• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8ee3845822e24a6bca85bff2aebc7b25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nบทบาทของนักเรียนต่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิ่น\n</p>\n<p>\nซึ่งครู อาจารย์ ผู้ปกครอง แม้แต่ผู้นำชุมชนในท้องถิ่น เช่น พระ\n</p>\n<p>\nผู้ใหญ่บ้าน กำนัน หรือ ข้าราชการก็มีส่วนช่วย เพราะเป็นสิ่งที่\n</p>\n<p>\nกระตุ้น ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ เช่น เด็กแสดงบทบาท\n</p>\n<p>\nต่อการอนุรักษ์ ก็สามารถกระตุ้นไปสู่ผู้ใหญ่ได้ เช่นเดียวกัน\n</p>\n<p>\nถ้าเด็กเห็นผู้ใหญ่ ส่งเสริม ให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะผ่านคำชม\n</p>\n<p>\nหรือการให้รางวัล\n</p>\n<p>\nวัฒนธรรมท้องถิ่น แบ่งได้มากมายหลายแบบ หลายคนอาจไม่รู้\n</p>\n<p>\nไม่ทราบเลยว่า สิ่งนี้เป็นของมีค่า ที่บ้านอื่นเมืองอื่นไม่มี หรือเป็น\n</p>\n<p>\nเอกลักษณะสำคัญของชุมชน โดยถ่ายทอดจากผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งนับวันจะล้มหาย ตายจากลงไป\n</p>\n<p>\nแบ่งเป็น\n</p>\n<p>\n1.สิ่งที่เห็นสัมผัส จับต้องได้ เช่น สิ่งก่อสร้าง โบสถ์ วิหาร ซากอาคาร หรือจะเป็นตู้ โต๊ะ ตั่ง เตียง ที่เห็นอยู่ในบ้าน\n</p>\n<p>\nของเราเอง หนังสือ รูปภาพ  ซึ่งปัจจุบันคนท้องถิ่นขาดความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ เช่น ลบภาพจิตรกรรมฝาผนังทิ้ง\n</p>\n<p>\nเขียนทับของเดิม  โดยคิดว่าสิ่งนั่งเป็นการอนุรักษ์ เป็นการทำลายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไปอย่างน่าเสียดาย\n</p>\n<p>\nหรือ ชาวบ้านรื้อหอไตร โดยนายหน้าพ่อค้าของเก่าจากกรุงเทพแลกกับการสร้างใหม่ แล้วนำของเก่าไปขายให้แก่ผู้นิยม\n</p>\n<p>\nของเก่า เป็นต้น\n</p>\n<p>\nสิ่งที่เราเองอาจมองข้ามไป เช่น ขนม อาหารการกินพื้นเมือง  เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เพลงกล่อมเด็ก เพลงที่ร้องเล่นในชีวิตประจำวัน\n</p>\n<p>\nเช่นเพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย ลำตัด\n</p>\n<p>\n2.สิ่งที่สัมผัสจับต้องไม่ได้ เช่น ความเชื่อ ข้อห้ามต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ บางท่านเห็นว่าเป็นสิ่งงมงาย แต่ความเชื่อเหล่านี้เป็น\n</p>\n<p>\nกุศโลบาย (คือ กุศล=ความฉลาด อบาย=กลวิธี ซึ่งแปลรวมกัน เป็นกลวิธีที่มีความฉลาด) ของคนโบราณในการห้ามไม่ให้ทำสิ่ง\n</p>\n<p>\nผิดคุณธรรม หรือทำแล้วจะเกิดโทษ เช่น ห้ามชาย หญิง พบกันนอกเทศกาล หรือ สถานที่ๆกำหนด โดยโบราณอ้างว่า ผิดผี ที่จริง\n</p>\n<p>\nแล้วต้องการไม่ให้ ชาย หญิง ได้เสีย ก่อนวัยอันควร\n</p>\n<p>\nหรือ ภาคเหนือ เรียกว่า &quot;ขึด&quot; คือข้อห้าม ที่ถ้ายังผ่าผืนทำไปจะเกิดอัปมงคล เช่น ห้ามปลูกเรือน คร่อมตอ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726838623, expire = 1726925023, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8ee3845822e24a6bca85bff2aebc7b25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทบาทนักเรียนต่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิ่น

