• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2759ae7fe01f9a11742bff9151ebdb34' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #800080\"><STRONG>เรื่อง รู้วิธีการเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพจิต</strong></span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<STRONG>&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #993300\"> ความหมายของสุขภาพกายและสุขภาพจิต</span></strong></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #000000\">&nbsp; 1. สุขภากาย&nbsp; หมายถึง สภาวะของร่างกายที่มีความสมบูรณ์&nbsp; แข็งแรง&nbsp; เจริญเติบโตอย่างปกติ&nbsp; ระบบต่างๆ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ของร่างกายสามารถทำงานได้เป็นปกติและมีประสิทธิภาพ&nbsp; ร่างกายมีความต้านทานโรคได้ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและความทุพพลภาพ</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. สุขภาพจิต&nbsp; หมายถึง&nbsp; สภาวะของจิตใจที่มีความสดชื่น แจ่มใส สมารถควบคุมอารมณ์ให้มั่นคงเป็นปกติ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ&nbsp; ได้ดี&nbsp; สามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และปราศจากความขัดแย้งหรือความสับสนภายในจิตใจ</span></h2><br />\n<H2 align=center><SPAN style=\"COLOR: #993300\"><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">คำสำคัญของสุขภาพกายและสุขภาพจิต</span></strong></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <SPAN style=\"COLOR: #000000\">สุขภพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับทุกชีวิตการที่จะดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติก็คือ&nbsp; การทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์&nbsp; จิตใจมีความสุข&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความพอใจ&nbsp; ความสมหวังทั้งตนเองและผู้อื่น ผู้ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีจะปฏิบัติหน้าที่ประจำวันไม่ว่าเป็นการเรียนหรือ</span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">การทำงานเป็นไปด้วยดี มีประสิทธิภาพการที่เรารู้สึกว่า ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเรามีความปกติและสมบูรณ์ดี&nbsp; เราก็จะมีความสุขในทางตรงข้าม ถ้าสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราผิดปกติหรือไม่สมบูรณ์&nbsp; เราก็จะมีความทุกขรรู้จักบำรุงรักษาและส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับ</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">ชีวิตของทุกคนในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า&nbsp; การรู้จักดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตนั้นเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะช่วยให้ชีวิตอบยู่ได้ด้วยความสุขสมบูรณ์ </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">และมีคุณภาพที่ดี </span></h2><br />\n<H2 align=center><SPAN style=\"COLOR: #993300\"><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี</span></strong></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #000000\"> ผู้ที่มีสุขภาพกายดีจะมีลักษณะดังนี้.</span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">1.มีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายที่สมวัย มีน้ำหนักและส่วนสูงเป็นไปตาม เกณฑ์อาย&nbsp;</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"COLOR: #000000\"><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">2.มีขนาดร่างกายสมส่วน คือ มีน้ำหนักและส่วนสูง</span><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">ที่ไดสัดส่วนกัน&nbsp;</span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">3.กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ มีความแข็งแรง ลุก - นั่งได้หลายครั้ง ดึงข้อได้หลายครั้ง&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"COLOR: #000000\"><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">4.มีความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียน</span><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">โลหิตที่ดี&nbsp;</span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">5.มีความอ่อนตัวที่ดี </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">6.มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนไหว&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">7.มีความอยากรับประทานอาหารและอยากรับประทานมากๆ ไม่เบื่ออาหาร</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">8.มีร่างกายแข็งแรง&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">9.มีภูมิต้านทานโรคดี และไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ไม่พิการหรือผิดปกติอื่นๆ&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">10.พักผ่อนนอนได้เป็นปกติ</span></h2><br />\n<H2 align=center><SPAN style=\"COLOR: #993300\"><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี</span></strong></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #000000\"> การที่จะบอกได้ว่า&nbsp; บุคคลใดมีสุขภาพจิตดีหรือไม่นั้นต้องสนิทหรือรู้จักกับบุคคลนั้นพอสมควร&nbsp; ถ้ารู้กันเพียงผิวเผิน คงบอกได้ยาก&nbsp; ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี มีดังนี้.</span></span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">1.ไม่เป็นโรคจิต&nbsp; โรคประสาท&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">2.สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">3.