพิธี ก็ทรงโปรดให้สร้างพลับพลาชัยขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ในชัยชนะของพระองค์ และทรงขนานนามว่า&quot;พลับพลาชัยชนะสงคราม&quot;ครั้นต่อมาชาวบ้านในละแวกนั้นได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นที่พลับพลาแห่งนี้ และเรียกวัดนี้ว่า &quot;วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม” ส่วนชื่อของตำบลนั้นได้ชื่อว่า“บางพลี” เพราะเหตุที่สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนั่นเอง ดังนั้นประชาชนทั้งหลายจึงเรียกว่าบางพลี และวัดพลับพลาชัยชนะสงครามก็ถูกเรียกตามตำบลนั้นอีกว่า“วัดบางพลี”แต่เนื่องจากต่อมาได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกอยู่ทางด้านนอกเรียกกันว่า วัดบางพลีใหญ่กลางและวัดบางพลีได้พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นมิ่งขวัญของวัดจึงเรียกว่า &quot;วัดบางพลีใหญ่ใน&quot;หรือ&quot;วัดหลวงพ่อโต&quot;มาจนทุกวันนี้</span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/library/teachershow/samutprakan/pracha_c/bangplee/image/02_011.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p><span style=\"color: #00ccff\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>ประวัติหลวงพ่อโต </strong><br />\nตามตำนานประวัติของ หลวงพ่อโต ที่เล่าสืบต่อกันมาว่า ประมาณกาล ๒๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว ได้มีพระพุทธรูป ๓ องค์ ปาฏิหาริย์ลง มาจากทางเหนือลอยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาตลอดมา พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์นี้ เข้าใจว่าปวงชนในกรุงศรีอยุธยาคงอาราธนาท่าน ลงสู่แม่น้ำเพื่อหลบหลีกหนีข้าศึก ด้วยในสมัยนั้นบ้างเมืองได้เกิดสภาวะสงครามขึ้นกับพม่า พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ได้แสดงอภินิหาร ลอยล่องมาตามลำแม่น้ำและบางครั้งก็แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ให้คนเห็นตามลำดับ จนเป็นที่โจษจันกันทั่วถึงอภินิหารและความศักดิศิทธิ์<br />\nของท่านจนล่วงมาถึงตำบลๆ หนึ่ง ท่านก็ได้ผุดให้คนเห็นเป็นอัศจรรย์ พวกเหล่าประชาชนในตำบลนั้น </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">ต่างก็พร้อมในกันทำพิธีอาราธนาท่านขึ้นสู่ฝั่ง ฝูงชนประมาณ ๓ แสนคน ช่วยกันฉุดลากฉะลอองค์พระท่าน ก็ไม่สามารถนำท่านขึ้นสู่<br />\nฝั่งได้ และท่านก็กลับจมลงหายไปในแม่น้ำอีก ยังความเศร้าโศกเสียดายของประชาชนในตำบลนั้นเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาตำบลนั้นจึงถูก<br />\nเรียกชื่อว่า &quot;ตำบลสามแสน&quot; มาจนกระทั่งบัดนี้ ท่านสุนทรภู่จินตกกวีเอกของไทย ยังได้พร่ำพรรณาไว้เป็นคำกลอนว่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">&quot;ถึงสามแสนแจ้งความตามสำเหนียก<br />\nเมื่อแรกเรียกสามแสนทั้งกรุงศรี<br />\nประชาชนฉุดพุทธรูปในวารี<br />\nไม่ได้เคลื่อนที่ชลธารบาดาลดิน<br />\nจึงสาปนามสามแสนเป็นชื่อคุ้ง<br />\nเออชาวกรุงกลับเรียกสามแสนสิ้น<br />\nนี่หรือรักจักมิน่าเป็นราคิน<br />\nแต่ชื่อดินเจียวยังกลายเป็นหลายคำ<br />\nขอใจนุชที่ฉันสุดจริตรัก<br />\nให้แน่นหนักเหมือนพระพุทธรูปเลขาขำ<br />\nถึงแสนคนจะมาวอนชอ้อนนำ<br />\nสักแสนคำอย่าให้เคลื่อนจงเหมือนใจ&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">พระพุทธรูปได้ล่องลอยทวนน้ำมาทั้ง ๓ องค์ โดยลำดับ ครั้งหนึ่งปรากฏว่าได้ล่องลอยไปจนถึงจังหวัดฉะเชิงเทรา แสดงอภินิหารปรา กฏให้ผู้คนเห็นอีก ประชาชนต่างก็ได้ช่วยกันฉุดชะลอท่านขึ้นจากลำน้ำ แต่ก็ไม่สำเร็จอีก!!!