• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b83f90e17bf4e287419c38cfc4f3a671' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><strong>ก่อนจะมีนายเรืออากาศ</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\">       เมื่อ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ กรมทหารอากาศ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกองทัพอากาศแต่ขณะนั้นยังไม่มีสถาบันที่จะผลิตนายทหารสัญญาบัตรของตนเอง นายทหารที่เป็นกำลังหลักในการสร้างกองทัพอากาศนั้น รับมาจากโรงเรียนนายพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และมหาวิทยาลัยภายนอก รวมไปถึงนายทหารประทวนที่รับเข้ามาเป็นศิษย์การบิน นายทหารต้นหน และนายทหารเทคนิคเหล่าอื่น ๆ เนื่องจากวิทยาการด้านการบินและการใช้กำลังทางอากาศ มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว แต่นายทหารที่กองทัพอากาศรับมานั้น ได้รับการฝึกศึกษาเน้นหนักไปทางเทคนิคของแต่ละเหล่าทัพซึ่งไม่ตรงกับความต้องการของกองทัพอากาศ ประกอบกับกองทัพอากาศขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อเตรียมกำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ บุพการีกองทัพอากาศ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง สินศุข) และนาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย์ เกตุทัต) ได้แสดงเจตนารมณ์มุ่งมั่นที่จะสร้างโรงเรียนผลิตนายทหารอากาศของตนเอง ดังที่ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ ได้เขียนบันทึกขณะเป็นเจ้ากรมอากาศยาน มีความตอนหนึ่งว่า “เราจะต้องมีโรงเรียน ผลิตนายทหารสัญญาบัตรของเราขึ้นเองให้จงได้</span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\">       กองทัพอากาศได้พิจารณาสานต่อเจตนารมณ์ของบุพการีด้วยตระหนักดีว่า การพัฒนากำลังทางอากาศของชาติให้เข้มแข็งได้นั้นจะต้องมีโรงเรียนนายเรืออากาศและโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ แต่ขณะนั้นกองทัพอากาศมีฝ่ายเสนาธิการน้อยมาก จึงเร่งตั้งโรงเรียนเสนาธิการขึ้นก่อนเพราะการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศต้องใช้เวลาเตรียมอาจารย์ประจำที่ศึกษามาทางนี้โดยตรง พลอากาศโท หลวงเทวฤทธิ์พันลึก ผู้บัญชาการทหารอากาศขณะนั้น จึงได้คัดเลือก นาวาอากาศโท ทวี จุลละทรัพย์ นาวาอากาศโท หะริน หงสกุล นาวาอากาศตรี สวัสดิ์ โพธิ์วิหคและ นาวาอากาศตรี ละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ ส่งไปศึกษาโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ณ ต่างประเทศเพื่อให้กลับมาช่วยวางรากฐานการศึกษาของกองทัพอากาศต่อไป เมื่อตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศเสร็จ ก็มาถึงการตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี ผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก หลวงเชิดวุฒากาส และ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เป็นผู้สนับสนุนให้ดำเนินการจัดตั้งสถาบันการศึกษาหลักที่จะผลิตนายทหารชั้นสัญญาบัตรของกองทัพอากาศขึ้นเอง ตามแนวความคิดของ“สามบรรพบุรุษ” โดย นาวาอากาศโท หะรินฯ ได้ร่างโครงการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ เสนอต่อ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เสนาธิการทหารอากาศ ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลการศึกษาโดยตรง</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\">           ต่อมาเมื่อ นาวาอากาศเอก หะริน หงสกุล ดำรงตำแหน่ง รองเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ก็ได้เร่งการดำเนินการเพื่อเปิดโรงเรียนให้ทันภายในปี พ.ศ.