• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bfe9b8277ce3da6aadd5b486b3b9976c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small\">   <span style=\"font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">  อารยธรรมสำคัญของอียิปต์</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">       แบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้ คือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">       1.การปกครอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">       2.ด้านเศรษฐกิจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">       3.ด้านสังคม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><strong>          <span style=\"font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">1.การปกครอง</span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">             ฟาโรห์ทรงเป็นผู้นำในการปกครอง เป็นแม่ทัพ ผู้พิพากษา ผู้ควบคุมเงินในท้องพระคลังและผู้นำสูงสุดทางศาสนาเป็นสื่อกลางระหว่างชาวอียิปต์กับเทพเจ้าต่างๆและชาวอียิปต์เชื่อว่าฟาโรห์ทรงสืบเชื้อสายมาจากสุริยเทพและทรงเป็นตัวแทนของชาวอียิปต์ เมื่อสังคมอียิปต์เจริญขึ้นฟาโรห์ทรงแต่งตั้งข้าราชการช่วยงานบริหารประเทศ ตำแหน่งสำคัญ คือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">              1.1 วิเซียร์ (Vizier) เสนาบดี มีหน้าที่ดูแลความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศในด้านการปกครอง การเกษตร การชลประทานและประธานศาลสูงสุด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">              1.2 ข้าหลวงตามมณฑล มีหน้าที่เก็บภาษี ประเมิณภาษี ในช่วงปลายอาณาจักรเก่าข้าหลวงมีอิทธิพลมากจนฟาโรห์โดยเฉพาะราชวงศ์ที่ 12 ต้องหาทางลดอำนาจข้าหลวงเหล่านี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">              1.3 พระ ช่วยงานด้านศาสนา คือ ประกอบพิธีต่างๆยิ่งเมื่อฟาโรห์ให้การสนับสนุนจึงให้ยกเว้นหน้าที่บางอย่างและการเสียภาษีให้แก่พระ พระจึงยิ่งมีอำนาจและร่ำรวยมากขึ้น ในปลายสมันจักรวรรดิพระที่นับถือเทพเจ้าอมอนมีที่ดินประมาณ 30% ของที่ดินอียิปต์และมีสิทธิ์ในการปกครองมากขึ้น มีสิทธิสอบสวนและตัดสินคดีในวัดของพระอมอน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             กฎหมายจะมีระเบียบวิธีทางกฎหมายชัดเจนในการพิจารณาคดี ผู้พิพากษาได้ดำเนินการให้มีการร้องเรียน มีศาลประจำท้องถิ่นและส่งฎีกาไปยังศาลสูงและสุดท้ายซึ่งฟาโรห์จะมีการรายงานทุกคดีรวมทั้งการตัดสินและการลงโทษไปยังฟาโรห์อย่างสม่ำเสมอ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             วิธีการสอบสวนมักใช้วิธีการทรมาน ลงโทษที่ใช้สม่ำเสมอคือ การโบย หากเลี่ยงภาษีจะถูกโบย โทษถัดไปมีการตัดอวัยวะ เช่น ตัดจมูก มือหรือลิ้น การเนรเทศไปทำงานตามเหมืองการลงโทษถึงตายมีทั้งแขวนคอ ตัดศรีษะเสียบประจาน เผาทั้งเป็นและหากลงโทษขั้นอุกฤษฏ์ คือ การอาบยาทั้งเป็น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             การเป็นพยานเท็จถือว่าเป็นโทษถึงตาย หากกระทำผิดเล็กๆน้อยๆก็อาจให้นำของมาคืนหรือถูกปรับ 2 เท่าหรือ 3เท่าของราคา ส่วนคดีแพ่งเรื่องที่ดินและสืบมรดกให้เป็นหน้าที่ของวิเซียร์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">         <strong>2.