• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('tense น่ารู้', 'node/51477', '', '52.14.143.137', 0, '329745018a55dd7f8b2fcfe88a2dfe80', 171, 1716187943) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:304db14ea6f2cd867afc1954f6cf9e2a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การแสดงออกทางศิลปะของชาวอียิปต์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และในสมัยประวัติศาสตร์</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><u><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทัศนศิลป์</span></u><u><span style=\"font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></u></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape wrapcoords=\"-86 0 -86 21461 21600 21461 21600 0 -86 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 5.5pt; z-index: -2; margin-left: 306pt; width: 99pt; position: absolute; height: 116.25pt\" id=\"_x0000_s1043\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image001.jpg\" o:title=\"การทำมัมมี่\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>ในทางอารยธรรมอียิปต์ซึ่งอาชีพของคนส่วนใหญ่ ทำการกสิกรรม เพาะปลูก ซึ่งต้องอาศัยธรรมชาติเป็นสำคัญ หากฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล การเพาะปลูกก็จะได้ผลดี แต่หากปีใดฝนฟ้าวิปริตผิดปกติไปพืชผลก็จะเสียหายนำความเดือดร้อนมาสู่มนุษย์ ชาวอียิปต์จะไม่สามารถหาคำอธิบายความผิดปกติในธรรมชาติได้ จึงอ้างเทพเจ้าหรืออำนาจในธรรมชาติ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Nature Spirit</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) จึงเกิด<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock><v:shape wrapcoords=\"-86 0 -86 21461 21600 21461 21600 0 -86 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 0px; z-index: -1; margin-left: 0px; width: 99pt; position: absolute; height: 116.25pt\" id=\"_x0000_s1026\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image001.jpg\" o:title=\"การทำมัมมี่\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></v:shape><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock><v:shape wrapcoords=\"-86 0 -86 21461 21600 21461 21600 0 -86 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 159.75pt; z-index: -1; margin-left: 379.5pt; width: 99pt; position: absolute; height: 116.25pt\" id=\"_x0000_s1027\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image001.jpg\" o:title=\"การทำมัมมี่\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></v:shape>เทพเจ้าขึ้นหลายองค์ นอกจากนี้ยังเชื่อว่ากษัตริย์</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: 0pt; background: black; layout-grid-mode: line; color: black; border: black 1pt; padding: 0cm\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: small\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หรือฟาโรห์ทรงเป็นทั้งเทพเจ้าและมนุษย์ในเวลาเดียวกัน และยังมีอมตภาวะอีกด้วย ซึ่งถ้าตายแล้วก็สามารถเกิดใหม่ในร่างเดิมได้ ดังนั้นวิญญาณจึงต้องมีร่างกายไว้รอการกลับมาเกิด จึงเกิดการรักษาพระศพ และการสร้างสถานที่เก็บพระศพ เรียกว่า ปิรามิด มีการตกแต่งห้องเก็บพระศพเหมือนที่อยู่อาศัย เกิดมีศิลปะการตกแต่ง และจิตรกรรมขึ้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-86 0 -86 21462 21600 21462 21600 0 -86 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 9.8pt; z-index: -19; margin-left: 0px; width: 187.5pt; position: absolute; height: 2in\" id=\"_x0000_s1026\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m3-9/no07-22/project/picture/egyptmastabas.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image003.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m3-9/no07-22/project/picture/egyptmastabas.jpg&amp;imgrefurl=http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m3-9/no07-22/project/page09.html&amp;usg=__57yhxjxRqG-uUbEJyJN9nM8Rj3g=&amp;h=157&amp;w=250&amp;sz=7&amp;hl=th&amp;start=3&amp;um=1&amp;tbnid=5YacSEm3UetgkM:&amp;tbnh=70&amp;tbnw=111&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN\"><img width=\"111\" src=\"http://tbn0.google.com/images?q=tbn:5YacSEm3UetgkM:http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m3-9/no07-22/project/picture/egyptmastabas.jpg\" height=\"70\" style=\"width: 143px; height: 98px; border: 1px solid\" /></a></o:p><o:p></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มาสตาบา (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Mastaba</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) รูปร่างคล้ายปิรามิดขนาดเล็ก