• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d16ebe508ab032e729105bf938736173' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><span style=\"background-color: #008080;\"><strong>การอ่านจับใจความสำคัญ</strong></span></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"background-color: #33cccc;\"><strong>ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ</strong></span></p>\n<p>คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสำคัญหลักของข้อความ หรือเรื่องที่อ่านเป็นข้อความที่คลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้าหนึ่งๆ ไว้ทั้งหมด</p>\n<p><strong>ใจความสำคัญ</strong>&nbsp;หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยว ๆ ได้ โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งใน แต่ละย่อหน้าจะมีประโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน&nbsp; ๒ ประโยค</p>\n<p>&nbsp;<strong>ใจความรอง</strong>&nbsp;หรือ<strong> พลความ </strong>(พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือประโยคที่ขยายความประโยคใจความสำคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความสำคัญให้ชัดเจนขึ้น&nbsp;อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้คำจำกัดความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด ส่วนที่มิใช่ใจความสำคัญ และมิใช่ใจความรอง แต่ช่วยขยายความให้มากขึ้น คือ รายละเอียด</p>\n<p><strong>หลักการจับใจความสำคัญ</strong></p>\n<p>๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน</p>\n<p>๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า</p>\n<p>๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคำถามตนเองว่า เรื่องที่อ่าน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๔. นำสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสำคัญใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>วิธีการจับใจความสำคัญ</strong></p>\n<p>วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสำคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสำคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสำนวนภาษาและสำนวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสำคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้&nbsp; วิธีจับใจความสำคัญมีหลักดังนี้</p>\n<p>๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า</p>\n<p>๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ</p>\n<p>๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง</p>\n<p><strong>การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ</strong></p>\n<p>ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้</p>\n<p>๑.&nbsp;ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า</p>\n<p>๒.&nbsp;ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า</p>\n<p>๓.&nbsp;ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า</p>\n<p>๔.&nbsp;ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า</p>\n<p>๕.&nbsp;ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (ในกรณีใจความสำคัญหรือความคิดสำคัญอาจอยู่รวมในความคิดย่อยๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก)</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>การอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>การอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ </strong>เป็นการอ่านเพื่อค้นหาคำสำคัญที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพราะคำสำคัญจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถคาดเดาเรื่องราวได้ ก่อนที่จะอ่านรายละเอียดต่อไป</p>\n<p><strong>ความหมายของคำสำคัญ</strong></p>\n<p>คำสำคัญ หมายถึง คำที่บ่งบอกสาระสำคัญของเรื่อง หรือคำที่มีความหมายพิเศษ เพื่อกำหนดเป้าหมายที่จะนำไปสู่แนวคิดของเรื่อง ซึ่งในเรื่องอาจมีคำสำคัญหลายคำก็ได้และเมื่อนำคำเหล่านั้นมาเรียบเรียงจะทำให้เข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างคร่าวๆ</p>\n<p><strong>ลักษณะของคำสำคัญ</strong></p>\n<p>๑. เป็นคำที่ผู้เขียนพิมพ์ตัวหนา ตัวเอน หรือขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด เช่น</p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>ตัวเล็กนิด มีพิษเหลือใจ</strong></p>\n<p>สัตว์มีพิษมีอยู่ทั่วไป เช่น <strong>แมงป่อง ตะขาบ มดแดง</strong> และ<strong>มดคันไฟ </strong>พบอยู่บนดินในซอกหิน ซอกไม้ และโพรงไม้ <strong>ตัวต่อ แตน </strong>และ<strong>ผึ้ง </strong>พบอยู่ตามต้นไม้ <strong>คางคก </strong>และ<strong>ปลิง</strong> พบตามห้วย หนอง คลอง บึง <strong>ยุง </strong>และ <strong>บึ่ง </strong>บินอยู่ในอากาศ</p>\n<p>สัตว์แต่ละชนิดมีอาวุธสำหรับต่อสู้ศัตรู อาวุธเหล่านี้อาจอู่ตรงส่วนใดของสัตว์ก็ได้ เมื่อมันกัดหรือต่อยศัตรูแล้ว ก็จะฉีดน้ำพิษเข้าทางแผลทำให้เจ็บปวด บางชนิดอาจเป็นอันตรายถึงตายได้</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>จากข้อความข้างต้น คำที่พิมพ์ตัวหนา คือ <strong>แมงป่อง ตะขาบ มดแดง มดคันไฟ &nbsp;&nbsp;ตัวต่อ แตน ผึ้ง คางคก ปลิง ยุง </strong>และ<strong>บึ่ง </strong>แสดงว่าผู้เขียนต้องการบอกให้ทราบว่า&nbsp; สัตว์ที่พิมพ์ตัวหนา ถึงแม้จะตัวเล็ก แต่เป็นสัตว์มีพิษ ซึ่งคำที่พิมพ์ด้วยตัวหนาดังกล่าว จึงเป็นคำสำคัญของข้อความนี้</p>\n<p>๒.