ด้านเศรษฐกิจ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">            2.1การเกษตรกรรม การเพาะปลูกของอิยิปต์ต้องพึ่งน้ำจากแม่น้ำไนล์ เพราะว่าไม่มีฝนช่วงฤดูร้อนน้ำจะท่วม 3 เดือน จนเมื่อน้ำลดประมาณเดือนพฤศจิกายนหรือต้นเดือนธัวาคมชาวนาก็จะเริ่มไถและหว่านพืช แล้วใช้สัตว์ พวกแกะ หรือหมูเหยียบย่ำเมล็ดพืชให้จมส่วนการเก็บเกี่ยวก็จะทำกันประมาณเดือนมีนาคมหรือเมษายน พืชที่ปลูกก็มีข้าวสาลี ลูกเดือยหรือผัก ผลไม้ ต้นป่านและฝ้าย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             ในฤดูแล้งชาวนาจะซ่อมเขื่อน ขุดลอกคลอง ระหว่างฤดูน้ำหลาก ชาวนาอาจจะถูกเกณฑ์ไปช่วยงานในโครงการต่างๆของฟาโรห์ ชีวิตของชาวนาอียิปต์เมื่อเทียบกับชาวนาของอาณาจักรอื่นในสมัยเดียวกันมีสภาพดีกว่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">            2.2การค้าขาย นอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่ากันแล้ว ยังเป็นวิธีการสำคัญในการแลกเปลี่ยนอารยธรรมระหว่างประเทศและเป็นสิ่งที่จะให้การศึกษาของคนยุคโบราณได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">            2.3การอุตสาหกรรม ก็มีความสำคัญเท่ากับการค้าขาย ประมาณปี 3,000 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวอียิปต์จำนวนมากเป็นช่างฝีมือดีและเป็นศิลปินผู้มีความสามารถ เช่น ช่างทอง ช่างเพชรพลอย คนทอผ้า ช่างทำเครื่องเรือน ช่างต่อเรือ ต่อมามีการสร้างโรงงานขึ้น มีการจ้างคนงานมากกว่า 20 คนในโรงงานหนึ่งและอาจมีการแบ่งงานกันทำ อุตสาหกรรมชั้นนำ คือ อู่ต่อเรือและโรงงานทำเครื่องปั้นดินเผา เครื่องแก้วและสิ่งทอ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">            จากการค้าขายของชาวอียิปต์ที่มีมานานแล้ว จึงทำให้อียิปต์ได้พัฒนาเครื่องมือในธุรกิจต่างๆขึ้น คือชาวอียิปต์รู้จักการทำบัญชี นอกจากนี้ยังมีการทำสัญญาสำหรับทำทรัพย์สมบัติ เช่น หนังสือสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรและพินัยกรรม แม้จะยังไม่มีเหรียญกษาปณ์ใช้ในการแลกเปลี่ยน แต่ชาวอียิปต์ได้ใช้ห่วงทองแดงหรือทองคำตามน้ำหนักในการแลกเปลี่ยน ซึ่งนับว่าเป็นเงินตราที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์อารยธรรมโลก ส่วนชาวนาและชาวบ้านยังคงใช้ระบบสินค้าแลกเปลี่ยนกัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             เศรษฐกิจของชาวอียิปต์โบราณ เป็นการร่วมมือกันโดยรัฐบาลเป็นผู้ผูกขาด ฉะนั้นชาวอียิปต์จึงถูกฝึกให้รู้จักการทำงานร่วมกันตั้งแต่การดำรงชีวิตร่วมกันและการชลประทานเพื่อการเพาะปลูก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สภาพสังคมมีความสุขและสนุกสนานร่าเริง ความสนใจของบุคคลและความสนใจของสังคมเป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อเวลาผ่านไป ชาวนาจำนวนมากก็ได้เป็นชาวนาเสรี รัฐบาลยังเปิดทำเหมืองขุดหินและเมืองต่างๆเพื่อสร้างพีระมิด วัด และทำไร่ในที่ดินของฟาโรห์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">        <strong>3.