๒๔๙๕ จนกระทั่งสามารถเสนอโครงการต่อคณะรัฐมนตรี ซึ่งได้มีมติรับหลักการให้สถาปนาโรงเรียนนายเรืออากาศขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ตามที่กระทรวงกลาโหมเสนอ เมื่อ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๕ ก่อนจะเปิดโรงเรียน นาวาอากาศเอก หะรินฯ ต้องย้ายไปเป็นทูตฝ่ายทหารอากาศประจำประเทศอังกฤษ นาวอากาศเอก ละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ รองผู้อำนายการโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ จึงมารักษาราชการรองเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ และรับงานการตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศสืบต่อไป นาวาอากาศเอก ละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ ท่านได้ประสานงานอำนวยการจนสามารถเปิดโรงเรียนและรับนักเรียนนายเรืออากาศ (นนอ.) ชุดที่ ๑ จำนวน ๓๐ นาย โดยท่านเป็นผู้บังคับการโรงเรียนนายเรืออากาศท่านแรก และมี นาวาอากาศโท โชติ ขินะศิริ เป็นรองผู้บังคับการโรงเรียนฯโรงเรียนนายเรืออากาศ ตามแผนชั่วคราว นาวาอากาศเอก ละเอิบฯ ได้เสนอโครงการจัดตั้ง โรงเรียนนายเรืออากาศ เป็น ๒ แผน คือ ๑.แผนชั่วคราว เพื่อเร่งให้สามารถเปิดรับนักเรียนนายเรืออากาศชุดแรกได้ทันตามกำหนด จึงต้องดัดแปลงอาคารที่มีอยู่เดิมคือ “ตึกเหลือง” ซึ่งกองทหารญี่ปุ่นได้มานร้างไว้ในตอนต้นสงครามมหาเอเชียบูรพา (ปัจจุบันคือที่ตั้งของกรมสวัสดิการทหารอากาศ) เป็นโรงเรียนนายเรืออากาศชั่วคราว พิธีเปิดโรงเรียนนายเรืออากาศครั้งแรก กระทำเมื่อ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๖ โดยมี พลอากาศเอก หลวงเชิดวุฒากาส รองผู้บัญชาการทหารอากาศ มาเป็นประธานในพิธี ๒.แผนถาวร กำหนดเป็นโครงการต่อเนื่อง ๓ ปี โดยสร้างอาคารสถานที่ใหม่ทั้งหมด ในพื้นที่ฝังตะวันออกของถนนพหลโยธิน ประมาณหลักกิโลเมตรที่ ๒๔–๒๕ จำนวน ๒๕๐ ไร่ เพื่อให้เป็นสถานที่ก่อสร้างโรงเรียน ฯ ถาวร เปิดหลักสูตรเตรียมนายเรืออากาศ ความมุ่งหมายเดิมนั้น กองทัพอากาศต้องการจะรับนักเรียนที่จบประโยคเตรียมอุดมศึกษาให้เข้ามาเรียนโรงเรียนนายเรืออากาศ หลักสูตร ๓ ปี เมื่อเสร็จเป็นนายทหารสัญญาบัตรแล้วจึงไปต่อโรงเรียนการบินอีก ๒ ปี แต่ต่อมาสภากลาโหม มีมติให้ขยายหลักสูตรเป็น ๕ ปี ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วทบ.(ทอ.) ในระดับเดียวกับโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าและโรงเรียนนายเรือ ขณะที่เปิดโรงเรียนมาได้ ๓ ปี กองทัพอากาศพิจารณาเห็นว่า การที่จะให้นักเรียนศึกษาได้ผลดีจริงๆ ควรได้เปิดโรงเรียนเตรียมนายเรืออากาศขึ้นเอง โดยจัดการศึกษาแบบอยู่ประจำ หลักสูตร ๒ ปี จึงเปิดนักเรียนรุ่นแรก จำนวน ๖๒ นาย นักเรียนเตรียมนายเรืออากาศรุ่นที่ ๑ เข้ามารายงานตัวเมื่อ ๗ พฤษภาคม ๒๔๙๙</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\">         เมื่อปริมาณนักเรียนมากขึ้น อาคารสถานที่ก็จำเป็นต้องสร้างเพิ่มเติมเพราะที่มีอยู่ไม่เพียงพอต้องเบียดเสียด แม้จะอาศัยสถานที่กองบินน้อยที่ ๖ ด้วยแล้วก็ตาม เหตุที่ยังมิได้ลงมือก่อสร้างโรงเรียนตามโครงการถาวร ก็เพราะมีแนวความคิดที่จะไปอยู่รวมกับโรงเรียนการบินในสถานที่เดียวกัน ในขณะนั้นได้พิจารณาไปตั้ง ณ สนามบินท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี พลอากาศตรี หะริน หงสกุล เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศขณะนั้น เห็นว่าการไปรวมกับโรงเรียนการบินคงยังทำไม่ได้ไปอีกนาน เพราะงบประมาณมีจำกัด โรงเรียนนายเรืออากาศได้วางรากฐานไว้ดีแล้ว และเปิดมาสี่ปีแล้วจะหยุดยั้งไม่ได้ สภากองทัพอากาศก็เห็นชอบด้วย จึงได้มีคำสั่งแต่งตั้งกรรมการแผนการจัดสร้างโรงเรียนนายเรืออากาศถาวร โดยมี พลอากาศตรี บัว ศิริทรัพย์ ผู้ช่วยเสนาธิการทหารอากาศ ฝ่ายพัฒนาและวิจัย เป็นประธานกรรมการ โรงเรียนนายเรืออากาศ ตามแผนถาวร จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี ผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้กรุณาอนุมัติงบประมาณสำหรับเริ่มงานในปีพุทธศักราช ๒๕๐๐ เป็นเงินประมาณ ๘ ล้านบาท ให้ใช้ที่ดินนิคมทหารอากาศ ฝั่งตะวันออกของถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ ๒๔-๒๕ เป็นสถานที่ก่อสร้าง โดยสร้างตึกกองบังคับการ ๑ หลัง ตึกนอน ๒ หลังตึกเรียน ๑ หลัง พร้อมด้วยตึกรับประทานอาหารและโรงครัว ผู้บัญชาการทหารอากาศได้มาเป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๐ เวลา ๐๗๓๐ ณ บริเวณที่ดินระหว่างหลักกิโลเมตรที่ ๒๔–๒๕ บนถนนพหลโยธินที่ตั้งถาวรของโรงเรียนนายเรืออากาศ ซึ่งกองทัพอากาศได้กำหนดให้ก่อสร้างขึ้นใหม่ทั้งหมด ได้วางศิลาฤกษ์ เริ่มก่อสร้างโรงเรียนเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๐ ในขั้นต้นกำหนดสร้างตามงบประมาณประจำปี ๒๕๐๐ ให้สร้างอาคารกองบังคับการโรงเรียนนายเรืออากาศ ๑ หลัง ตึกนอนและตึกเรียน ๒ หลัง โรงเลี้ยงและโรงครัวอย่างละ ๑ หลัง</span> </span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726850350, expire = 1726936750, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b83f90e17bf4e287419c38cfc4f3a671' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dd8a9374aa0840eba70ca3e08ed989bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><strong>ก่อนจะมีนายเรืออากาศ</strong> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\">       เมื่อ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ กรมทหารอากาศ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกองทัพอากาศแต่ขณะนั้นยังไม่มีสถาบันที่จะผลิตนายทหารสัญญาบัตรของตนเอง นายทหารที่เป็นกำลังหลักในการสร้างกองทัพอากาศนั้น รับมาจากโรงเรียนนายพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และมหาวิทยาลัยภายนอก รวมไปถึงนายทหารประทวนที่รับเข้ามาเป็นศิษย์การบิน นายทหารต้นหน และนายทหารเทคนิคเหล่าอื่น ๆ เนื่องจากวิทยาการด้านการบินและการใช้กำลังทางอากาศ มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว แต่นายทหารที่กองทัพอากาศรับมานั้น ได้รับการฝึกศึกษาเน้นหนักไปทางเทคนิคของแต่ละเหล่าทัพซึ่งไม่ตรงกับความต้องการของกองทัพอากาศ ประกอบกับกองทัพอากาศขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อเตรียมกำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ บุพการีกองทัพอากาศ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง สินศุข) และนาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย์ เกตุทัต) ได้แสดงเจตนารมณ์มุ่งมั่นที่จะสร้างโรงเรียนผลิตนายทหารอากาศของตนเอง ดังที่ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ ได้เขียนบันทึกขณะเป็นเจ้ากรมอากาศยาน มีความตอนหนึ่งว่า “เราจะต้องมีโรงเรียน ผลิตนายทหารสัญญาบัตรของเราขึ้นเองให้จงได้</span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\">       กองทัพอากาศได้พิจารณาสานต่อเจตนารมณ์ของบุพการีด้วยตระหนักดีว่า การพัฒนากำลังทางอากาศของชาติให้เข้มแข็งได้นั้นจะต้องมีโรงเรียนนายเรืออากาศและโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ แต่ขณะนั้นกองทัพอากาศมีฝ่ายเสนาธิการน้อยมาก จึงเร่งตั้งโรงเรียนเสนาธิการขึ้นก่อนเพราะการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศต้องใช้เวลาเตรียมอาจารย์ประจำที่ศึกษามาทางนี้โดยตรง พลอากาศโท หลวงเทวฤทธิ์พันลึก ผู้บัญชาการทหารอากาศขณะนั้น จึงได้คัดเลือก นาวาอากาศโท ทวี จุลละทรัพย์ นาวาอากาศโท หะริน หงสกุล นาวาอากาศตรี สวัสดิ์ โพธิ์วิหคและ นาวาอากาศตรี ละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ ส่งไปศึกษาโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ณ ต่างประเทศเพื่อให้กลับมาช่วยวางรากฐานการศึกษาของกองทัพอากาศต่อไป เมื่อตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศเสร็จ ก็มาถึงการตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี ผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก หลวงเชิดวุฒากาส