&nbsp; เป็นคำที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเหตุและเป็นผลของเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น</p>\n<p>เศรษฐกิจพอเพียง คือ การสร้างงานอาชีพให้มีฐานะพอมีพอกิน เพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่า เศรษฐกิจพอเพียง ต้องช่วยตัวเองไม่ฟุ่มเฟือย อยู่อย่างธรรมดา อยู่อย่างมีเหตุมีผล ถ้าเราดำเนินชีวิตเช่นนี้ ก็คงมีเงินเหลือเก็บ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>จากข้อความข้างต้นจะปรากฏคำที่มีลักษณะเป็นเหตุและผลกัน ซึ่งเหตุก็คือ การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ จะทำให้มีเงินเหลือเก็บ ดังนั้น คำสำคัญของข้อความดังกล่าว คือ <strong>เศรษฐกิจพอเพียง</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>หลักการอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ</strong></p>\n<p>๑. <strong>กรณีที่ผู้เขียนระบุคำสำคัญ </strong>คือ คำที่พิมพ์ด้วยตัวหนา ตัวเอน ขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด มีขั้นตอนการอ่าน ดังนี้</p>\n<p>ขั้นที่ ๑ อ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่อง</p>\n<p>ขั้นที่ ๒ เพ่งตาที่จุดกึ่งกลางของบรรทัดแรก หรือชื่อเรื่อง แล้วให้เคลื่อนสายดาผ่านกึ่งกลางของบรรทัดแรกเรื่อยลงไปจนถึงบรรทัดสุดท้าย เพื่อหาคำที่พิมพ์ตัวหนา หรือตัวเอน หรือคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด</p>\n<p>๒. <strong>กรณีที่ผู้เขียนไม่ได้ระบุคำสำคัญไว้ในเนื้อเรื่อง </strong>ให้ผู้อ่านค้นหาคำสำคัญด้วยตนเอง มีขั้นตอนการอ่าน ดังนี้</p>\n<p>ขั้นที่ ๑ อ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่อง</p>\n<p>ขั้นที่ ๒ เพ่งตาที่จุดกึ่งกลางของบรรทัดแรก แล้วเคลื่อนสายตาผ่านคำทุกคำของแต่ละบรรทัด แล้วทำความเข้าใจความหมายของคำทุกคำ</p>\n<p>ขั้นที่ ๓ ทำความเข้าใจเรื่องราวในแต่ละย่อหน้า แล้วลองตอบคำถามให้ได้ว่า ใจความในแต่ละย่อหน้ากล่าวถึงอะไร และจดบันทึกใจความของแต่ละย่อหน้าไว้</p>\n<p>ขั้นที่ ๔ อ่านเนื้อเรื่องให้ละเอียดอีกครั้ง เพื่อตรวจทานข้อสรุปที่ได้จดบันทึกไว้ว่าถูกต้อง สมบูรณ์หรือไม่</p>\n<p align=\"right\">(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๒)</p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong><strong>การอ่านจับใจความเพื่อหาประโยคสำคัญ</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>การอ่านจับใจความเพื่อหาประโยคสำคัญในเรื่องที่อ่าน จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถจับใจความได้รวดเร็วขึ้น</p>\n<p><strong>ความหมายของประโยคสำคัญ</strong></p>\n<p>ประโยคสำคัญ หมายถึง ประโยคหลักของแต่ละย่อหน้า เป็นประโยคที่มีควรจดจำ</p>\n<p><strong>ลักษณะของประโยคหลัก</strong></p>\n<p>ประโยคสำคัญมีลักษณะ ดังนี้</p>\n<p>๑. เป็นประโยคหลักของข้อความในย่อหน้า โดยมีประโยคอื่นๆ ช่วยเสริมหรืออธิบายขยายความให้มีความละเอียดชัดเจนมากขึ้น เช่น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ สัตว์และพืช สิ่งมีชีวิตถ้าขาดน้ำจะต้องตาย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>จากข้อความข้างต้นประโยคสำคัญ คือ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิต ส่วนคำสำคัญของข้อความอยู่ในประโยคสำคัญ คือ “น้ำ”</p>\n<p>๒. เป็นประโยคที่มักจะมีคำสำคัญปรากฏอยู่ในประโยคนั้น เช่น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>น้ำสะอาด </strong>คือ น้ำที่ไม่มีสิ่งสกปรกและเชื้อโรคเจือปน การทำน้ำให้สะอาด ทำได้โดยการต้ม การใช้สารเคมี การกรอง และการกลั่น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>จากข้อความข้างต้นประโยคสำคัญ คือ <strong>น้ำสะอาด</strong> คือ น้ำที่ไม่มีสิ่งสกปรกและเชื้อโรคเจือปน ส่วนคำสำคัญของข้อความอยู่ในประโยคสำคัญ คือ <strong>“น้ำสะอาด”</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>๓. เป็นประโยคหลักที่อาจปรากฏอยู่ตอนต้น ตอนกลาง หรือตอนท้ายของย่อหน้า อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้เขียน เช่น</p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>ประโยคสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า</strong></p>\n<p>ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งให้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง ความร้อนจากด้วยอาทิตย์ ทำให้โลกอบอุ่น แสงจากดวงอาทิตย์ทำให้เราเห็นสิ่งต่าง ๆ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>ประโยคสำคัญ</strong> คือ “ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งให้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง”&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อยู่ตอนต้นของย่อหน้า</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>ประโยคสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า</strong></p>\n<p>แม่เสือและลูกเสือ ๓ ตัว อาศัยอยู่ในป่าละเมาะใกล้ทุ่งหญ้า ต้นไม้และใบหญ้า ในบริเวณนั้นเริ่มมีสีเหลือง เพราะถูกแสงแดดแผดเผา ส่วนน้ำในลำธารก็แห้งขอด &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แม่เสือจึงพาลูกเสือเดินทางออกมาจากบริเวณนั้นมุ่งหน้าตรงไปยังทิศตะวันตก ซึ่งมีภูเขาลูกใหญ่อยู่เบื้องหน้า แม่เสือคาดหวังว่าที่ภูเขาลูกนั้นจะต้องมีอาหารอุดมสมบูรณ์ เพราะมันแลเห็นต้นไม้และใบหญ้าเขียวชอุ่มต่างจากที่มันอยู่</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>ประโยคสำคัญ</strong> “แม่เสือจึงพาลูกเสือเดินทางออกมาจากบริเวณ”&nbsp; อยู่ตอนกลางของย่อหน้า</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>ประโยคสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า</strong></p>\n<p>เป็นที่ทราบกันดีว่า ปลาวาฬเป็นสัตว์ช่างคุยและยังเป็นนักร้องเพลง แต่บัดนี้ไทราบเพิ่มเติมว่าการส่งเสียงร้องเพลงหรือคุยกันของปลาวาฬ มิได้เป็นการสื่อสารของปลาวาฬแบบปกติธรรมดา แต่เป็นการเตือนภัย และบอกสภาพแวดล้อมรอบตัวของปลาวาฬ ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชนิดแรกที่มีระบบเรดาร์เสียงนำ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>ประโยคสำคัญ</strong> คือ “ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีระเรดาร์เสียงนำ” อยู่ตอนท้ายของย่อหน้า เป็นประโยคสำคัญสรุปเนื้อความของย่อหน้านี้ว่า ปลาวาฬมีระบบเรดาร์เสียงนำทาง เพื่อเตือนภัย และบอกสภาพแวดล้อมรอบตัวของปลาวาฬ มิใช่เสียงร้องเพลงหรือพูดคุยของปลาวาฬ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>หลักการอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคัญ</strong></p>\n<p>การอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคัญ ผู้อ่านควรปฏิบัติ ดังนี้</p>\n<p>ขั้นที่ ๑ อ่านสำรวจเพื่อตรวจหาคำสำคัญ</p>\n<p>ขั้นที่ ๒ อ่านละเอียด โดยให้ผู้อ่านอ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่องจากนั้นให้อ่านเนื้อเรื่องทีละย่อหน้าให้เข้าใจเพื่อค้นหาประโยคสำคัญ</p>\n<p>ขั้นที่ ๓ บันทึกประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าลงในสมุด</p>\n<p>ขั้นที่ ๔ อ่านคร่าว ๆ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในเนื้อเรื่องที่อ่านแต่ละย่อหน้าและตรวจสอบความถูกต้องของประโยคสำคัญ</p>\n<p>ขั้นที่ ๕ ตรวจทานความถูกต้องในการบันทึก ได้แก่ การเขียนสะกดคำความถูกต้องของประโยค</p>\n<p align=\"right\">( สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๒๗)</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong></p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>การอ่านจับใจความเพื่อหาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข้อเท็จจริง&nbsp; </strong>หมายถึง ข้อความแห่งเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือเป็นอยู่ตามความจริง&nbsp; ข้อความหรือเหตุการณ์ที่จะต้องวินิจฉัยว่าเท็จหรือจริง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ข้อคิดเห็น&nbsp; </strong>หมายถึง ความเห็น&nbsp; ความรู้สึกนึกคิดของผู้ส่งสารที่สอดแทรกอยู่ในเนื้อหา</p>\n<p><strong>อาจกล่าวได้ว่า ข้อเท็จจริง&nbsp; </strong>นั้นต้องสามารถพิสูจน์สนับสนุนยืนยันได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ข้อคิดเห็น&nbsp;&nbsp; </strong>นั้นไม่สามารถสนับสนุนยืนยันได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ลักษณะของข้อเท็จจริง</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>๑.&nbsp; มีความเป็นไปได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. มีความสมจริง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓. มีหลักฐานเชื่อถือได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๔. มีความสมเหตุสมผล</p>\n<p><strong>ลักษณะของข้อคิดเห็น</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>๑.&nbsp; เป็นข้อความที่แสดงความรู้สึก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. เป็นข้อความที่แสดงการคาดคะเน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓. เป็นข้อความที่แสดงความเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปไมย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๔. เป็นข้อความที่เป็นข้อเสนอแนะหรือเป็นแนวคิดของผู้พูดและผู้เขียนเอง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ตัวอย่างข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>๑.&nbsp; กตเวที หมายถึง สนองคุณท่าน (พิสูจน์ได้ด้วยค้นความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.๒๕๔๔)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. ดวงตาเป็นอวัยวะที่ทำให้มองเห็น&nbsp; (พิสูจน์ได้จากประสบการณ์)</p>\n<p><strong>ตัวอย่างข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑.&nbsp; การปกครองในระบอบประชาธิปไตยดีที่สุด (ไม่มีข้อวินิจฉัย)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. คนเรียนเก่งย่อมประสบความสำเร็จในชีวิตเสมอ (ไม่มีข้อยืนยัน)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓. การรับประทานผักไม่น่าจะเป็นผลดีต่อร่างกาย (ไม่มีข้อยืนยัน)</p>\n<p align=\"center\"><strong>การลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การคิดวิเคราะห์ในการรับสาร</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การสื่อสารในปัจจุบันผ่านสื่อหลายประเภท เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร&nbsp; โทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ผู้ส่งสารถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็น โดยการพูดและการเขียนตามประสบการณ์ การศึกษาและการอบรม&nbsp; ตลอดจนความเชื่อและนิสัยของแต่ละคนที่แตกต่างกัน ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เราได้รับมานั้นอาจมีทั้งข้อเท็จจริง การบิดเบือนข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น ผู้รับสารจึงควรพิจารณาวิเคราะห์ให้รอบคอบ ถี่ถ้วน เมื่อฟัง ดู และอ่านสารนั้นๆ ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑. เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร&nbsp; มีเนื้อหาอย่างไร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. ผู้รับสารมีความน่าเชื่อถือเพียงใด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓. ผู้ส่งสารมีเจตนาและจุดมุ่งหมายอะไร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๔. พิจารณาว่าอะไรเป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๕. หาข้อมูลประกอบหรือเปรียบเทียบ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๖. คิดวิเคราะห์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล&nbsp; อ้างอิงได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p><strong>การพูดและเขียนแสดงความคิดเห็น</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>เมื่อวิเคราะห์สารจากฟัง ดู และอ่านแล้ว ผู้รับสารต้องการพูดหรือเขียน แสดงความคิดเห็น ควรยึดแนวปฏิบัติดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑. จับประเด็นสำคัญและเรียงลำดับเนื้อหา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. แสดงความคิดเห็นให้ตรงประเด็น&nbsp; มีข้อมูลอ้างอิงชัดเจน&nbsp; ถูกต้อง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓. แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและเป็นธรรม &nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>๔. ใช้ถ้อยคำสุภาพ&nbsp; หลีกเลี่ยงการใช้คำรุนแรง&nbsp; ท้าทาย&nbsp; และล่วงเกิน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๕ มีมารยาทในการพูดและเขียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;(สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๑ : ๑๕๓)</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>การจับใจความสำคัญและหาแนวคิดเรื่อง</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การอ่านเพื่อจับใจความ เป็นการอ่านที่มุ่งให้ผู้อ่านเก็บสาระสำคัญของเรื่องที่อ่าน</p>\n<p><strong>ความหมายของใจความ</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ใจความ </strong>&nbsp;หมายถึง <strong>&nbsp;ส่วนสำคัญของเรื่อง </strong>ตรงกันข้ามกับ <strong>&nbsp;พลความ </strong>&nbsp;หมายถึง <strong>&nbsp;ส่วนที่ไม่สำคัญของเรื่อง </strong>ใจความจะมีปรากฏอยู่ตามย่อหน้าต่างๆ ของเรื่องที่อ่าน&nbsp; ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นประโยคที่เป็นส่วนสำคัญในส่วนต้น&nbsp; ส่วนกลาง&nbsp; หรือส่วยท้ายของย่อหน้า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>หลักการอ่านเพื่อค้นหาใจความ</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ในการอ่านเพื่อค้นหาใจความ ผู้อ่านควรปฏิบัติ&nbsp; ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๑&nbsp; อ่านชื่อเรื่องทุกถ้อยคำ ทำความเข้าใจความหมายก่อนที่จะอ่านเนื้อเรื่อง เพราะโดยทั่วไปชื่อเรื่องจะให้แนวทางเกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง</p>\n<p>ขั้นที่ ๒&nbsp; อ่านเนื้อเรื่องทีละย่อหน้าอย่างละเอียด&nbsp; เมื่ออ่านจบแต่ละย่อหน้าให้หาประโยคสำคัญของย่อหน้า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๓&nbsp; จดบันทึกประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าลงสมุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๔&nbsp; อ่านประโยคสำคัญที่จดบันทึกไว้อย่างละเอียดแล้วเทียบเคียงกับเนื้อเรื่องที่อ่านทั้งหมด&nbsp; เพื่อตรวจสอบว่าเป็นประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าจริงหรือไม่</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๕&nbsp; นำประโคสำคัญทั้งหมดที่บันทึกไว้มาเขียนเรียงลำดับให้เป็นใจความโดยปรับภาษาให้สละสลวย และให้มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๖&nbsp; อ่านใจความที่ปรับภาษาอย่างละเอียด&nbsp; เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง&nbsp; ความชัดเจน&nbsp; การสะกดคำ&nbsp; การเว้นวรรคและหลักภาษา</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความหมายของแนวคิด</strong></p>\n<p>แนวคิด&nbsp; หมายถึง &nbsp;แก่นของเรื่องที่เป็นเนื้อหาสำคัญ</p>\n<p><strong>ความสำคัญของแนวคิด</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>แนวคิดมีความสำคัญต่อผู้อ่านทุกคน เพราะจะช่วยให้เข้าใจในเรื่องต่อไปนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑.&nbsp; ทิศทางของเนื้อเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ&nbsp; สะดวกต่อการเข้าใจและจดจำ ตลอดจนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๒. แนวคิดเป็นข้อสรุปที่สั้นที่สุด ทำให้นักเรียนมีทักษะในการแยกใจความและ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พลความออกจากกันได้อย่างรวดเร็ว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓.&nbsp; แนวคิดช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการให้ผู้อ่านนำแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาวิชาการอื่น&nbsp; หรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันในทิศทางที่ผู้เขียนได้ชี้แนะทั้งในทางตรงและทางนัย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>ประเภทของแนวคิด</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>แนวคิดแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๑.&nbsp; แนวคิดเป็นคำ&nbsp; มีลักษณะที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม</p>\n<p>๒. แนวคิดที่เป็นกลุ่มคำ&nbsp; มีลักษณะที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ๓.&nbsp; แนวคิดเป็นประโยค&nbsp; เป็นข้อสรุปสั้นๆ&nbsp; เพียง ๑ ประโยค&nbsp; อาจจะเป็นประโยคสามัญ &nbsp;ประโยครวมหรือประโยคซ้อน&nbsp; อย่างใดอย่างหนึ่ง</p>\n<p><strong>หลักการอ่านจับใจความเพื่อค้นหาแนวคิด</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ในการอ่านจับใจความเพื่อค้นหาแนวคิด&nbsp; ผู้อ่านควรปฏิบัติ&nbsp; ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๑ อ่านสำรวจ เพื่อค้นหาคำ กลุ่มคำ&nbsp; หรือประโยคสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง โดยสังเกตคำที่ขีดเส้นใต้&nbsp; คำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด&nbsp; คำที่พิมพ์ด้วยตัวหนา&nbsp; หรือคำที่พิมพ์&nbsp; ตัวเอนซึ่งอาจจะเป็นคำ กลุ่มคำ&nbsp; หรือประโยคที่นำไปสู่การสรุปเป็นแนวคิดได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๒&nbsp; อ่านเนื้อเรื่องโดยละเอียดอีกครั้งเพื่อตรวจสอบรายละเอียดของเรื่องในทุกประเด็น&nbsp; พิจารณาความหมายของคำ&nbsp; กลุ่มคำหรือประโยคทั้งความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย&nbsp; และจัดเรียงลำดับเหตุการณ์ที่นำไปสู่ข้อสรุปและจัดเรียงลำดับเหตุการณ์ที่นำไปสู่ข้อสรุป&nbsp; และเขียนเรียบเรียงย่อเรื่องให้สั้นที่สุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๓&nbsp; อ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆ เพื่อตรวจสอบ ทบทวน พิจารณาคำ หรือประโยคที่เขียนเรียบเรียงนั้นมีความหมายครอบคลุมเนื้อหาของเรื่องที่อ่านหรือไม่</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ ๔&nbsp; เขียนสรุปเรียนเรียงแนวคิดจากการย่อเรื่องนั้นแล้วอ่านทบทวนตัดประเด็นที่เห็นว่าเป็นส่วนอธิบายหรือขยายความออก&nbsp; ให้เหลือเฉพาะแก่นของเรื่อง</p>\n<p align=\"right\">(สำนักงานคณะงานกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๑๓-๒๙)</p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715653478, expire = 1715739878, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d16ebe508ab032e729105bf938736173' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การอ่านจับใจความสำคัญ