ยอดตัดแบนเป็นที่เก็บศพพวกขุนนาง</span></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">           </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ศิลปกรรม </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>จุดมุ่งหมายของศิลปะเปลี่ยนแปลงไปตามการเมืองและสังคม ศิลปกรรมในสมัยราชอาณาจักรเก่า ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังความตายไปแล้ว และศิลปะจะเน้นที่ตามลัทธิชาตินิบมมีดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-158 0 -158 21390 21600 21390 21600 0 -158 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 25.05pt; z-index: -18; margin-left: 261pt; width: 171pt; position: absolute; height: 153pt\" id=\"_x0000_s1027\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image005.jpg\" o:title=\"images\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                </span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.สถาปัตยกรรม </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นับว่ามีพัฒนาการสูงมาก ผลงานที่สำคัญคือ<a href=\"http://www.trekkingthai.com/board/photo/trekking/1828090_eFpJMAJOaG5040.jpg\"><img width=\"106\" src=\"http://tbn3.google.com/images?q=tbn:oYLvSuFSxEtq0M:http://www.trekkingthai.com/board/photo/trekking/1828090_eFpJMAJOaG5040.jpg\" alt=\"ดูภาพขนาดใหญ่\" height=\"80\" style=\"float: left; margin: 10px 10px 0px; width: 164px; height: 127px; border: 1px solid\" /></a></span></span>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"right\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"margin: auto 6.75pt; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr style=\"height: 18pt\">\n<td width=\"132\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 99pt; padding-top: 0cm; height: 18pt; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\">\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">พีระมิดที่เมือง ซักการา</span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>1.1พีระมิด มีชื่อเสียงมาก เป็นสิ่งมหัศจรรย์อันหนึ่งของโลกทั้งในโบราณและในสมัยปัจจุบัน พีระมิดแรกสร้างขึ้นประมาณ 2,270 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซัคคารา (</span><st1:place w:st=\"on\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Sakkara</span></st1:place><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ในช่วงสมัยแรก ๆ จะมีลักษณะเป็นขั้น ๆ บันไดขึ้นไป 6 ขั้น เรียกว่า </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Step <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://gotoknow.org/file/chiew-buncha/PC-Workers.jpg&amp;imgrefurl=http://gotoknow.org/blog/civilization/84130&amp;usg=__XbfeRbnjP5ZHOLCs70b1odlLdjU=&amp;h=340&amp;w=550&amp;sz=80&amp;hl=th&amp;start=1&amp;um=1&amp;tbnid=0oJyfs_Fut7U5M:&amp;tbnh=82&amp;tbnw=133&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2594%26um%3D1%26hl%3Dth\"><img width=\"133\" src=\"http://tbn2.google.com/images?q=tbn:0oJyfs_Fut7U5M:http://gotoknow.org/file/chiew-buncha/PC-Workers.jpg\" height=\"82\" style=\"width: 156px; height: 84px; border: 1px solid\" /></a>Pyramid</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> สร้างโดย ฟาโรห์โซเซอร์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Zoser</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) แห่งราชวงศ์ที่ 3 ซึ่งนับเป็นงานที่ใช้แรงงานและฝีมือมนุษย์จำนวนมากมาย</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พีระมิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ พีระมิดของฟาโรห์คูฟูหรือคีออปส์ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Khufu </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หรือ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Cheops </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สูง 481 ฟุต ฐานกว้างด้านละ 75 ฟุต และมีมุม 50 องศา<img src=\"http://www.sarakadee.com/feature/2007/04/images/02scoop06.jpg\" /><a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.sarakadee.com/feature/2007/04/images/02scoop06.jpg&amp;imgrefurl=http://www.sarakadee.com/web/modules.php%3Fname%3DSections%26op%3Dviewarticle%26artid%3D710&amp;usg=__P8v-568GFbPr31ggUGMu2wnYNXU=&amp;h=254&amp;w=321&amp;sz=87&amp;hl=th&amp;start=4&amp;um=1&amp;tbnid=ZUAscVhzTQFdQM:&amp;tbnh=93&amp;tbnw=118&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2594%26um%3D1%26hl%3Dth\"></a><a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.sarakadee.com/feature/2007/04/images/02scoop06.jpg&amp;imgrefurl=http://www.sarakadee.com/web/modules.php%3Fname%3DSections%26op%3Dviewarticle%26artid%3D710&amp;usg=__P8v-568GFbPr31ggUGMu2wnYNXU=&amp;h=254&amp;w=321&amp;sz=87&amp;hl=th&amp;start=4&amp;um=1&amp;tbnid=ZUAscVhzTQFdQM:&amp;tbnh=93&amp;tbnw=118&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2594%26um%3D1%26hl%3Dth\"></a></span></span>\n</p>\n<p><v:shape