และ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เป็นผู้สนับสนุนให้ดำเนินการจัดตั้งสถาบันการศึกษาหลักที่จะผลิตนายทหารชั้นสัญญาบัตรของกองทัพอากาศขึ้นเอง ตามแนวความคิดของ“สามบรรพบุรุษ” โดย นาวาอากาศโท หะรินฯ ได้ร่างโครงการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ เสนอต่อ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เสนาธิการทหารอากาศ ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลการศึกษาโดยตรง</span></p>\n', created = 1726850350, expire = 1726936750, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dd8a9374aa0840eba70ca3e08ed989bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติโรงเรียนนายเรืออากาศ

รูปภาพของ bp26631

ก่อนจะมีนายเรืออากาศ

       เมื่อ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ กรมทหารอากาศ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกองทัพอากาศแต่ขณะนั้นยังไม่มีสถาบันที่จะผลิตนายทหารสัญญาบัตรของตนเอง นายทหารที่เป็นกำลังหลักในการสร้างกองทัพอากาศนั้น รับมาจากโรงเรียนนายพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และมหาวิทยาลัยภายนอก รวมไปถึงนายทหารประทวนที่รับเข้ามาเป็นศิษย์การบิน นายทหารต้นหน และนายทหารเทคนิคเหล่าอื่น ๆ เนื่องจากวิทยาการด้านการบินและการใช้กำลังทางอากาศ มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว แต่นายทหารที่กองทัพอากาศรับมานั้น ได้รับการฝึกศึกษาเน้นหนักไปทางเทคนิคของแต่ละเหล่าทัพซึ่งไม่ตรงกับความต้องการของกองทัพอากาศ ประกอบกับกองทัพอากาศขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อเตรียมกำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ บุพการีกองทัพอากาศ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง สินศุข) และนาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย์ เกตุทัต) ได้แสดงเจตนารมณ์มุ่งมั่นที่จะสร้างโรงเรียนผลิตนายทหารอากาศของตนเอง ดังที่ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ ได้เขียนบันทึกขณะเป็นเจ้ากรมอากาศยาน มีความตอนหนึ่งว่า “เราจะต้องมีโรงเรียน ผลิตนายทหารสัญญาบัตรของเราขึ้นเองให้จงได้

       กองทัพอากาศได้พิจารณาสานต่อเจตนารมณ์ของบุพการีด้วยตระหนักดีว่า การพัฒนากำลังทางอากาศของชาติให้เข้มแข็งได้นั้นจะต้องมีโรงเรียนนายเรืออากาศและโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ แต่ขณะนั้นกองทัพอากาศมีฝ่ายเสนาธิการน้อยมาก จึงเร่งตั้งโรงเรียนเสนาธิการขึ้นก่อนเพราะการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศต้องใช้เวลาเตรียมอาจารย์ประจำที่ศึกษามาทางนี้โดยตรง พลอากาศโท หลวงเทวฤทธิ์พันลึก ผู้บัญชาการทหารอากาศขณะนั้น จึงได้คัดเลือก นาวาอากาศโท ทวี จุลละทรัพย์ นาวาอากาศโท หะริน หงสกุล นาวาอากาศตรี สวัสดิ์ โพธิ์วิหคและ นาวาอากาศตรี ละเอิบ ปิ่นสุวรรณ์ ส่งไปศึกษาโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ณ ต่างประเทศเพื่อให้กลับมาช่วยวางรากฐานการศึกษาของกองทัพอากาศต่อไป เมื่อตั้งโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศเสร็จ ก็มาถึงการตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๓ พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี ผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก หลวงเชิดวุฒากาส และ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เป็นผู้สนับสนุนให้ดำเนินการจัดตั้งสถาบันการศึกษาหลักที่จะผลิตนายทหารชั้นสัญญาบัตรของกองทัพอากาศขึ้นเอง ตามแนวความคิดของ“สามบรรพบุรุษ” โดย นาวาอากาศโท หะรินฯ ได้ร่างโครงการจัดตั้งโรงเรียนนายเรืออากาศ เสนอต่อ พลอากาศโท หลวงปรุงปรีชากาศ เสนาธิการทหารอากาศ ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลการศึกษาโดยตรง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 357 คน กำลังออนไลน์