รูปภาพของ nbssunisa

การอ่านจับใจความสำคัญ

 

ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ

คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสำคัญหลักของข้อความ หรือเรื่องที่อ่านเป็นข้อความที่คลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้าหนึ่งๆ ไว้ทั้งหมด

ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยว ๆ ได้ โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งใน แต่ละย่อหน้าจะมีประโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน  ๒ ประโยค

 ใจความรอง หรือ พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือประโยคที่ขยายความประโยคใจความสำคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความสำคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้คำจำกัดความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด ส่วนที่มิใช่ใจความสำคัญ และมิใช่ใจความรอง แต่ช่วยขยายความให้มากขึ้น คือ รายละเอียด

หลักการจับใจความสำคัญ

๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน

๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า

๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคำถามตนเองว่า เรื่องที่อ่าน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร

            ๔. นำสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสำคัญใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย

 

 

 

วิธีการจับใจความสำคัญ

วิธีการจับใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสำคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสำคัญที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสำนวนภาษาและสำนวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสำคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้  วิธีจับใจความสำคัญมีหลักดังนี้

๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้า

๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ

๓. สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง

การพิจารณาตำแหน่งใจความสำคัญ

ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้

๑. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า

๒. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า

๓. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า

๔. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า

๕. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (ในกรณีใจความสำคัญหรือความคิดสำคัญอาจอยู่รวมในความคิดย่อยๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก)

 

 

 

 

 

 

 

 

การอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ

 

การอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ เป็นการอ่านเพื่อค้นหาคำสำคัญที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพราะคำสำคัญจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถคาดเดาเรื่องราวได้ ก่อนที่จะอ่านรายละเอียดต่อไป

ความหมายของคำสำคัญ

คำสำคัญ หมายถึง คำที่บ่งบอกสาระสำคัญของเรื่อง หรือคำที่มีความหมายพิเศษ เพื่อกำหนดเป้าหมายที่จะนำไปสู่แนวคิดของเรื่อง ซึ่งในเรื่องอาจมีคำสำคัญหลายคำก็ได้และเมื่อนำคำเหล่านั้นมาเรียบเรียงจะทำให้เข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างคร่าวๆ

ลักษณะของคำสำคัญ

๑. เป็นคำที่ผู้เขียนพิมพ์ตัวหนา ตัวเอน หรือขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด เช่น

 

ตัวเล็กนิด มีพิษเหลือใจ

สัตว์มีพิษมีอยู่ทั่วไป เช่น แมงป่อง ตะขาบ มดแดง และมดคันไฟ พบอยู่บนดินในซอกหิน ซอกไม้ และโพรงไม้ ตัวต่อ แตน และผึ้ง พบอยู่ตามต้นไม้ คางคก และปลิง พบตามห้วย หนอง คลอง บึง ยุง และ บึ่ง บินอยู่ในอากาศ

สัตว์แต่ละชนิดมีอาวุธสำหรับต่อสู้ศัตรู อาวุธเหล่านี้อาจอู่ตรงส่วนใดของสัตว์ก็ได้ เมื่อมันกัดหรือต่อยศัตรูแล้ว ก็จะฉีดน้ำพิษเข้าทางแผลทำให้เจ็บปวด บางชนิดอาจเป็นอันตรายถึงตายได้

 

 

จากข้อความข้างต้น คำที่พิมพ์ตัวหนา คือ แมงป่อง ตะขาบ มดแดง มดคันไฟ   ตัวต่อ แตน ผึ้ง คางคก ปลิง ยุง และบึ่ง แสดงว่าผู้เขียนต้องการบอกให้ทราบว่า  สัตว์ที่พิมพ์ตัวหนา ถึงแม้จะตัวเล็ก แต่เป็นสัตว์มีพิษ ซึ่งคำที่พิมพ์ด้วยตัวหนาดังกล่าว จึงเป็นคำสำคัญของข้อความนี้

๒.  เป็นคำที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเหตุและเป็นผลของเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น

เศรษฐกิจพอเพียง คือ การสร้างงานอาชีพให้มีฐานะพอมีพอกิน เพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่า เศรษฐกิจพอเพียง ต้องช่วยตัวเองไม่ฟุ่มเฟือย อยู่อย่างธรรมดา อยู่อย่างมีเหตุมีผล ถ้าเราดำเนินชีวิตเช่นนี้ ก็คงมีเงินเหลือเก็บ

 

จากข้อความข้างต้นจะปรากฏคำที่มีลักษณะเป็นเหตุและผลกัน ซึ่งเหตุก็คือ การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ จะทำให้มีเงินเหลือเก็บ ดังนั้น คำสำคัญของข้อความดังกล่าว คือ เศรษฐกิจพอเพียง