ด้านสังคม</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             ในอียิปต์แม้จะมีการแบ่งชนชั้น แต่ก็ไม่มีระบบชนชั้นที่ถาวร สังคมอียิปต์แบ่งประชาชนออกเป็น 5 ชนชั้นคือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             1.ราชวงศ์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             2.พระ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             3.ขุนนาง</span><span style=\"font-size: small\">     </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             4.เสมีย พ่อค้า ช่างฝีมือต่างๆและชาวไร่ชาวนาที่ร่ำรวย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             5.ชาวนา ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ของสังคม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             แต่ในสมัยจักรวรรดิมีทหารอาชีพขึ้นมา เมื่อฟาโรห์มีนโยบายจะขยายอำนาจและอาณาเขต และได้เชลยศึกมาเป็นทาสจำนวนมากจากการรบชนะ ทำให้อียิปต์มีชนชั้นเพิ่มอีก 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นที่ 6 ทหารอาชีพ และชนชั้นที่ 7 ทาส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             ทหารจะถูกเกณฑ์ไปทำงานในเหมืองหินและที่ดินของวัด ต่อมาก็ถูกเกณฑ์เป็นทหารและบ้างก็ไปรับใช้ฟาโรห์ ในอาณาจักรสมัยเก่า พระและขุนนางมีอำนาจมากอยู่ใต้ฟาโรห์ สมัยอาณาจักรกลาง สามัญชนเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเอง พ่อค้าและชาวไร่ชาวนา ได้รับสิทธิพิเศษจากรัฐบาล การสร้างอาณาจักรมีผลทำให้เกิดขุนนางชนชั้นใหม่ขึ้นคือข้าราชการ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">             ขุนนางที่ร่ำรวยจะอาศัยอยู่ในบ้านตากอากาศที่หรูหราติดกับสวนที่มีกลิ่นดอกไม้ อาหารมีจำนวนหลากหลาย เช่น อาหารประเภทเนื้อ ไก่ ขนมต่างๆ ผลไม้ เหล้าองุ่นแฃะของหวานชนิดต่างๆ ภาชนะที่ใช้ทำด้วยอลาบาสาคอร์ ทองคำและเงินแต่งกายราคาแพงและประดับเพชรพลอยราคาสูง ตรงกันข้ามกัขชีวิตของคนยากจนที่น่าสงสาร บ้านของคนจนในเมืองนั้นจะแออัด สร้างด้วยโคลน ส่วนชาวนาที่อาศัยในทุ่งนาผืนใหญ่ จะอยู่ในบ้านที่ไม่แออัดเท่าในเมืองแต่มีชีวิตไม่สะดวกสบาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">              สถานภาพสตรีของชาวอียิปต์ ห้ามมีสามีภารยาหลายคน แม้แต่ฟาโรห์ซึ่งสามารถมีฮาเร็มที่มีสนมและนางบำเรอจำนวนมากอาศัยอยู่ แต่ฟาโรห์ก็มีมเหสีองค์เดียว สตรอียิปต์ยังไม่ตกอยู่ใต้อำนาจของชายทั้งหมดทีเดียว ภรรยาจะไม่ถูกแบ่งแยกแต่สตรีสามารถมีกรรมสิทธิ์รับมรดกและประกอบธุรกิจได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">               ระบบการศึกษา มีโรงเรียนรัฐบาลไว้ฝึกหัดการเป็นเสมียน เมื่อสำเร็จแล้วนักเรียนสามารถบันทึกหลักฐานข้อความ ทำบัญชีและช่วยงานบริหารในงานราชการ เปิดรับสมัครนักเรียนทั่วไปไม่จำกัดชนชั้น เด็กที่ยากจนที่สนใจก็สามารถเข้าเรียนได้ รัฐเป็นผู้ออกค้าใช้จ่ายให้ผู้เรียนหมด ทั้งนี้เนื่องจากรัฐมีความต้องการเสมียนที่มีความรู้ความสามารถด้านนี้สูง<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /></span>\n</p>\n', created = 1719996669, expire = 1720083069, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bfe9b8277ce3da6aadd5b486b3b9976c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมอียิปต์โบราณ