มีสัมพันธ์ภาพที่ดีกับบุคคลอื่นๆ</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">4.มีชีวิตมั่นคง ไม่จัดแย้ง เมื่อที่ใดก็มีความสุข ความสบายใจ&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">5.ยอมรับความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง&nbsp; เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">6.ยอมรับข้อบกพร่องของตนเอง&nbsp; ให้อภัยข้อบกพร่องข้อคนอื่น&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">7.มีความรับผิดชอบ&nbsp;&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">8.มีความพึงพอใจกับงานและผลงานของตนเอง&nbsp; พอใจที่จะเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ&nbsp;</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">9.แก้ไขความไม่สบายใจ ความคับข้องใจ และความเครียดของตนเองได้</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">10.รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น&nbsp; ไม่หวาดระแวงผู้อื่นเกินควร&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">11.มีอารมณ์มั่นคง&nbsp; เป็นคนอารมณ์ดี&nbsp; มีอารมณ์ขันบ้าง&nbsp; </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">12.มีความเชื่อมั่นในตนเอง</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">13.สามารถควบคุมความต้องการของตนเองในความเป็นแนวทางที่สังคมยอมรับ </span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">14.แสดงออกด้วยความรู้สึกสบายๆ</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">15.อยู่ในโลกความเป็นจริง สามารถเผชิญกับความจริงได</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">แนวทางในการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิต</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บุคคลที่มีสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดีอยู่แล้วควรที่จะดำรงรักษาสมรรถภาพที่ดีเอาไว้&nbsp; ส่วนบุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิตที่ไม่ดีก็ควรจะสร้างเสริมสมรรถภาพให้ดีขึ้น&nbsp; โดยมีแนวทางในการสร้างเสริมดังนี้</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"COLOR: #000000\"><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">แนวทางในการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย</span></strong></span></h2><br />\n<H2><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #333399\"> รู้จักพัฒนาสมรรถภาพทางกายในแต่ละด้าน&nbsp; ดังนี้</span></span></strong></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">1.การสร้างเสริมความทนทานของระบบหมุนเวียนเลือด&nbsp; กระทำได้โดย&nbsp; วิ่ง&nbsp; ว่ายน้ำ&nbsp; ถีบจักรยาน&nbsp; เต้นแอร์โรบิก&nbsp; เป็นต้น&nbsp; ต้องปฏิบัติติดต่อกันอย่างน้อย&nbsp; 20 - 30 นาทีต่อครั้ง&nbsp; และให้วัดชีพจรหรือการเต้นของหัวใจได้ 150 - 180 ครั้งต่อนาที</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">2.การสร้างเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กระทำโดยการใช้น้ำหนักตัวเอง&nbsp; เช่น&nbsp;&nbsp; ดันพื้น&nbsp; ดึงข้อ&nbsp; บาร์เดี่ยว&nbsp; บาร์คู่&nbsp; และใช้อุปกรณ์พวกดัมเบล&nbsp; บาร์เบล&nbsp; สปริง&nbsp; การปฏิบัติต้องปฏิบัติเร็ว ๆ ใช้เวลาน้อย&nbsp; เช่น ในการยกดัมเบลหรือบาร์เบล ให้ยก 1 - 3 ชุด&nbsp; ชุดละ 4 - 6 ครั้ง&nbsp; โดยใช้เวลาพักระหว่างชุด&nbsp; 3 - 4 นาที</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">3.การสร้างเสริมความทนทานของกล้ามเนื้อ&nbsp; ให้กระทำเช่นเดียวกับความแข็งแรงแต่ให้ปฏิบัติซ้ำหลายครั้ง ปฏิบัติช้าๆ&nbsp; และแต่ละครั้งให้ใช้เวลานาน</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">4.การสร้างเสริมความยืดหยุ่นหรือความอ่อนตัว&nbsp; กระทำโดยการยืดกล้ามเนื้อและการแยกข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น&nbsp; กล้ามเนื้อหัวไหล่&nbsp; ยืดกล้ามเนื้อหลัง&nbsp; แยกข้อต่อสะโพก เป็นต้น&nbsp; ให้คงการยืดไว้ประมาณ 5 - 10 วินาที&nbsp; ในการฝึกครั้งแรก และค่อยเพิ่มระยะเวลาขึ้นไห้ได้ 30 - 45 วินาที</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">5.การสร้างความคล่องแคล่วว่องไว&nbsp; กระทำโดย&nbsp; การวิ่งเร็ว&nbsp; การวิ่งกลับตัว เป็นต้น</span></h2><br />\n<H2><STRONG><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<SPAN style=\"COLOR: #333399\">การสร้างสมรถภาพทางกายแต่ละครั้ง&nbsp;&nbsp; ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน&nbsp; ดังนี้</span></span></strong></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">1.การอบอุ่นร่างกาย ( Warm&nbsp; Up )&nbsp; โดยการวิ่งเบาๆ และบริหารข้อต่อทุกส่วนเป็นเวลาประมาณ 5 - 15 นาที</span></h2><br />\n<H2><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\">2.ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสมรรถภาพทางกาย&nbsp; โดยในแต่ละครั้งให้ปฏิบัติครอบคลุมในทุกๆ ด้าน ได้แก่&nbsp; ความอดทนของระบบการหมุนเวียนเลือด&nbsp; ความอดทน&nbsp; และแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัว&nbsp; และใน 1 สัปดาห์&nbsp; ควรทำการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายอย่างน้อย 3. - 5 วัน&nbsp; โดยให้ปฏิบัติวันละ&nbsp; 30&nbsp; นาที&nbsp; ถึง 1 ชั่วโมง</span></h2><br />\n</p><P><SPAN style=\"FONT-FAMILY: AngsanaUPC; COLOR: #000000\"></span>&nbsp;</p>\n', created = 1719961545, expire = 1720047945, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2759ae7fe01f9a11742bff9151ebdb34' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สุขภาพกายสุขภาพจิต (รู้วิธีการเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพจิต)