wrapcoords=\"-165 0 -165 21340 21600 21340 21600 0 -165 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 116.1pt; z-index: -1; left: 0px; margin-left: 306pt; width: 108pt; position: absolute; height: 98.25pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1044\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image007.jpg\" o:title=\"หินที่ใช้ในการสร้างพีระ\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><v:shape wrapcoords=\"-67 0 -67 21515 21600 21515 21600 0 -67 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -9.9pt; z-index: -17; left: 0px; margin-left: -9pt; width: 213pt; position: absolute; height: 168.55pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1028\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.sarakadee.com/feature/2007/04/images/02scoop06.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image009.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ตามการคาดคะเนของนักโบราณคดี เชื่อว่าการสร้างพีระมิดนี้มีประมาณ 70,000 คน สร้างในช่วงฤดูน้ำหลาก คือช่าวงฤดูร้อนสร้างไปเรื่อย ๆ<span>  </span>หินก้อนโตหนักประมาณ 2.5 ตัน และเป็นความมหัศจรรย์ที่ไม่มีเครื่องมือขุดเจาะและเครื่องมือผ่อนแรง มีแต่เชือก พื้นลาก และลูกรอกเท่านั้น ด้วยชาวอียิปต์เชื่อว่าฟาโรห์เป็นเทพเจ้าที่จุติบนโลกมนุษย์ เป็นเชื้อสายของเทพเจ้า ประชาชนต้องสนองให้ท่านพอใจเพื่อที่เขาจะรับความสุขในชีวิตนี้และชีวิตหน้าตามความเชื่อของศาสนาในสมัยโบราณ ความเชื่อในการนำไปสู่การทำมัมมี่ และการสร้างพีระมิดเพื่อเก็บรักษาพระศพไว้<o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-39 0 -39 21536 21600 21536 21600 0 -39 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 8.9pt; z-index: -16; left: 0px; margin-left: 9pt; width: 153pt; position: absolute; height: 139.9pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1029\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://gotoknow.org/file/chiew-buncha/PC-Workers.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image011.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสำคัญของพีระมิด มีผู้สันนิษฐานเหตุผลการสร้างพีระมิดดังนี้ คือ</span><span style=\"font-size: 0pt; background: black; layout-grid-mode: line; color: black; border: black 1pt; padding: 0cm\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.เหตุผลทางการเมือง ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า หลุมฝังศพที่แข็งแรงของฟาโรห์ จะเป็นหลักประกันความเป็นอมตะของประชาชน เพราะชาวอียิปต์เปรียบฟาโรห์เป็นชีวิตของชาติ หลุมฝังศพยังเป็นสัญลักษณ์การบูชาดวงอาทิตย์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมประชาชนให้ใกล้ชิด และทำงานร่วมกัน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.เหตุผลทางเศรษฐกิจ ฟาโรห์สร้างโอกาสการทำงานให้แก่ประชาชนของพระองค์ เนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.เหตุผลทางศาสนา ในสมัยราชอาณาจักรเก่า การก่อสร้างพีระมิดเป็นความเชื่อของฟาโรห์และประชาชน เพื่อให้รัฐมีความมั่นคงและยั่งยืน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span><b>1.2วัด</b> เนื่องจากในสมัยอาณาจักรกลางและสมัยจักรวรรดินิยม ความเชื่อดังกล่าวจึงเปลี่ยนไป เพราะความเชื่อในฟาโรห์และชาติให้ยั่งยืน ใช้ค่าใช้จ่ายและแรงงานมาก ฟาโรห์จึงหันมาสร้างวัดแทนพีระมิด วัดที่สำคัญ เช่น วัดที่เมืองคาร์นัด (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Karnak</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) และวัดที่ลุกซอร์ (</span><st1:city w:st=\"on\"><st1:place w:st=\"on\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Luxor</span></st1:place></st1:city><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ในสมัยจักรวรรดิ<img width=\"390\" src=\"http://gallery.hd.org/_exhibits/places-and-sights/_more2003/_more08/Egypt-Luxor-Karnak-temple-of-Amun-Great-Hypostyle-Hall-world-heritage-site-1-SEW.jpg\" height=\"583\" style=\"width: 297px; height: 515px\" /></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-28 0 -28 21563 21600 21563 21600 0 -28 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 10.95pt; z-index: -14; margin-left: 3in; width: 207pt; position: absolute; height: 203.55pt\" id=\"_x0000_s1031\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://shop.discoveringegypt.com/images/LuxorTemple2.