     อารยธรรมสำคัญของอียิปต์

       แบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้ คือ

       1.การปกครอง

       2.ด้านเศรษฐกิจ

       3.ด้านสังคม

          1.การปกครอง

             ฟาโรห์ทรงเป็นผู้นำในการปกครอง เป็นแม่ทัพ ผู้พิพากษา ผู้ควบคุมเงินในท้องพระคลังและผู้นำสูงสุดทางศาสนาเป็นสื่อกลางระหว่างชาวอียิปต์กับเทพเจ้าต่างๆและชาวอียิปต์เชื่อว่าฟาโรห์ทรงสืบเชื้อสายมาจากสุริยเทพและทรงเป็นตัวแทนของชาวอียิปต์ เมื่อสังคมอียิปต์เจริญขึ้นฟาโรห์ทรงแต่งตั้งข้าราชการช่วยงานบริหารประเทศ ตำแหน่งสำคัญ คือ

              1.1 วิเซียร์ (Vizier) เสนาบดี มีหน้าที่ดูแลความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศในด้านการปกครอง การเกษตร การชลประทานและประธานศาลสูงสุด

              1.2 ข้าหลวงตามมณฑล มีหน้าที่เก็บภาษี ประเมิณภาษี ในช่วงปลายอาณาจักรเก่าข้าหลวงมีอิทธิพลมากจนฟาโรห์โดยเฉพาะราชวงศ์ที่ 12 ต้องหาทางลดอำนาจข้าหลวงเหล่านี้

              1.3 พระ ช่วยงานด้านศาสนา คือ ประกอบพิธีต่างๆยิ่งเมื่อฟาโรห์ให้การสนับสนุนจึงให้ยกเว้นหน้าที่บางอย่างและการเสียภาษีให้แก่พระ พระจึงยิ่งมีอำนาจและร่ำรวยมากขึ้น ในปลายสมันจักรวรรดิพระที่นับถือเทพเจ้าอมอนมีที่ดินประมาณ 30% ของที่ดินอียิปต์และมีสิทธิ์ในการปกครองมากขึ้น มีสิทธิสอบสวนและตัดสินคดีในวัดของพระอมอน

             กฎหมายจะมีระเบียบวิธีทางกฎหมายชัดเจนในการพิจารณาคดี ผู้พิพากษาได้ดำเนินการให้มีการร้องเรียน มีศาลประจำท้องถิ่นและส่งฎีกาไปยังศาลสูงและสุดท้ายซึ่งฟาโรห์จะมีการรายงานทุกคดีรวมทั้งการตัดสินและการลงโทษไปยังฟาโรห์อย่างสม่ำเสมอ

             วิธีการสอบสวนมักใช้วิธีการทรมาน ลงโทษที่ใช้สม่ำเสมอคือ การโบย หากเลี่ยงภาษีจะถูกโบย โทษถัดไปมีการตัดอวัยวะ เช่น ตัดจมูก มือหรือลิ้น การเนรเทศไปทำงานตามเหมืองการลงโทษถึงตายมีทั้งแขวนคอ ตัดศรีษะเสียบประจาน เผาทั้งเป็นและหากลงโทษขั้นอุกฤษฏ์ คือ การอาบยาทั้งเป็น

             การเป็นพยานเท็จถือว่าเป็นโทษถึงตาย หากกระทำผิดเล็กๆน้อยๆก็อาจให้นำของมาคืนหรือถูกปรับ 2 เท่าหรือ 3เท่าของราคา ส่วนคดีแพ่งเรื่องที่ดินและสืบมรดกให้เป็นหน้าที่ของวิเซียร์