</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ได้ลอยทวนน้ำ และจมหายไป ณ ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า &quot;<strong>สามพระทวน</strong>&quot; แต่ต่อมาก็ได้เปลี่ยนไปเป็น &quot;<strong>สัมปทวน</strong>&quot; คือแม่น้ำหน้าวัดสัมปทวน อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปัจจุบันพระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ ท่านล่องลอยผ่าน ณ ที่ใด ที่นั่นก็จะมีชื่อ เรียกกันใหม่ทุกครั้ง ดังเช่น ท่านได้แสดงอภินิหารล่องลอยให้ผู้คนเห็นเป็นอัศจรรย์เรื่อยมาในแม่น้ำบางประกง ผู้คน มากมายพยา ยามที่จะอาราธนาท่านขึ้น แต่ก็ไม่สำเร็จอีก ณ สถานที่นั้นจึงได้มีชื่อเรียกกันว่า &quot;<strong>บางพระ</strong>&quot; ซึ่งเรียกว่าคลอง บางพระ ในปัจจุบัน ครั้น ต่อมาภายหลังปรากฏว่าพระพุทธรูปองค์หนึ่งไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่ วัดบ้านแหลม จังหวัดสมุทรสงคราม และต่อมา ในเวลาไล่เลี่ยกัน พระพุทธรูปองค์หนึ่งได้ล่องลอยเรื่อยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา ปาฏิหาริย์ลอยวกเข้ามาในคลองสำโรง ประชาชน พบเห็นต่างโจษจัน กันไปทั่วถึงความศักดิ์สิทธิ์และอภินิหาร พร้อมกับพากันอาราธนาท่านขึ้นที่ปากคลองสำโรงนั้น แต่ท่าน ก็ไม่ยอม ขึ้นและในที่นั้นได้มี ผู้ปัญญาดีคนหนึ่ง ได้ให้ความเห็นว่าคงเป็นเพราะบุญญาอภินิหารของท่าน แม้จะใช้จำนวนผู้คนสักเท่าไรอารา ธนาฉุดท่านขึ้นบนฝั่ง คงไม่สำเร็จเป็นแน่ ควรจะเสี่ยงทายต่อแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่านให้ลอยมาตามลำน้ำ สำโรง และอธิษฐานว่า &quot;<u>หากท่านประสงค์จะขึ้นโปรดที่ใด ก็ขอจงได้แสดงอภินิหารให้แพ ที่ลอยมาจงหยุด ณ ที่นั้นเถิด</u>&quot; เมื่อประชา ชนทั้งหลายได้เห็นพ้องดีกันดังนั้นแล้ว ก็พร้อมใจกันทำแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือซึ่งสมัยนั้นเป็นเรือพายทั้งสิ้น ช่วยกันจ้ำ พายจูงแพลอยเรื่อยมาตามลำคลอง เรือที่ใช้ลากจูงแพมานั้นมีชื่อแปลกต่างๆ กัน เช่นชื่อ ม้าน้ำ เป็ดน้ำ ตุ๊กแก และอื่นๆ เป็นต้น และจัดให้มีการละเล่นต่างๆ มี ละครเจ้ากรับรำถวายมาตลอดทาง และการละเล่นอื่นๆ ครึกครื้นมาตลอดทั้งลำน้ำ....</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\">ครั้นแพลอยมาถึงบริเวณหน้าองค์ท่านก็เกิดหยุดนิ่ง พยายามจ้ำและพายกันอย่างเต็มที่เต็มกำลัง แพนั้นก็หาได้ขยับเขยื้อนไม่ ประชาชนที่มากับเรือและชาวบางพลีถึงกับขนลุกซู่เห็นเป็นอัศจรรย์ยิ่งนัก ต่างน้อมก้มลงกราบนมัสการด้วยความเคารพ และ เปี่ยมด้วยสักการะจึงได้พร้อมใจกันอาราธนาตั้งจิตอธิษฐานว่า &quot;</span><span style=\"font-size: small\"><u>ถ้าหลวงพ่อจะโปรดคุ้มครองชาวบางพลีให้ได้รับความร่มเย็นเป็น<br />\nสุขแล้ว ก็ขออาราธนาองค์ท่านให้ขึ้นจากน้ำได้โดยง่ายเถิด</u>&quot;</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">และเป็นที่อัศจรรย์เป็นอย่างมาก เพียงใช้คนไม่มากนักก็สามารถอาราธนาท่านขึ้นจากน้ำได้โดยง่าย ทำให้ประชาชนต่างแซ่ ซ้องในอภินิหารของท่านเป็นอย่างยิ่งและได้อาราธนาท่านขึ้นไปประดิษฐานในพระวิหารซึ่งต้องชะลอท่านขึ้นข้ามฝาผนังวิหาร เพราะขณะนั้นหลังคาพระวิหารยังไม่มีและประตูวิหารก็เล็กมาก ต่อจากนั้นท่านจึงได้ประดิษฐานอยู่ที่วิหารนั้นเรื่อยมา ครั้นต่อ มาได้รื้อวิหารนั้นอีกเพื่อสร้างเป็นพระอุโบสถที่ถาวร จึงต้องชะลออาราธนาองค์ท่านมาพักไว้ยังศาลาชั่วคราว จนกระทั่งได้สร้าง พระอุโบสถสำเร็จแล้วจึงได้อาราธนาท่านไปประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถเพื่อเป็นพระประธานของวัดบางพลีใหญ่ใน การที่ท่าน ได้พระนามว่า &quot;<strong>หลวงพ่อโต</strong>&quot; นั้นคงเป็นเพราะองค์ของท่านใหญ่โตสมกับที่ประชาชนพากันถวายนามว่า &quot;<strong>หลวงพ่อโต</strong>&quot; เป็นสิ่ง ที่เคารพสักการะของชาวบางพลี และเป็นมิ่งขวัญของวัดบางพลีใหญ่ในมาจนตราบเท่าทุกวันนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\">การที่ลำดับว่าองค์ไหนเป็นองค์พี่ องค์กลาง องค์น้องนั้น และลอยมาพร้อมกันตามตำนานที่สืบทอดต่อกันมา เข้าใจว่าคงจะนับ เอาองค์ที่อาราธนาขึ้นจากได้ก่อนเป็นองค์พี่ ขึ้นจากน้ำองค์ที่สอง เป็นองค์กลาง ขึ้นจากน้ำองค์ที่สาม