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image013.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><v:shape href=\"http://mirror-in-bom1.gallery.hd.org/_exhibits/places-and-sights/_more2003/_more08/Egypt-Luxor-Karnak-temple-of-Amun-Great-Hypostyle-Hall-world-heritage-site-1-SEW.jpg\" o:button=\"t\" alt=\"Thumbnail\" wrapcoords=\"-126 0 -126 21516 21600 21516 21600 0 -126 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 1.95pt; z-index: -15; margin-left: 9pt; width: 128.25pt; position: absolute; height: 192pt\" id=\"_x0000_s1030\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://gallery.hd.org/_tn/std/places-and-sights/_more2003/_more08/Egypt-Luxor-Karnak-temple-of-Amun-Great-Hypostyle-Hall-world-heritage-site-1-SEW.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image015.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> <img width=\"541\" src=\"http://shop.discoveringegypt.com/images/LuxorTemple2.jpg\" height=\"406\" style=\"width: 305px; height: 217px\" /></span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">             </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แม้ว่าชาวอียิปต์จะนิยมสร้างวัดใหญ่โตและแข็งแรง แต่ไม่มีความสง่างาม ไม่ได้สัดส่วน เน้นแต่ความสมดุล ใหญ่โตและความแข็งแรง ศิลปะส่วนใหญ่เน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความงามแบบสุนทรีย์ มีรูปแบบเป็นแอบสแตรค (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Abstrad</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) มากกว่าภาพเหมือนจริงหรือความเป็นจริงตามธรรมชาติ จุดมุ่งหมายที่แม้จริงในการก่อสร้างอาคารและวัตถุเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อ ในความภาคภูมิใจในชาติอียิปต์ ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ ความแข็งแรงและความยั่งยืนของรัฐ</span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ความคิดของชาวอียิปต์มีอิทธิพลต่อชาติต่าง ๆ ซึ่งนิยมสร้างอาคารและรูปปั้นใหญ่โต เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความภูมิใจในชัยชนะของพวกเขา</span></span>\n</p>\n<p><v:shape href=\"http://faculty.etsu.edu/kortumr/03egypt/adobejpgimages/06mykerinuslarge.jpg\" o:button=\"t\" wrapcoords=\"-94 0 -94 21555 21600 21555 21600 0 -94 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 14.35pt; z-index: -13; left: 0px; margin-left: 252pt; width: 162pt; position: absolute; height: 261pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1032\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://faculty.etsu.edu/kortumr/03egypt/htmdescriptionpages/06mykerinusdesc.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image016.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.ประติมากรรม</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-43 0 -43 21542 21600 21542 21600 0 -43 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 103.45pt; z-index: -12; left: 0px; margin-left: -9pt; width: 189pt; position: absolute; height: 143.9pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1033\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://ncowie.files.wordpress.com/2008/02/sphinx.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image018.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">งานประติมากรรมมีลักษณะแข็ง ตรง ใบหน้าวางเฉย ดวงตาฝังด้วยแก้ว จ้องไปข้างหน้า รูปร่างบอบบาง แต่มีรูปร่างสัดส่วนผิดธรรมชาติ เช่น ต้นขาสั้นไป ไหล่ทั้งสองข้างยกตั้งขึ้นมาก เช่น รูปแกะสลักฟาโรห์เมนเคอร์และพระมเหสี (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Menkure and his Queen</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) เป็นต้น<a href=\"http://faculty.etsu.edu/kortumr/03egypt/adobejpgimages/06mykerinuslarge.jpg\"><img width=\"38\" src=\"http://tbn1.google.com/images?q=tbn:F_rVSoGZO0x5ZM:http://faculty.etsu.edu/kortumr/03egypt/adobejpgimages/06mykerinuslarge.jpg\" alt=\"ดูภาพขนาดใหญ่\" height=\"80\" style=\"float: left; margin: 10px 10px 0px; width: 144px; height: 202px; border: 1px solid\" /></a><a href=\"http://faculty.etsu.edu/kortumr/03egypt/adobejpgimages/06mykerinuslarge.jpg\"></a></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-66 0 -66 21557 21600 21557 21600 0 -66 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -3.85pt; z-index: -11; left: 0px; margin-left: 0px; width: 180pt; position: absolute; height: 225pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1034\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.theplatelady.com/egyptian/nefertiti-5001.