บทบาทของนักเรียนต่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิ่น

ซึ่งครู อาจารย์ ผู้ปกครอง แม้แต่ผู้นำชุมชนในท้องถิ่น เช่น พระ

ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน หรือ ข้าราชการก็มีส่วนช่วย เพราะเป็นสิ่งที่

กระตุ้น ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ เช่น เด็กแสดงบทบาท

ต่อการอนุรักษ์ ก็สามารถกระตุ้นไปสู่ผู้ใหญ่ได้ เช่นเดียวกัน

ถ้าเด็กเห็นผู้ใหญ่ ส่งเสริม ให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะผ่านคำชม

หรือการให้รางวัล

วัฒนธรรมท้องถิ่น แบ่งได้มากมายหลายแบบ หลายคนอาจไม่รู้

ไม่ทราบเลยว่า สิ่งนี้เป็นของมีค่า ที่บ้านอื่นเมืองอื่นไม่มี หรือเป็น

เอกลักษณะสำคัญของชุมชน โดยถ่ายทอดจากผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งนับวันจะล้มหาย ตายจากลงไป

แบ่งเป็น

1.สิ่งที่เห็นสัมผัส จับต้องได้ เช่น สิ่งก่อสร้าง โบสถ์ วิหาร ซากอาคาร หรือจะเป็นตู้ โต๊ะ ตั่ง เตียง ที่เห็นอยู่ในบ้าน

ของเราเอง หนังสือ รูปภาพ  ซึ่งปัจจุบันคนท้องถิ่นขาดความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ เช่น ลบภาพจิตรกรรมฝาผนังทิ้ง

เขียนทับของเดิม  โดยคิดว่าสิ่งนั่งเป็นการอนุรักษ์ เป็นการทำลายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไปอย่างน่าเสียดาย

หรือ ชาวบ้านรื้อหอไตร โดยนายหน้าพ่อค้าของเก่าจากกรุงเทพแลกกับการสร้างใหม่ แล้วนำของเก่าไปขายให้แก่ผู้นิยม

ของเก่า เป็นต้น

สิ่งที่เราเองอาจมองข้ามไป เช่น ขนม อาหารการกินพื้นเมือง  เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เพลงกล่อมเด็ก เพลงที่ร้องเล่นในชีวิตประจำวัน

เช่นเพลงเกี่ยวข้าว เพลงฉ่อย ลำตัด

2.สิ่งที่สัมผัสจับต้องไม่ได้ เช่น ความเชื่อ ข้อห้ามต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ บางท่านเห็นว่าเป็นสิ่งงมงาย แต่ความเชื่อเหล่านี้เป็น

กุศโลบาย (คือ กุศล=ความฉลาด อบาย=กลวิธี ซึ่งแปลรวมกัน เป็นกลวิธีที่มีความฉลาด) ของคนโบราณในการห้ามไม่ให้ทำสิ่ง

ผิดคุณธรรม หรือทำแล้วจะเกิดโทษ เช่น ห้ามชาย หญิง พบกันนอกเทศกาล หรือ สถานที่ๆกำหนด โดยโบราณอ้างว่า ผิดผี ที่จริง

แล้วต้องการไม่ให้ ชาย หญิง ได้เสีย ก่อนวัยอันควร

หรือ ภาคเหนือ เรียกว่า "ขึด" คือข้อห้าม ที่ถ้ายังผ่าผืนทำไปจะเกิดอัปมงคล เช่น ห้ามปลูกเรือน คร่อมตอ เป็นต้น

 

 

สร้างโดย: 
saksri

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 389 คน กำลังออนไลน์