เป็นองค์น้องตามลำดับ<br />\nดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>หลวงพ่อวัดบ้านแหลม</strong> จังหวัดสมุทรสงคราม อาราธนาขึ้นจากน้ำ<strong>องค์ที่ ๑</strong><br />\n<strong>หลวงพ่อโสธร </strong>วัดโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา อาราธนาขึ้นจากน้ำ<strong>องค์ที่ ๒ เป็นองค์กลาง</strong><br />\n<strong>หลวงพ่อโต </strong>วัดบางพลีใหญ่ใน จังหวัดสมุทรปราการ อาราธนาขึ้นจากน้ำเป็น<strong>องค์ที่ ๓ เป็นองค์น้อง</strong> เรียงกันมาตามลำดับ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong><u>อภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโต</u></strong><br />\n<strong>เสียงสวดมนต์ในคืน ๑๕ ค่ำ</strong><br />\nอันอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ขององค์หลวงพ่อโตนั้น มีมากมายสุดจะนับได้ หลังจากที่ท่านได้ถูกอาราธนาประดิษฐานขึ้นจาก<br />\nน้ำที่วัดบางพลีใหญ่ในแล้ว ท่านก็ยังได้แสดงอภินิหารให้ประชาชนเห็นกันอยู่บ่อยๆ ดังเช่นครั้งท่านประดิษฐานเป็นมิ่งขวัญของ<br />\nชาวบางพลีท่านก็ยังได้แสดงอภินิหารให้ประชาชนเห็นกันอยู่บ่อยๆ ดังเช่นครั้งที่ท่านประดิษฐานอยู่ในพระวิหารเก่า บางวันที่เป็น<br />\nวันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ กลางคืนจะได้ยินเสียงพึมพำอยู่ในวิหารคล้ายเสียงสวดมนต์ ครั้นเมื่อเข้าไปดูจึงไม่เห็นใครอยู่ในนั้นเลย<br />\nนอกจากองค์หลวงพ่อโตนั่งพระพักตร์ยิ้มแฉ่ง จนผู้คนที่พบเห็นเข้าไปดูเกิดขนลุกซู่ด้วยความศรัทธาเลื่อมใส </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>พระภิกษุชรานิรนาม</strong><br />\nบางคราวพระภิกษุและสามเณรในวัดจะเห็นพระภิกษุชราห่มจีวรสีคร่ำคร่า ถือไม้เท้าเดินออกมาจากวิหารและยืนสงบนิ่งอยู่หน้า<br />\nวิหาร ผู้ที่พบเห็นต่างเรียกกันมาดู เมื่อทุกคนเห็นพร้อมกันแล้ว ภิกษุชรารูปนั้นก็เดินหายเข้าไปในวิหารตรงองค์หลวงพ่อโต เป็น ดังนี้แล้วหลายครั้งหลายครา</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>ชายชราสง่างาม</strong><br />\nบางครั้งจะมีผู้คนเห็นเป็นชาวชรารูปร่างสง่างามมีรัศมีเปล่งปลั่งนุ่งขาวห่มขาวเข้ามาหาหลวงพ่อแล้วก็หายไปตรงพระพักตร์ของ<br />\nท่าน ซึ่งยังความปลาบปลื้มปีติแก่ผู้ที่ได้พบเห็น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>ปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทอง</strong><br />\nที่ข้างวิหารนั้นมีสระน้ำย่อมๆ อยู่ใบหนึ่ง ในบางคราวจะมีปลาเงินปลาทองหรือปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทองขนาดใหญ่ ๒ ตัว ปรากฏให้เห็นลอยเล่นน้ำคู่กันอยู่ในสระนั้น ซึ่งสระนั้นไม่เคยมีปลาตะเพียนมาก่อนเลย ด้วยนิมิตนี้ทางวัดจึงได้จัดให้มีปลาตะเพียน เงินปลาตะเพียนทองไว้สมนาคุณสำหรับบูชาไว้กับร้านค้าและบ้านเรือน ปรากฏว่าผู้ที่นำไปสักการะบูชาประสบลาภผลอย่างดียิ่งใน การทำมาหากินและโชคลาภ ประชาชนจึงถือว่าปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทองนี้ เป็นปลาคู่บารมีของหลวงพ่อโต จึงมีผู้คนต่าง นำไปสักการะมากมาย </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>นางไม้ต้นพิกุลกราบลาหลวงพ่อโต</strong><br />\nเดิมก่อนนั้นหลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ในวหารเก่าของวัดบางพลีใหญ่ใน ซึ่งมีอายุนานเก่าแก่นานคร่ำคร่าและทรุดโทรมลงไปมาก ทางวัดจึงพร้อมใจกันสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ถวายท่านใหม่ ขณะที่ก่อสร้างก็ได้รื้อิหารหลังเก่าออกมาแล้วอาราธนาชะลอองค์หลวง พ่อมาพักอยู่ที่ศาลาชั่วคราว และได้ตัดต้นพิกุลหน้าวิหารซึ่งมีขนาดใหญ่ประมาณ ๓ คน โอบออกเสีย เพราะเห็นว่าขึ้นใหญ่โตและ เกะกะบริเวณที่จะสร้างพระอุโบสถขึ้นใหม่และในคืนวันหนึ่งตรงพื้นเบื้องหน้าห่างหลวงพ่อราว ๒ ศอกเศษ ได้ปรากฏว่ามีรอยมือรอย เท้าแสดงท่าคุกเข่ากราบหลวงพ่อ รอยเท้าไม่ปรากฏตอนเข้ามา ปรากฏแต่รอยเท้าตอนเดินกลับเท่านั้น รุ่งขึ้นเช้าจึงได้มีผู้คนแตก ตื่นมาดูกันเป็นการใหญ่ ท่านผู้ใหญ่บางท่านบอกว่าเป็นรอยมือรอยเท้าของนางพิกุลที่มากราบลาหลวงพ่อ ซึ่งผู้ที่เฝ้าองค์หลวงพ่อ ที่ศาลานั้น ได้กล่าวว่าตนเองได้กลิ่นหอมของดอกพิกุลมาก จึงผงกศีรษะขึ้นดูอย่างงัวเงียจึงได้เห็นผู้หญิงสาวสวยผมยาวจรดบั้นเอว นุ่งผ้าห่มบไสคล้ายกลีบดอกจำปามาร่ำไห่กราบลาหลวงพ่อ เมื่อกราบลาหลวงพ่อแล้วก็เดินร่ำไห้ลงบันไดไป และแสดงอภินิหารฝาก รอยมือรอยเท้าให้ปรากฏไว้ให้เห็น ต้นพิกุลนี้หลังจากที่ได้ตัดแล้ว ต่อมาภายหลังได้แกะสลักเป็นรูป &quot;<strong>พระสังกัจจายน์&quot;</strong> ประดิษฐานไว้ที่ด้านหน้าวิหารหลังเล็กข้างพระอุโบสถ พระสังกัจจายน์ที่แกะด้วยต้นพิกุลมีชื่อเสียงมากในทางโชคลาภ มีผู้มาขอโชคกันบ่อยๆ จนเป็ฯที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วไปอีกองค์หนึ่ง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>เข้าพระอุโบสถไม่ได้</strong><br />\nและเมื่อสร้างพระอุโบสถเสร็จใหม่ๆ ก่อนจะอาราธนาหลวงพ่อเข้าไปประดิษฐานภายในพระอุโบสถได้วัดองค์ท่านกับช่องประตูพระ อุโบสถ ช่องประตูใหญ่กว่าองค์ท่านประมาณ ๕ น้ว ซึ่งสามารถนำท่านชะลอผ่านประตูเข้าไปได้สบายมาก ครั้นเวลาอาราธนาหลวง พ่อเข้าสู่พระอุโบสถจริงๆ กลับปรากฏว่าองค์หลวงพ่อใหญ่กว่าช่องประตูมาก จะทำอย่างไรก็ไม่สามารถนำท่านผ่านประตูเข้าไปได้ คณะกรรมการและประชาชนทั้งหลายเห็นเช่นนั้นก็พากันตกใจ ให้ความเห็นว่าต้องทุบช่องประตูออกเสียให้กว้าง เมื่อนำหลวงพ่อ เข้าไปแล้วค่อยทำประตูกันใหม่ แต่บางส่วนให้ความเห็นว่าหลวงพ่อคงจะแสดงอภินิหารให้ทุกคนได้เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงพร้อมใจ กันทั่วทุกคนจุดธูปเทียนบูชาอธิษฐานขอให้หลวงพ่อผ่านเข้าประตูพระอุโบสถได้ เพื่อเป็นมิ่งขวัญคุ้มครองชาวบางพลีสืบต่อไปเมื่อ เสร็จจากอธิษฐานแล้ว ก็อาราธนาหลวงพ่อโตเข้าสู่ประตูพระอุโบสถใหม่ คราวนี้ทุกคนก็ต้องแปลกใจที่องค์หลวงพ่อโตผ่าน เข้า ประตูพระอุโบสถได้อย่างง่ายดาย โดยมีช่องว่างระหว่างองค์หลวงพ่อโตกับประตูพระอุโบสถเสียอีก นับว่าเป็นที่น่าอัศจรรย์ในอภินิ<br />\nหารและความศักดิ์สิทธิ์ขององค์หลวงพ่อโตยิ่งนัก</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0066cc; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: small\"><strong>รักษาโรคด้วยน้ำมนต์</strong><br />\nนอกจากนั้น หลวงพ่อโตยังได้ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เจ็บปวยทั้งหลายที่มาบอกเล่าบนบานกราบนมัสการท่าน บางท่านได้นำน้ำมนต์ หลวงพ่อไปเพื่อเป็นสิริมงคล ปรากฎว่าโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นนั้นกลับหายวันหายคืน<br />\n</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\"><b>การเดินทาง</b></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style3\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">               <span style=\"color: #99cc00\">วัดบางพลีใหญ่ใน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสมุทรปราการอยู่ริมคลองสำโรงมีเนื้อที่40กว่าไร ่เนื้อที่ตั้งวัดประมาณ 35 ไร่เศษ การคมนาคมมายังวัดนี้สะดวกสบาย รถยนต์เข้าทางถนนสายบางนา-ตราด กม.ที่ 12 ข้ามสะพานคลองชวดลากข้าวแล้วจะมีทางเลี้ยวขวาเข้าสู่อำเภอบางพลีประมาณ3กิโลเมตรครึ่งก็จะถึงวัด  อีกทางหนึ่งเข้าทาง ถนนเทพารักษ์ ข้างสน.สำโรงเหนือ ประมาณ 13 กม. ก็ถึงวัด</span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"> </span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/library/teachershow/samutprakan/pracha_c/bangplee/image/map.gif\" height=\"300\" />\n</p>\n', created = 1726839479, expire = 1726925879, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:426894f8974119ad52dc5f7ec65939f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วัดบางพลีใหญ่ใน(หลวงพ่อโต)

รูปภาพของ bp26465

ประวัติความเป็นมา

               วัดบางพลีใหญ่ใน เดิมชื่อว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเรียกวัดนี้ว่า วัดใหญ่ หรือ วัด หลวงพ่อโต จากโบราณคดีจารึก สืบต่อกันแต่ครั้งโบราณกาลว่า วัดนี้สร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช.  ในปี พ.ศ.2310  ครั้งหนึ่งที่พระองค์ยกทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยามาถึงยังตำบลหนึ่งซึ่งยังไม่ปรากฏนาม พระองค์ได้สั่งให้หยุดพักไพร่พล และได้ทรงทำพิธีกรรมบวงสรวงหาฤกษ์ยามอันเป็นนิมิตตามตำรับพิชัยสงครามการทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้  ตามประเพณีมีการปลูกศาลเพียงตา พร้อมทั้งเครื่องเซ่นสังเวยมี ข้าวตอก ดอกไม้  สัตว์สี่เท้า สัตว์สองเท้า ขนมต้มขาว ขนมต้มดำ ขนมต้มแดง และอื่นๆพร้อมทั้งอัญเชิญพระแสงปืน พระแสงดาบ และสรรพวุธ เพื่อเข้าพิธีพลีกรรมบวงสรวงนี้พร้อมทั้งตั้งสัจจะอธิษฐานต่อเทวาอารักษ์และสิ่ง-ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายว่า "ถ้าหากพระองค์ยังมีบุญญธิการปกครองไพร่ฟ้า ประชาชน พร้อมทั้งบ้านเมือง ให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุขแล้ว ขอให้พระองค์จงมีชัยชนะต่ออริราชศัตรูทั้งมวล"

               ครั้งเมื่อพระองค์ได้รับชัยชนะแล้ว ก็ทรงยกทัพกลับสู่กรุงศรีอยุธยา ผ่านมาทางเดิมที่พระองค์ได้ทำพิธี ก็ทรงโปรดให้สร้างพลับพลาชัยขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ในชัยชนะของพระองค์ และทรงขนานนามว่า"พลับพลาชัยชนะสงคราม"ครั้นต่อมาชาวบ้านในละแวกนั้นได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นที่พลับพลาแห่งนี้ และเรียกวัดนี้ว่า "วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม” ส่วนชื่อของตำบลนั้นได้ชื่อว่า“บางพลี” เพราะเหตุที่สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงกระทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงนั่นเอง ดังนั้นประชาชนทั้งหลายจึงเรียกว่าบางพลี และวัดพลับพลาชัยชนะสงครามก็ถูกเรียกตามตำบลนั้นอีกว่า“วัดบางพลี”แต่เนื่องจากต่อมาได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกอยู่ทางด้านนอกเรียกกันว่า วัดบางพลีใหญ่กลางและวัดบางพลีได้พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นมิ่งขวัญของวัดจึงเรียกว่า "วัดบางพลีใหญ่ใน"หรือ"วัดหลวงพ่อโต"มาจนทุกวันนี้

ประวัติหลวงพ่อโต
ตามตำนานประวัติของ หลวงพ่อโต ที่เล่าสืบต่อกันมาว่า ประมาณกาล ๒๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว ได้มีพระพุทธรูป ๓ องค์ ปาฏิหาริย์ลง มาจากทางเหนือลอยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยาตลอดมา พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์นี้ เข้าใจว่าปวงชนในกรุงศรีอยุธยาคงอาราธนาท่าน ลงสู่แม่น้ำเพื่อหลบหลีกหนีข้าศึก ด้วยในสมัยนั้นบ้างเมืองได้เกิดสภาวะสงครามขึ้นกับพม่า พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ได้แสดงอภินิหาร ลอยล่องมาตามลำแม่น้ำและบางครั้งก็แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ให้คนเห็นตามลำดับ จนเป็นที่โจษจันกันทั่วถึงอภินิหารและความศักดิศิทธิ์
ของท่านจนล่วงมาถึงตำบลๆ หนึ่ง ท่านก็ได้ผุดให้คนเห็นเป็นอัศจรรย์ พวกเหล่าประชาชนในตำบลนั้น

ต่างก็พร้อมในกันทำพิธีอาราธนาท่านขึ้นสู่ฝั่ง ฝูงชนประมาณ ๓ แสนคน ช่วยกันฉุดลากฉะลอองค์พระท่าน ก็ไม่สามารถนำท่านขึ้นสู่
ฝั่งได้ และท่านก็กลับจมลงหายไปในแม่น้ำอีก ยังความเศร้าโศกเสียดายของประชาชนในตำบลนั้นเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาตำบลนั้นจึงถูก
เรียกชื่อว่า "ตำบลสามแสน" มาจนกระทั่งบัดนี้ ท่านสุนทรภู่จินตกกวีเอกของไทย ยังได้พร่ำพรรณาไว้เป็นคำกลอนว่า

"ถึงสามแสนแจ้งความตามสำเหนียก
เมื่อแรกเรียกสามแสนทั้งกรุงศรี
ประชาชนฉุดพุทธรูปในวารี
ไม่ได้เคลื่อนที่ชลธารบาดาลดิน
จึงสาปนามสามแสนเป็นชื่อคุ้ง
เออชาวกรุงกลับเรียกสามแสนสิ้น
นี่หรือรักจักมิน่าเป็นราคิน
แต่ชื่อดินเจียวยังกลายเป็นหลายคำ
ขอใจนุชที่ฉันสุดจริตรัก
ให้แน่นหนักเหมือนพระพุทธรูปเลขาขำ
ถึงแสนคนจะมาวอนชอ้อนนำ
สักแสนคำอย่าให้เคลื่อนจงเหมือนใจ"

พระพุทธรูปได้ล่องลอยทวนน้ำมาทั้ง ๓ องค์ โดยลำดับ ครั้งหนึ่งปรากฏว่าได้ล่องลอยไปจนถึงจังหวัดฉะเชิงเทรา แสดงอภินิหารปรา กฏให้ผู้คนเห็นอีก ประชาชนต่างก็ได้ช่วยกันฉุดชะลอท่านขึ้นจากลำน้ำ แต่ก็ไม่สำเร็จอีก!!!

พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ได้ลอยทวนน้ำ และจมหายไป ณ ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า "สามพระทวน" แต่ต่อมาก็ได้เปลี่ยนไปเป็น "สัมปทวน" คือแม่น้ำหน้าวัดสัมปทวน อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปัจจุบันพระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ ท่านล่องลอยผ่าน ณ ที่ใด ที่นั่นก็จะมีชื่อ เรียกกันใหม่ทุกครั้ง ดังเช่น ท่านได้แสดงอภินิหารล่องลอยให้ผู้คนเห็นเป็นอัศจรรย์เรื่อยมาในแม่น้ำบางประกง ผู้คน มากมายพยา ยามที่จะอาราธนาท่านขึ้น แต่ก็ไม่สำเร็จอีก ณ สถานที่นั้นจึงได้มีชื่อเรียกกันว่า "บางพระ" ซึ่งเรียกว่าคลอง บางพระ ในปัจจุบัน ครั้น ต่อมาภายหลังปรากฏว่าพระพุทธรูปองค์หนึ่งไปขึ้นประดิษฐานอยู่ที่ วัดบ้านแหลม จังหวัดสมุทรสงคราม และต่อมา ในเวลาไล่เลี่ยกัน พระพุทธรูปองค์หนึ่งได้ล่องลอยเรื่อยมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา ปาฏิหาริย์ลอยวกเข้ามาในคลองสำโรง ประชาชน พบเห็นต่างโจษจัน กันไปทั่วถึงความศักดิ์สิทธิ์และอภินิหาร พร้อมกับพากันอาราธนาท่านขึ้นที่ปากคลองสำโรงนั้น แต่ท่าน ก็ไม่ยอม ขึ้นและในที่นั้นได้มี ผู้ปัญญาดีคนหนึ่ง ได้ให้ความเห็นว่าคงเป็นเพราะบุญญาอภินิหารของท่าน แม้จะใช้จำนวนผู้คนสักเท่าไรอารา ธนาฉุดท่านขึ้นบนฝั่ง คงไม่สำเร็จเป็นแน่ ควรจะเสี่ยงทายต่อแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่านให้ลอยมาตามลำน้ำ สำโรง และอธิษฐานว่า "หากท่านประสงค์จะขึ้นโปรดที่ใด ก็ขอจงได้แสดงอภินิหารให้แพ ที่ลอยมาจงหยุด ณ ที่นั้นเถิด" เมื่อประชา ชนทั้งหลายได้เห็นพ้องดีกันดังนั้นแล้ว ก็พร้อมใจกันทำแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือซึ่งสมัยนั้นเป็นเรือพายทั้งสิ้น ช่วยกันจ้ำ พายจูงแพลอยเรื่อยมาตามลำคลอง เรือที่ใช้ลากจูงแพมานั้นมีชื่อแปลกต่างๆ กัน เช่นชื่อ ม้าน้ำ เป็ดน้ำ ตุ๊กแก และอื่นๆ เป็นต้น และจัดให้มีการละเล่นต่างๆ มี ละครเจ้ากรับรำถวายมาตลอดทาง และการละเล่นอื่นๆ ครึกครื้นมาตลอดทั้งลำน้ำ....

ครั้นแพลอยมาถึงบริเวณหน้าองค์ท่านก็เกิดหยุดนิ่ง พยายามจ้ำและพายกันอย่างเต็มที่เต็มกำลัง แพนั้นก็หาได้ขยับเขยื้อนไม่ ประชาชนที่มากับเรือและชาวบางพลีถึงกับขนลุกซู่เห็นเป็นอัศจรรย์ยิ่งนัก ต่างน้อมก้มลงกราบนมัสการด้วยความเคารพ และ เปี่ยมด้วยสักการะจึงได้พร้อมใจกันอาราธนาตั้งจิตอธิษฐานว่า "ถ้าหลวงพ่อจะโปรดคุ้มครองชาวบางพลีให้ได้รับความร่มเย็นเป็น
สุขแล้ว ก็ขออาราธนาองค์ท่านให้ขึ้นจากน้ำได้โดยง่ายเถิด
"

และเป็นที่อัศจรรย์เป็นอย่างมาก เพียงใช้คนไม่มากนักก็สามารถอาราธนาท่านขึ้นจากน้ำได้โดยง่าย ทำให้ประชาชนต่างแซ่ ซ้องในอภินิหารของท่านเป็นอย่างยิ่งและได้อาราธนาท่านขึ้นไปประดิษฐานในพระวิหารซึ่งต้องชะลอท่านขึ้นข้ามฝาผนังวิหาร เพราะขณะนั้นหลังคาพระวิหารยังไม่มีและประตูวิหารก็เล็กมาก ต่อจากนั้นท่านจึงได้ประดิษฐานอยู่ที่วิหารนั้นเรื่อยมา ครั้นต่อ มาได้รื้อวิหารนั้นอีกเพื่อสร้างเป็นพระอุโบสถที่ถาวร จึงต้องชะลออาราธนาองค์ท่านมาพักไว้ยังศาลาชั่วคราว จนกระทั่งได้สร้าง พระอุโบสถสำเร็จแล้วจึงได้อาราธนาท่านไปประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถเพื่อเป็นพระประธานของวัดบางพลีใหญ่ใน การที่ท่าน ได้พระนามว่า "หลวงพ่อโต" นั้นคงเป็นเพราะองค์ของท่านใหญ่โตสมกับที่ประชาชนพากันถวายนามว่า "หลวงพ่อโต" เป็นสิ่ง ที่เคารพสักการะของชาวบางพลี และเป็นมิ่งขวัญของวัดบางพลีใหญ่ในมาจนตราบเท่าทุกวันนี้