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image020.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></span></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลงานที่ไม่เป็นธรรมชาติที่เด่นชัดที่สุดคือ รูปสฟิงซ์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Sphinx</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) รูปร่างเป็นสิงโต <img width=\"303\" src=\"http://ncowie.files.wordpress.com/2008/02/sphinx.jpg\" height=\"276\" style=\"width: 233px; height: 230px\" />แต่ใบหน้าเป็นฟาโรห์ จุดมุ่งหมายของการสร้างสฟิงซ์ดูว่าจะเป็นสัญลักษณ์ของฟาโรห์ผู้ทรงพลัง กล้าหาญ เข้มแข็ง และแข็งแรง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประติมากรรมที่สวยงามอีกชั้น คือ พระเศียรของพระนางเนเฟอติตติ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Nefertiti</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<img width=\"266\" src=\"http://www.theplatelady.com/egyptian/nefertiti-5001.jpg\" height=\"406\" style=\"width: 170px; height: 193px\" /> เป็นรูปแกะสลักครึ่ง</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>องค์ ทรงมีลักษณะยิ้มน้อย ๆ แบบล้อเลียนที่สิงอยู่ ถือเป็นงานประติมากรรมที่ยิ่งใหญ่ในศิลปะประวัติศาสตร์</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">คุณค่าประติมากรรมของอียิปต์ทำให้เราสมารถศึกษาชีวิต ความเป็นอยู่ และความนึกคิดของชาวอียิปต์ได้อย่างหนึ่ง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-39 0 -39 21536 21600 21536 21600 0 -39 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 9pt; z-index: -10; left: 0px; margin-left: 0px; width: 2in; position: absolute; height: 162pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1035\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><v:imagedata o:href=\"http://www.artlex.com/ArtLex/r/images/realism_homer.sketching.lg.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image022.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></span></span></v:shape><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.จิตรกรรม</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-64 0 -64 21549 21600 21549 21600 0 -64 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 98.1pt; z-index: -9; left: 0px; margin-left: 108pt; width: 143.1pt; position: absolute; height: 151.85pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1036\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.dailypainters.com/images/origs/764/light_chop__ft__pierce_inlet__pelican__realism__impressionism.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image024.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เกิดขึ้นหลังจากสถาปัตยกรรมและประติมากรรม งานด้านนี้ได้รับอิทธิพลจากศาสนา ผลงานที่เด่นเกิดในสมัยฟาโรห์วิคนาตัน ซึ่งพระองคเปลี่ยนไปนับถือพระเจ้าองค์เดียวกัน และเป็นงานที่เน้นความจริงม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">าก (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Realism</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ไม่เน้นความใหญ่โตเหมือนสมัยก่อน ๆ<span>  </span>รูปภาพที่แสดงความใกล้เคียงธรรมชาติ เน้นการเคลื่นไหว และภาพส่วนใหญ่จะวาดประดับในพีระมิดและวัด ส่วนใหญ่จะเป็นสีน้ำ<span>  </span>ซึ่งเป็นสีที่ได้จากธรรมชาติ มีสีแดง สีเหลือง น้ำตาล และสีดำ โดยนำสีเหล่านี้มาผสมกับยางไม้ให้ติดแน่น ใช่พู่กันทำด้วยกิ่งปาล์ม วาดเป็นสีสองมิติ ภาพอยู่ในระดับเดียวกัน แต่ถ้าสิ่งใดเกิดก่อนจะจัดไว้เหนือภาพที่เกิดทีหลัง</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วรรณคดี </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ชาวอียิปต์รู้จักถ่ายทอดภาษาพูดเป็นตัวอักษรประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นตัวอักษรภาพแสดงความหมาย ต่อมาใช้ภาพแทนเสียงของคำที่มีความหมาย และมี</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-53 0 -53 21563 21600 21563 21600 0 -53 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 12.4pt; z-index: -7; left: 0px; margin-left: 261pt; width: 2in; position: absolute; height: 171pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1038\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://planetanimals.com/egypt/hieroglyphic.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image026.