 

หลักการอ่านจับใจความเพื่อหาคำสำคัญ

๑. กรณีที่ผู้เขียนระบุคำสำคัญ คือ คำที่พิมพ์ด้วยตัวหนา ตัวเอน ขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด มีขั้นตอนการอ่าน ดังนี้

ขั้นที่ ๑ อ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่อง

ขั้นที่ ๒ เพ่งตาที่จุดกึ่งกลางของบรรทัดแรก หรือชื่อเรื่อง แล้วให้เคลื่อนสายดาผ่านกึ่งกลางของบรรทัดแรกเรื่อยลงไปจนถึงบรรทัดสุดท้าย เพื่อหาคำที่พิมพ์ตัวหนา หรือตัวเอน หรือคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด

๒. กรณีที่ผู้เขียนไม่ได้ระบุคำสำคัญไว้ในเนื้อเรื่อง ให้ผู้อ่านค้นหาคำสำคัญด้วยตนเอง มีขั้นตอนการอ่าน ดังนี้

ขั้นที่ ๑ อ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่อง

ขั้นที่ ๒ เพ่งตาที่จุดกึ่งกลางของบรรทัดแรก แล้วเคลื่อนสายตาผ่านคำทุกคำของแต่ละบรรทัด แล้วทำความเข้าใจความหมายของคำทุกคำ

ขั้นที่ ๓ ทำความเข้าใจเรื่องราวในแต่ละย่อหน้า แล้วลองตอบคำถามให้ได้ว่า ใจความในแต่ละย่อหน้ากล่าวถึงอะไร และจดบันทึกใจความของแต่ละย่อหน้าไว้

ขั้นที่ ๔ อ่านเนื้อเรื่องให้ละเอียดอีกครั้ง เพื่อตรวจทานข้อสรุปที่ได้จดบันทึกไว้ว่าถูกต้อง สมบูรณ์หรือไม่

(สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๒)

 การอ่านจับใจความเพื่อหาประโยคสำคัญ

 

การอ่านจับใจความเพื่อหาประโยคสำคัญในเรื่องที่อ่าน จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถจับใจความได้รวดเร็วขึ้น

ความหมายของประโยคสำคัญ

ประโยคสำคัญ หมายถึง ประโยคหลักของแต่ละย่อหน้า เป็นประโยคที่มีควรจดจำ

ลักษณะของประโยคหลัก

ประโยคสำคัญมีลักษณะ ดังนี้

๑. เป็นประโยคหลักของข้อความในย่อหน้า โดยมีประโยคอื่นๆ ช่วยเสริมหรืออธิบายขยายความให้มีความละเอียดชัดเจนมากขึ้น เช่น

 

น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ สัตว์และพืช สิ่งมีชีวิตถ้าขาดน้ำจะต้องตาย

 

 

จากข้อความข้างต้นประโยคสำคัญ คือ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิต ส่วนคำสำคัญของข้อความอยู่ในประโยคสำคัญ คือ “น้ำ”

๒. เป็นประโยคที่มักจะมีคำสำคัญปรากฏอยู่ในประโยคนั้น เช่น

 

น้ำสะอาด คือ น้ำที่ไม่มีสิ่งสกปรกและเชื้อโรคเจือปน การทำน้ำให้สะอาด ทำได้โดยการต้ม การใช้สารเคมี การกรอง และการกลั่น

 

จากข้อความข้างต้นประโยคสำคัญ คือ น้ำสะอาด คือ น้ำที่ไม่มีสิ่งสกปรกและเชื้อโรคเจือปน ส่วนคำสำคัญของข้อความอยู่ในประโยคสำคัญ คือ “น้ำสะอาด”

 

 

๓. เป็นประโยคหลักที่อาจปรากฏอยู่ตอนต้น ตอนกลาง หรือตอนท้ายของย่อหน้า อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้เขียน เช่น

 

ประโยคสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า

ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งให้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง ความร้อนจากด้วยอาทิตย์ ทำให้โลกอบอุ่น แสงจากดวงอาทิตย์ทำให้เราเห็นสิ่งต่าง ๆ

 

 

ประโยคสำคัญ คือ “ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งให้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง”            อยู่ตอนต้นของย่อหน้า

 

ประโยคสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า

แม่เสือและลูกเสือ ๓ ตัว อาศัยอยู่ในป่าละเมาะใกล้ทุ่งหญ้า ต้นไม้และใบหญ้า ในบริเวณนั้นเริ่มมีสีเหลือง เพราะถูกแสงแดดแผดเผา ส่วนน้ำในลำธารก็แห้งขอด                แม่เสือจึงพาลูกเสือเดินทางออกมาจากบริเวณนั้นมุ่งหน้าตรงไปยังทิศตะวันตก ซึ่งมีภูเขาลูกใหญ่อยู่เบื้องหน้า แม่เสือคาดหวังว่าที่ภูเขาลูกนั้นจะต้องมีอาหารอุดมสมบูรณ์ เพราะมันแลเห็นต้นไม้และใบหญ้าเขียวชอุ่มต่างจากที่มันอยู่

 

 

ประโยคสำคัญ “แม่เสือจึงพาลูกเสือเดินทางออกมาจากบริเวณ”  อยู่ตอนกลางของย่อหน้า

 

 

 

 

 

 

                    

ประโยคสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า

เป็นที่ทราบกันดีว่า ปลาวาฬเป็นสัตว์ช่างคุยและยังเป็นนักร้องเพลง แต่บัดนี้ไทราบเพิ่มเติมว่าการส่งเสียงร้องเพลงหรือคุยกันของปลาวาฬ มิได้เป็นการสื่อสารของปลาวาฬแบบปกติธรรมดา แต่เป็นการเตือนภัย และบอกสภาพแวดล้อมรอบตัวของปลาวาฬ ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชนิดแรกที่มีระบบเรดาร์เสียงนำ