การที่ลำดับว่าองค์ไหนเป็นองค์พี่ องค์กลาง องค์น้องนั้น และลอยมาพร้อมกันตามตำนานที่สืบทอดต่อกันมา เข้าใจว่าคงจะนับ เอาองค์ที่อาราธนาขึ้นจากได้ก่อนเป็นองค์พี่ ขึ้นจากน้ำองค์ที่สอง เป็นองค์กลาง ขึ้นจากน้ำองค์ที่สาม เป็นองค์น้องตามลำดับ
ดังนี้

หลวงพ่อวัดบ้านแหลม จังหวัดสมุทรสงคราม อาราธนาขึ้นจากน้ำองค์ที่ ๑
หลวงพ่อโสธร วัดโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา อาราธนาขึ้นจากน้ำองค์ที่ ๒ เป็นองค์กลาง
หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน จังหวัดสมุทรปราการ อาราธนาขึ้นจากน้ำเป็นองค์ที่ ๓ เป็นองค์น้อง เรียงกันมาตามลำดับ

อภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโต
เสียงสวดมนต์ในคืน ๑๕ ค่ำ
อันอภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ขององค์หลวงพ่อโตนั้น มีมากมายสุดจะนับได้ หลังจากที่ท่านได้ถูกอาราธนาประดิษฐานขึ้นจาก
น้ำที่วัดบางพลีใหญ่ในแล้ว ท่านก็ยังได้แสดงอภินิหารให้ประชาชนเห็นกันอยู่บ่อยๆ ดังเช่นครั้งท่านประดิษฐานเป็นมิ่งขวัญของ
ชาวบางพลีท่านก็ยังได้แสดงอภินิหารให้ประชาชนเห็นกันอยู่บ่อยๆ ดังเช่นครั้งที่ท่านประดิษฐานอยู่ในพระวิหารเก่า บางวันที่เป็น
วันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ กลางคืนจะได้ยินเสียงพึมพำอยู่ในวิหารคล้ายเสียงสวดมนต์ ครั้นเมื่อเข้าไปดูจึงไม่เห็นใครอยู่ในนั้นเลย
นอกจากองค์หลวงพ่อโตนั่งพระพักตร์ยิ้มแฉ่ง จนผู้คนที่พบเห็นเข้าไปดูเกิดขนลุกซู่ด้วยความศรัทธาเลื่อมใส

พระภิกษุชรานิรนาม
บางคราวพระภิกษุและสามเณรในวัดจะเห็นพระภิกษุชราห่มจีวรสีคร่ำคร่า ถือไม้เท้าเดินออกมาจากวิหารและยืนสงบนิ่งอยู่หน้า
วิหาร ผู้ที่พบเห็นต่างเรียกกันมาดู เมื่อทุกคนเห็นพร้อมกันแล้ว ภิกษุชรารูปนั้นก็เดินหายเข้าไปในวิหารตรงองค์หลวงพ่อโต เป็น ดังนี้แล้วหลายครั้งหลายครา

ชายชราสง่างาม
บางครั้งจะมีผู้คนเห็นเป็นชาวชรารูปร่างสง่างามมีรัศมีเปล่งปลั่งนุ่งขาวห่มขาวเข้ามาหาหลวงพ่อแล้วก็หายไปตรงพระพักตร์ของ
ท่าน ซึ่งยังความปลาบปลื้มปีติแก่ผู้ที่ได้พบเห็น

ปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทอง
ที่ข้างวิหารนั้นมีสระน้ำย่อมๆ อยู่ใบหนึ่ง ในบางคราวจะมีปลาเงินปลาทองหรือปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทองขนาดใหญ่ ๒ ตัว ปรากฏให้เห็นลอยเล่นน้ำคู่กันอยู่ในสระนั้น ซึ่งสระนั้นไม่เคยมีปลาตะเพียนมาก่อนเลย ด้วยนิมิตนี้ทางวัดจึงได้จัดให้มีปลาตะเพียน เงินปลาตะเพียนทองไว้สมนาคุณสำหรับบูชาไว้กับร้านค้าและบ้านเรือน ปรากฏว่าผู้ที่นำไปสักการะบูชาประสบลาภผลอย่างดียิ่งใน การทำมาหากินและโชคลาภ ประชาชนจึงถือว่าปลาตะเพียนเงินปลาตะเพียนทองนี้ เป็นปลาคู่บารมีของหลวงพ่อโต จึงมีผู้คนต่าง นำไปสักการะมากมาย