 เรื่อง รู้วิธีการเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพจิต


        ความหมายของสุขภาพกายและสุขภาพจิต


        1. สุขภากาย  หมายถึง สภาวะของร่างกายที่มีความสมบูรณ์  แข็งแรง  เจริญเติบโตอย่างปกติ  ระบบต่างๆ        


        ของร่างกายสามารถทำงานได้เป็นปกติและมีประสิทธิภาพ  ร่างกายมีความต้านทานโรคได้ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและความทุพพลภาพ


        2. สุขภาพจิต  หมายถึง  สภาวะของจิตใจที่มีความสดชื่น แจ่มใส สมารถควบคุมอารมณ์ให้มั่นคงเป็นปกติ         


        สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ  ได้ดี  สามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี         


        และปราศจากความขัดแย้งหรือความสับสนภายในจิตใจ


คำสำคัญของสุขภาพกายและสุขภาพจิต


        สุขภพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับทุกชีวิตการที่จะดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติก็คือ  การทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์  จิตใจมีความสุข          ความพอใจ  ความสมหวังทั้งตนเองและผู้อื่น ผู้ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีจะปฏิบัติหน้าที่ประจำวันไม่ว่าเป็นการเรียนหรือ


การทำงานเป็นไปด้วยดี มีประสิทธิภาพการที่เรารู้สึกว่า ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเรามีความปกติและสมบูรณ์ดี  เราก็จะมีความสุขในทางตรงข้าม ถ้าสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเราผิดปกติหรือไม่สมบูรณ์  เราก็จะมีความทุกขรรู้จักบำรุงรักษาและส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับ


ชีวิตของทุกคนในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า  การรู้จักดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตนั้นเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะช่วยให้ชีวิตอบยู่ได้ด้วยความสุขสมบูรณ์


และมีคุณภาพที่ดี


ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี


        ผู้ที่มีสุขภาพกายดีจะมีลักษณะดังนี้.


1.มีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายที่สมวัย มีน้ำหนักและส่วนสูงเป็นไปตาม เกณฑ์อาย 


2.มีขนาดร่างกายสมส่วน คือ มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ไดสัดส่วนกัน 


3.กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ มีความแข็งแรง ลุก - นั่งได้หลายครั้ง ดึงข้อได้หลายครั้ง   


4.มีความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตที่ดี 


5.มีความอ่อนตัวที่ดี


6.มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนไหว 


7.มีความอยากรับประทานอาหารและอยากรับประทานมากๆ ไม่เบื่ออาหาร


8.มีร่างกายแข็งแรง  


9.มีภูมิต้านทานโรคดี และไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ไม่พิการหรือผิดปกติอื่นๆ   


10.พักผ่อนนอนได้เป็นปกติ


ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี


        การที่จะบอกได้ว่า  บุคคลใดมีสุขภาพจิตดีหรือไม่นั้นต้องสนิทหรือรู้จักกับบุคคลนั้นพอสมควร  ถ้ารู้กันเพียงผิวเผิน คงบอกได้ยาก  ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี มีดังนี้.