 

ประโยคสำคัญ คือ “ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีระเรดาร์เสียงนำ” อยู่ตอนท้ายของย่อหน้า เป็นประโยคสำคัญสรุปเนื้อความของย่อหน้านี้ว่า ปลาวาฬมีระบบเรดาร์เสียงนำทาง เพื่อเตือนภัย และบอกสภาพแวดล้อมรอบตัวของปลาวาฬ มิใช่เสียงร้องเพลงหรือพูดคุยของปลาวาฬ

 

หลักการอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคัญ

การอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคัญ ผู้อ่านควรปฏิบัติ ดังนี้

ขั้นที่ ๑ อ่านสำรวจเพื่อตรวจหาคำสำคัญ

ขั้นที่ ๒ อ่านละเอียด โดยให้ผู้อ่านอ่านชื่อเรื่องแล้วทำความเข้าใจความหมายของชื่อเรื่องจากนั้นให้อ่านเนื้อเรื่องทีละย่อหน้าให้เข้าใจเพื่อค้นหาประโยคสำคัญ

ขั้นที่ ๓ บันทึกประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าลงในสมุด

ขั้นที่ ๔ อ่านคร่าว ๆ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในเนื้อเรื่องที่อ่านแต่ละย่อหน้าและตรวจสอบความถูกต้องของประโยคสำคัญ

ขั้นที่ ๕ ตรวจทานความถูกต้องในการบันทึก ได้แก่ การเขียนสะกดคำความถูกต้องของประโยค

( สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๒๗)

 

                                            

 

การอ่านจับใจความเพื่อหาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

 

            ข้อเท็จจริง  หมายถึง ข้อความแห่งเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือเป็นอยู่ตามความจริง  ข้อความหรือเหตุการณ์ที่จะต้องวินิจฉัยว่าเท็จหรือจริง

            ข้อคิดเห็น  หมายถึง ความเห็น  ความรู้สึกนึกคิดของผู้ส่งสารที่สอดแทรกอยู่ในเนื้อหา

อาจกล่าวได้ว่า ข้อเท็จจริง  นั้นต้องสามารถพิสูจน์สนับสนุนยืนยันได้

                        ข้อคิดเห็น   นั้นไม่สามารถสนับสนุนยืนยันได้

            ลักษณะของข้อเท็จจริง

                        ๑.  มีความเป็นไปได้

                        ๒. มีความสมจริง

                        ๓. มีหลักฐานเชื่อถือได้

                        ๔. มีความสมเหตุสมผล

ลักษณะของข้อคิดเห็น

            ๑.  เป็นข้อความที่แสดงความรู้สึก

            ๒. เป็นข้อความที่แสดงการคาดคะเน

            ๓. เป็นข้อความที่แสดงความเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปไมย

            ๔. เป็นข้อความที่เป็นข้อเสนอแนะหรือเป็นแนวคิดของผู้พูดและผู้เขียนเอง

            ตัวอย่างข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง

            ๑.  กตเวที หมายถึง สนองคุณท่าน (พิสูจน์ได้ด้วยค้นความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.๒๕๔๔)

                        ๒. ดวงตาเป็นอวัยวะที่ทำให้มองเห็น  (พิสูจน์ได้จากประสบการณ์)

ตัวอย่างข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น

            ๑.  การปกครองในระบอบประชาธิปไตยดีที่สุด (ไม่มีข้อวินิจฉัย)

            ๒. คนเรียนเก่งย่อมประสบความสำเร็จในชีวิตเสมอ (ไม่มีข้อยืนยัน)

            ๓. การรับประทานผักไม่น่าจะเป็นผลดีต่อร่างกาย (ไม่มีข้อยืนยัน)

การลำดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์

 

            การคิดวิเคราะห์ในการรับสาร

            การสื่อสารในปัจจุบันผ่านสื่อหลายประเภท เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร  โทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ผู้ส่งสารถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็น โดยการพูดและการเขียนตามประสบการณ์ การศึกษาและการอบรม  ตลอดจนความเชื่อและนิสัยของแต่ละคนที่แตกต่างกัน ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เราได้รับมานั้นอาจมีทั้งข้อเท็จจริง การบิดเบือนข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น ผู้รับสารจึงควรพิจารณาวิเคราะห์ให้รอบคอบ ถี่ถ้วน เมื่อฟัง ดู และอ่านสารนั้นๆ ดังนี้

            ๑. เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร  มีเนื้อหาอย่างไร

            ๒. ผู้รับสารมีความน่าเชื่อถือเพียงใด

            ๓. ผู้ส่งสารมีเจตนาและจุดมุ่งหมายอะไร

            ๔. พิจารณาว่าอะไรเป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

            ๕. หาข้อมูลประกอบหรือเปรียบเทียบ

            ๖. คิดวิเคราะห์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล  อ้างอิงได้

           

การพูดและเขียนแสดงความคิดเห็น

            เมื่อวิเคราะห์สารจากฟัง ดู และอ่านแล้ว ผู้รับสารต้องการพูดหรือเขียน แสดงความคิดเห็น ควรยึดแนวปฏิบัติดังนี้

            ๑. จับประเด็นสำคัญและเรียงลำดับเนื้อหา

            ๒. แสดงความคิดเห็นให้ตรงประเด็น  มีข้อมูลอ้างอิงชัดเจน  ถูกต้อง

            ๓. แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและเป็นธรรม    

๔. ใช้ถ้อยคำสุภาพ  หลีกเลี่ยงการใช้คำรุนแรง  ท้าทาย  และล่วงเกิน

            ๕ มีมารยาทในการพูดและเขียน

  (สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๑ : ๑๕๓)