นางไม้ต้นพิกุลกราบลาหลวงพ่อโต
เดิมก่อนนั้นหลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ในวหารเก่าของวัดบางพลีใหญ่ใน ซึ่งมีอายุนานเก่าแก่นานคร่ำคร่าและทรุดโทรมลงไปมาก ทางวัดจึงพร้อมใจกันสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ถวายท่านใหม่ ขณะที่ก่อสร้างก็ได้รื้อิหารหลังเก่าออกมาแล้วอาราธนาชะลอองค์หลวง พ่อมาพักอยู่ที่ศาลาชั่วคราว และได้ตัดต้นพิกุลหน้าวิหารซึ่งมีขนาดใหญ่ประมาณ ๓ คน โอบออกเสีย เพราะเห็นว่าขึ้นใหญ่โตและ เกะกะบริเวณที่จะสร้างพระอุโบสถขึ้นใหม่และในคืนวันหนึ่งตรงพื้นเบื้องหน้าห่างหลวงพ่อราว ๒ ศอกเศษ ได้ปรากฏว่ามีรอยมือรอย เท้าแสดงท่าคุกเข่ากราบหลวงพ่อ รอยเท้าไม่ปรากฏตอนเข้ามา ปรากฏแต่รอยเท้าตอนเดินกลับเท่านั้น รุ่งขึ้นเช้าจึงได้มีผู้คนแตก ตื่นมาดูกันเป็นการใหญ่ ท่านผู้ใหญ่บางท่านบอกว่าเป็นรอยมือรอยเท้าของนางพิกุลที่มากราบลาหลวงพ่อ ซึ่งผู้ที่เฝ้าองค์หลวงพ่อ ที่ศาลานั้น ได้กล่าวว่าตนเองได้กลิ่นหอมของดอกพิกุลมาก จึงผงกศีรษะขึ้นดูอย่างงัวเงียจึงได้เห็นผู้หญิงสาวสวยผมยาวจรดบั้นเอว นุ่งผ้าห่มบไสคล้ายกลีบดอกจำปามาร่ำไห่กราบลาหลวงพ่อ เมื่อกราบลาหลวงพ่อแล้วก็เดินร่ำไห้ลงบันไดไป และแสดงอภินิหารฝาก รอยมือรอยเท้าให้ปรากฏไว้ให้เห็น ต้นพิกุลนี้หลังจากที่ได้ตัดแล้ว ต่อมาภายหลังได้แกะสลักเป็นรูป "พระสังกัจจายน์" ประดิษฐานไว้ที่ด้านหน้าวิหารหลังเล็กข้างพระอุโบสถ พระสังกัจจายน์ที่แกะด้วยต้นพิกุลมีชื่อเสียงมากในทางโชคลาภ มีผู้มาขอโชคกันบ่อยๆ จนเป็ฯที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วไปอีกองค์หนึ่ง

เข้าพระอุโบสถไม่ได้
และเมื่อสร้างพระอุโบสถเสร็จใหม่ๆ ก่อนจะอาราธนาหลวงพ่อเข้าไปประดิษฐานภายในพระอุโบสถได้วัดองค์ท่านกับช่องประตูพระ อุโบสถ ช่องประตูใหญ่กว่าองค์ท่านประมาณ ๕ น้ว ซึ่งสามารถนำท่านชะลอผ่านประตูเข้าไปได้สบายมาก ครั้นเวลาอาราธนาหลวง พ่อเข้าสู่พระอุโบสถจริงๆ กลับปรากฏว่าองค์หลวงพ่อใหญ่กว่าช่องประตูมาก จะทำอย่างไรก็ไม่สามารถนำท่านผ่านประตูเข้าไปได้ คณะกรรมการและประชาชนทั้งหลายเห็นเช่นนั้นก็พากันตกใจ ให้ความเห็นว่าต้องทุบช่องประตูออกเสียให้กว้าง เมื่อนำหลวงพ่อ เข้าไปแล้วค่อยทำประตูกันใหม่ แต่บางส่วนให้ความเห็นว่าหลวงพ่อคงจะแสดงอภินิหารให้ทุกคนได้เห็นเป็นอัศจรรย์ จึงพร้อมใจ กันทั่วทุกคนจุดธูปเทียนบูชาอธิษฐานขอให้หลวงพ่อผ่านเข้าประตูพระอุโบสถได้ เพื่อเป็นมิ่งขวัญคุ้มครองชาวบางพลีสืบต่อไปเมื่อ เสร็จจากอธิษฐานแล้ว ก็อาราธนาหลวงพ่อโตเข้าสู่ประตูพระอุโบสถใหม่ คราวนี้ทุกคนก็ต้องแปลกใจที่องค์หลวงพ่อโตผ่าน เข้า ประตูพระอุโบสถได้อย่างง่ายดาย โดยมีช่องว่างระหว่างองค์หลวงพ่อโตกับประตูพระอุโบสถเสียอีก นับว่าเป็นที่น่าอัศจรรย์ในอภินิ
หารและความศักดิ์สิทธิ์ขององค์หลวงพ่อโตยิ่งนัก

รักษาโรคด้วยน้ำมนต์
นอกจากนั้น หลวงพ่อโตยังได้ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เจ็บปวยทั้งหลายที่มาบอกเล่าบนบานกราบนมัสการท่าน บางท่านได้นำน้ำมนต์ หลวงพ่อไปเพื่อเป็นสิริมงคล ปรากฎว่าโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นนั้นกลับหายวันหายคืน

การเดินทาง

               วัดบางพลีใหญ่ใน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสมุทรปราการอยู่ริมคลองสำโรงมีเนื้อที่40กว่าไร ่เนื้อที่ตั้งวัดประมาณ 35 ไร่เศษ การคมนาคมมายังวัดนี้สะดวกสบาย รถยนต์เข้าทางถนนสายบางนา-ตราด กม.ที่ 12 ข้ามสะพานคลองชวดลากข้าวแล้วจะมีทางเลี้ยวขวาเข้าสู่อำเภอบางพลีประมาณ3กิโลเมตรครึ่งก็จะถึงวัด  อีกทางหนึ่งเข้าทาง ถนนเทพารักษ์ ข้างสน.สำโรงเหนือ ประมาณ 13 กม. ก็ถึงวัด

สร้างโดย: 
bp26465

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 428 คน กำลังออนไลน์