1.ไม่เป็นโรคจิต  โรคประสาท  


2.สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได 


3.มีสัมพันธ์ภาพที่ดีกับบุคคลอื่นๆ


4.มีชีวิตมั่นคง ไม่จัดแย้ง เมื่อที่ใดก็มีความสุข ความสบายใจ   


5.ยอมรับความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง  เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล


6.ยอมรับข้อบกพร่องของตนเอง  ให้อภัยข้อบกพร่องข้อคนอื่น  


7.มีความรับผิดชอบ  


8.มีความพึงพอใจกับงานและผลงานของตนเอง  พอใจที่จะเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ 


9.แก้ไขความไม่สบายใจ ความคับข้องใจ และความเครียดของตนเองได้


10.รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  ไม่หวาดระแวงผู้อื่นเกินควร 


11.มีอารมณ์มั่นคง  เป็นคนอารมณ์ดี  มีอารมณ์ขันบ้าง 


12.มีความเชื่อมั่นในตนเอง


13.สามารถควบคุมความต้องการของตนเองในความเป็นแนวทางที่สังคมยอมรับ


14.แสดงออกด้วยความรู้สึกสบายๆ


15.อยู่ในโลกความเป็นจริง สามารถเผชิญกับความจริงได


แนวทางในการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิต


        บุคคลที่มีสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดีอยู่แล้วควรที่จะดำรงรักษาสมรรถภาพที่ดีเอาไว้  ส่วนบุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางจิตที่ไม่ดีก็ควรจะสร้างเสริมสมรรถภาพให้ดีขึ้น  โดยมีแนวทางในการสร้างเสริมดังนี้


แนวทางในการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย


        รู้จักพัฒนาสมรรถภาพทางกายในแต่ละด้าน  ดังนี้


1.การสร้างเสริมความทนทานของระบบหมุนเวียนเลือด  กระทำได้โดย  วิ่ง  ว่ายน้ำ  ถีบจักรยาน  เต้นแอร์โรบิก  เป็นต้น  ต้องปฏิบัติติดต่อกันอย่างน้อย  20 - 30 นาทีต่อครั้ง  และให้วัดชีพจรหรือการเต้นของหัวใจได้ 150 - 180 ครั้งต่อนาที


2.การสร้างเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กระทำโดยการใช้น้ำหนักตัวเอง  เช่น   ดันพื้น  ดึงข้อ  บาร์เดี่ยว  บาร์คู่  และใช้อุปกรณ์พวกดัมเบล  บาร์เบล  สปริง  การปฏิบัติต้องปฏิบัติเร็ว ๆ ใช้เวลาน้อย  เช่น ในการยกดัมเบลหรือบาร์เบล ให้ยก 1 - 3 ชุด  ชุดละ 4 - 6 ครั้ง  โดยใช้เวลาพักระหว่างชุด  3 - 4 นาที


3.การสร้างเสริมความทนทานของกล้ามเนื้อ  ให้กระทำเช่นเดียวกับความแข็งแรงแต่ให้ปฏิบัติซ้ำหลายครั้ง ปฏิบัติช้าๆ  และแต่ละครั้งให้ใช้เวลานาน


4.การสร้างเสริมความยืดหยุ่นหรือความอ่อนตัว  กระทำโดยการยืดกล้ามเนื้อและการแยกข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น  กล้ามเนื้อหัวไหล่  ยืดกล้ามเนื้อหลัง  แยกข้อต่อสะโพก เป็นต้น  ให้คงการยืดไว้ประมาณ 5 - 10 วินาที  ในการฝึกครั้งแรก และค่อยเพิ่มระยะเวลาขึ้นไห้ได้ 30 - 45 วินาที


5.การสร้างความคล่องแคล่วว่องไว  กระทำโดย  การวิ่งเร็ว  การวิ่งกลับตัว เป็นต้น


     การสร้างสมรถภาพทางกายแต่ละครั้ง   ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน  ดังนี้


1.การอบอุ่นร่างกาย ( Warm  Up )  โดยการวิ่งเบาๆ และบริหารข้อต่อทุกส่วนเป็นเวลาประมาณ 5 - 15 นาที


2.ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสมรรถภาพทางกาย  โดยในแต่ละครั้งให้ปฏิบัติครอบคลุมในทุกๆ ด้าน ได้แก่  ความอดทนของระบบการหมุนเวียนเลือด  ความอดทน  และแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัว  และใน 1 สัปดาห์  ควรทำการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายอย่างน้อย 3. - 5 วัน  โดยให้ปฏิบัติวันละ  30  นาที  ถึง 1 ชั่วโมง


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 467 คน กำลังออนไลน์