 

 

การจับใจความสำคัญและหาแนวคิดเรื่อง

 

            การอ่านเพื่อจับใจความ เป็นการอ่านที่มุ่งให้ผู้อ่านเก็บสาระสำคัญของเรื่องที่อ่าน

ความหมายของใจความ

            ใจความ  หมายถึง  ส่วนสำคัญของเรื่อง ตรงกันข้ามกับ  พลความ  หมายถึง  ส่วนที่ไม่สำคัญของเรื่อง ใจความจะมีปรากฏอยู่ตามย่อหน้าต่างๆ ของเรื่องที่อ่าน  ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นประโยคที่เป็นส่วนสำคัญในส่วนต้น  ส่วนกลาง  หรือส่วยท้ายของย่อหน้า

            หลักการอ่านเพื่อค้นหาใจความ

            ในการอ่านเพื่อค้นหาใจความ ผู้อ่านควรปฏิบัติ  ดังนี้

            ขั้นที่ ๑  อ่านชื่อเรื่องทุกถ้อยคำ ทำความเข้าใจความหมายก่อนที่จะอ่านเนื้อเรื่อง เพราะโดยทั่วไปชื่อเรื่องจะให้แนวทางเกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง

ขั้นที่ ๒  อ่านเนื้อเรื่องทีละย่อหน้าอย่างละเอียด  เมื่ออ่านจบแต่ละย่อหน้าให้หาประโยคสำคัญของย่อหน้า

            ขั้นที่ ๓  จดบันทึกประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าลงสมุด

            ขั้นที่ ๔  อ่านประโยคสำคัญที่จดบันทึกไว้อย่างละเอียดแล้วเทียบเคียงกับเนื้อเรื่องที่อ่านทั้งหมด  เพื่อตรวจสอบว่าเป็นประโยคสำคัญของแต่ละย่อหน้าจริงหรือไม่

            ขั้นที่ ๕  นำประโคสำคัญทั้งหมดที่บันทึกไว้มาเขียนเรียงลำดับให้เป็นใจความโดยปรับภาษาให้สละสลวย และให้มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน

            ขั้นที่ ๖  อ่านใจความที่ปรับภาษาอย่างละเอียด  เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง  ความชัดเจน  การสะกดคำ  การเว้นวรรคและหลักภาษา

            ความหมายของแนวคิด

แนวคิด  หมายถึง  แก่นของเรื่องที่เป็นเนื้อหาสำคัญ

ความสำคัญของแนวคิด

            แนวคิดมีความสำคัญต่อผู้อ่านทุกคน เพราะจะช่วยให้เข้าใจในเรื่องต่อไปนี้

            ๑.  ทิศทางของเนื้อเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ  สะดวกต่อการเข้าใจและจดจำ ตลอดจนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

            ๒. แนวคิดเป็นข้อสรุปที่สั้นที่สุด ทำให้นักเรียนมีทักษะในการแยกใจความและ         พลความออกจากกันได้อย่างรวดเร็ว

            ๓.  แนวคิดช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการให้ผู้อ่านนำแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาวิชาการอื่น  หรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันในทิศทางที่ผู้เขียนได้ชี้แนะทั้งในทางตรงและทางนัย

            ประเภทของแนวคิด

            แนวคิดแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท

            ๑.  แนวคิดเป็นคำ  มีลักษณะที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

๒. แนวคิดที่เป็นกลุ่มคำ  มีลักษณะที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

            ๓.  แนวคิดเป็นประโยค  เป็นข้อสรุปสั้นๆ  เพียง ๑ ประโยค  อาจจะเป็นประโยคสามัญ  ประโยครวมหรือประโยคซ้อน  อย่างใดอย่างหนึ่ง

หลักการอ่านจับใจความเพื่อค้นหาแนวคิด

            ในการอ่านจับใจความเพื่อค้นหาแนวคิด  ผู้อ่านควรปฏิบัติ  ดังนี้

            ขั้นที่ ๑ อ่านสำรวจ เพื่อค้นหาคำ กลุ่มคำ  หรือประโยคสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง โดยสังเกตคำที่ขีดเส้นใต้  คำที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด  คำที่พิมพ์ด้วยตัวหนา  หรือคำที่พิมพ์  ตัวเอนซึ่งอาจจะเป็นคำ กลุ่มคำ  หรือประโยคที่นำไปสู่การสรุปเป็นแนวคิดได้

            ขั้นที่ ๒  อ่านเนื้อเรื่องโดยละเอียดอีกครั้งเพื่อตรวจสอบรายละเอียดของเรื่องในทุกประเด็น  พิจารณาความหมายของคำ  กลุ่มคำหรือประโยคทั้งความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย  และจัดเรียงลำดับเหตุการณ์ที่นำไปสู่ข้อสรุปและจัดเรียงลำดับเหตุการณ์ที่นำไปสู่ข้อสรุป  และเขียนเรียบเรียงย่อเรื่องให้สั้นที่สุด

            ขั้นที่ ๓  อ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆ เพื่อตรวจสอบ ทบทวน พิจารณาคำ หรือประโยคที่เขียนเรียบเรียงนั้นมีความหมายครอบคลุมเนื้อหาของเรื่องที่อ่านหรือไม่

            ขั้นที่ ๔  เขียนสรุปเรียนเรียงแนวคิดจากการย่อเรื่องนั้นแล้วอ่านทบทวนตัดประเด็นที่เห็นว่าเป็นส่วนอธิบายหรือขยายความออก  ให้เหลือเฉพาะแก่นของเรื่อง

(สำนักงานคณะงานกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๐ : ๑๓-๒๙)

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 439 คน กำลังออนไลน์