         2.ด้านเศรษฐกิจ

            2.1การเกษตรกรรม การเพาะปลูกของอิยิปต์ต้องพึ่งน้ำจากแม่น้ำไนล์ เพราะว่าไม่มีฝนช่วงฤดูร้อนน้ำจะท่วม 3 เดือน จนเมื่อน้ำลดประมาณเดือนพฤศจิกายนหรือต้นเดือนธัวาคมชาวนาก็จะเริ่มไถและหว่านพืช แล้วใช้สัตว์ พวกแกะ หรือหมูเหยียบย่ำเมล็ดพืชให้จมส่วนการเก็บเกี่ยวก็จะทำกันประมาณเดือนมีนาคมหรือเมษายน พืชที่ปลูกก็มีข้าวสาลี ลูกเดือยหรือผัก ผลไม้ ต้นป่านและฝ้าย

             ในฤดูแล้งชาวนาจะซ่อมเขื่อน ขุดลอกคลอง ระหว่างฤดูน้ำหลาก ชาวนาอาจจะถูกเกณฑ์ไปช่วยงานในโครงการต่างๆของฟาโรห์ ชีวิตของชาวนาอียิปต์เมื่อเทียบกับชาวนาของอาณาจักรอื่นในสมัยเดียวกันมีสภาพดีกว่า

            2.2การค้าขาย นอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่ากันแล้ว ยังเป็นวิธีการสำคัญในการแลกเปลี่ยนอารยธรรมระหว่างประเทศและเป็นสิ่งที่จะให้การศึกษาของคนยุคโบราณได้

            2.3การอุตสาหกรรม ก็มีความสำคัญเท่ากับการค้าขาย ประมาณปี 3,000 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวอียิปต์จำนวนมากเป็นช่างฝีมือดีและเป็นศิลปินผู้มีความสามารถ เช่น ช่างทอง ช่างเพชรพลอย คนทอผ้า ช่างทำเครื่องเรือน ช่างต่อเรือ ต่อมามีการสร้างโรงงานขึ้น มีการจ้างคนงานมากกว่า 20 คนในโรงงานหนึ่งและอาจมีการแบ่งงานกันทำ อุตสาหกรรมชั้นนำ คือ อู่ต่อเรือและโรงงานทำเครื่องปั้นดินเผา เครื่องแก้วและสิ่งทอ

            จากการค้าขายของชาวอียิปต์ที่มีมานานแล้ว จึงทำให้อียิปต์ได้พัฒนาเครื่องมือในธุรกิจต่างๆขึ้น คือชาวอียิปต์รู้จักการทำบัญชี นอกจากนี้ยังมีการทำสัญญาสำหรับทำทรัพย์สมบัติ เช่น หนังสือสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรและพินัยกรรม แม้จะยังไม่มีเหรียญกษาปณ์ใช้ในการแลกเปลี่ยน แต่ชาวอียิปต์ได้ใช้ห่วงทองแดงหรือทองคำตามน้ำหนักในการแลกเปลี่ยน ซึ่งนับว่าเป็นเงินตราที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์อารยธรรมโลก ส่วนชาวนาและชาวบ้านยังคงใช้ระบบสินค้าแลกเปลี่ยนกัน

             เศรษฐกิจของชาวอียิปต์โบราณ เป็นการร่วมมือกันโดยรัฐบาลเป็นผู้ผูกขาด ฉะนั้นชาวอียิปต์จึงถูกฝึกให้รู้จักการทำงานร่วมกันตั้งแต่การดำรงชีวิตร่วมกันและการชลประทานเพื่อการเพาะปลูก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สภาพสังคมมีความสุขและสนุกสนานร่าเริง ความสนใจของบุคคลและความสนใจของสังคมเป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อเวลาผ่านไป ชาวนาจำนวนมากก็ได้เป็นชาวนาเสรี รัฐบาลยังเปิดทำเหมืองขุดหินและเมืองต่างๆเพื่อสร้างพีระมิด วัด และทำไร่ในที่ดินของฟาโรห์

        3.ด้านสังคม

             ในอียิปต์แม้จะมีการแบ่งชนชั้น แต่ก็ไม่มีระบบชนชั้นที่ถาวร สังคมอียิปต์แบ่งประชาชนออกเป็น 5 ชนชั้นคือ

             1.ราชวงศ์

             2.พระ

             3.ขุนนาง    

             4.เสมีย พ่อค้า ช่างฝีมือต่างๆและชาวไร่ชาวนาที่ร่ำรวย

             5.ชาวนา ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ของสังคม

             แต่ในสมัยจักรวรรดิมีทหารอาชีพขึ้นมา เมื่อฟาโรห์มีนโยบายจะขยายอำนาจและอาณาเขต และได้เชลยศึกมาเป็นทาสจำนวนมากจากการรบชนะ ทำให้อียิปต์มีชนชั้นเพิ่มอีก 2 ชนชั้น คือ ชนชั้นที่ 6 ทหารอาชีพ และชนชั้นที่ 7 ทาส

             ทหารจะถูกเกณฑ์ไปทำงานในเหมืองหินและที่ดินของวัด ต่อมาก็ถูกเกณฑ์เป็นทหารและบ้างก็ไปรับใช้ฟาโรห์ ในอาณาจักรสมัยเก่า พระและขุนนางมีอำนาจมากอยู่ใต้ฟาโรห์ สมัยอาณาจักรกลาง สามัญชนเป็นอิสระเป็นตัวของตัวเอง พ่อค้าและชาวไร่ชาวนา ได้รับสิทธิพิเศษจากรัฐบาล การสร้างอาณาจักรมีผลทำให้เกิดขุนนางชนชั้นใหม่ขึ้นคือข้าราชการ

             ขุนนางที่ร่ำรวยจะอาศัยอยู่ในบ้านตากอากาศที่หรูหราติดกับสวนที่มีกลิ่นดอกไม้ อาหารมีจำนวนหลากหลาย เช่น อาหารประเภทเนื้อ ไก่ ขนมต่างๆ ผลไม้ เหล้าองุ่นแฃะของหวานชนิดต่างๆ ภาชนะที่ใช้ทำด้วยอลาบาสาคอร์ ทองคำและเงินแต่งกายราคาแพงและประดับเพชรพลอยราคาสูง ตรงกันข้ามกัขชีวิตของคนยากจนที่น่าสงสาร บ้านของคนจนในเมืองนั้นจะแออัด สร้างด้วยโคลน ส่วนชาวนาที่อาศัยในทุ่งนาผืนใหญ่ จะอยู่ในบ้านที่ไม่แออัดเท่าในเมืองแต่มีชีวิตไม่สะดวกสบาย

              สถานภาพสตรีของชาวอียิปต์ ห้ามมีสามีภารยาหลายคน แม้แต่ฟาโรห์ซึ่งสามารถมีฮาเร็มที่มีสนมและนางบำเรอจำนวนมากอาศัยอยู่ แต่ฟาโรห์ก็มีมเหสีองค์เดียว สตรอียิปต์ยังไม่ตกอยู่ใต้อำนาจของชายทั้งหมดทีเดียว ภรรยาจะไม่ถูกแบ่งแยกแต่สตรีสามารถมีกรรมสิทธิ์รับมรดกและประกอบธุรกิจได้

               ระบบการศึกษา มีโรงเรียนรัฐบาลไว้ฝึกหัดการเป็นเสมียน เมื่อสำเร็จแล้วนักเรียนสามารถบันทึกหลักฐานข้อความ ทำบัญชีและช่วยงานบริหารในงานราชการ เปิดรับสมัครนักเรียนทั่วไปไม่จำกัดชนชั้น เด็กที่ยากจนที่สนใจก็สามารถเข้าเรียนได้ รัฐเป็นผู้ออกค้าใช้จ่ายให้ผู้เรียนหมด ทั้งนี้เนื่องจากรัฐมีความต้องการเสมียนที่มีความรู้ความสามารถด้านนี้สูงSmile

สร้างโดย: 
นางสาว อัจฉรา พวงกระจ้อย
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 427 คน กำลังออนไลน์