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><v:shape wrapcoords=\"-57 0 -57 21553 21600 21553 21600 0 -57 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 3.4pt; z-index: -8; left: 0px; margin-left: 0px; width: 198pt; position: absolute; height: 183pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1037\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.mnsu.edu/emuseum/prehistory/egypt/images/heiroglyphicsimages/egypt150.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image028.png\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://planetanimals.com/egypt/hieroglyphic.jpg&amp;imgrefurl=http://planetanimals.com/egypt/&amp;usg=__bm50Y9Aw6Ns3HNOn6jaFoASshaA=&amp;h=720&amp;w=500&amp;sz=175&amp;hl=th&amp;start=5&amp;tbnid=yBrMeMDZ3nwbxM:&amp;tbnh=140&amp;tbnw=97&amp;prev=/images%3Fq%3DHieroglyphic%26gbv%3D2%26hl%3Dth%26sa%3DX\"></a>   <img width=\"336\" src=\"http://www.mnsu.edu/emuseum/prehistory/egypt/images/heiroglyphicsimages/egypt150.gif\" height=\"406\" style=\"width: 237px; height: 375px\" />                   <img width=\"282\" src=\"http://planetanimals.com/egypt/hieroglyphic.jpg\" height=\"406\" style=\"width: 195px; height: 367px\" />     </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาพบนซ้ายและขวาเป็นอักษรภาพ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Hieroglyphies </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่วนภาพล่างซ้ายและขวาคือ อักษรหวัด </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Hieratic</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ซึ่งใช้เขียนจริงในชีวิตประจำวัน <o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"1573 408 968 1000 726 1334 908 1445 1876 1593 1815 2408 8773 2779 1634 2779 1634 3372 10770 3372 605 3816 605 4187 7261 4557 2178 4594 1150 4668 1150 5150 1271 6669 6474 6928 12403 6928 1815 7077 1755 7521 2783 7521 3872 8114 484 8188 545 8670 2360 8818 1210 8855 1210 9299 666 9781 787 9892 10044 9892 847 10411 787 10596 6655 10967 787 11152 726 11634 5264 11671 4054 12263 1271 12338 1271 12856 3328 12856 2178 13116 1876 13227 1815 14042 1452 14635 1392 14968 5627 15227 10467 15227 605 15635 666 15820 1876 16413 1936 17302 6655 17599 10830 17599 666 17747 666 18080 10649 18191 3509 18747 726 18858 787 19155 9923 19377 1694 19785 1694 20303 5264 20563 4659 20563 726 20822 726 21267 5385 21526 7018 21526 7442 21526 15368 21415 14884 21155 15126 20711 15247 20007 14400 19970 12222 19970 15368 19785 15247 19377 14400 18784 14824 18525 14824 18228 14400 18191 13371 17599 13613 17450 13613 17191 13432 17006 14824 16413 15126 16265 14037 16117 5627 15820 14279 15635 14521 15302 13613 15227 13916 14894 13432 14894 4598 14635 10467 14635 14037 14412 13916 14005 5022 13449 13976 13375 13976 12856 6413 12856 13129 12449 13976 12263 13432 11782 10709 11671 13855 11448 13855 11078 18877 10522 18877 10485 17788 9892 18877 9744 18151 9448 6050 9299 13190 9299 15913 9151 15913 8373 12585 8188 4840 8114 15550 7855 15852 7521 14824 7521 13008 6928 13069 6558 13069 6336 14521 5743 15187 5150 15489 4705 15187 4557 14097 4557 18817 4224 18877 3779 10770 3372 16760 3334 16881 2816 14158 2779 13492 2186 15368 2075 15368 1927 13190 1593 15550 1334 16699 1111 16397 1000 16578 519 15066 482 2118 408 1573 408\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 7.65pt; z-index: -6; left: 0px; margin-left: 18pt; width: 99pt; position: absolute; height: 113.25pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1039\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.virtual-egypt.com/newhtml/hieroglyphics/sample/hieratic.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image032.png\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> <img width=\"160\" src=\"http://www.math.buffalo.edu/mad/Ancient-Africa/egypt_moscow_hieratic10.gif\" height=\"246\" style=\"width: 251px; height: 306px\" />           <img width=\"209\" src=\"http://www.aldokkan.com/science/hieratic.jpg\" height=\"375\" /></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การดัดแปลงรูปภาพแทนพยางค์ และนำมารวมกันเป็นคำในที่สุด ตัวอักษรภาพนี้ถ้าใช้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับ <span> </span>ศาสนา เรียกว่า เฮียโรกลิฟฟิค </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Hieroglyphic </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>แปลว่าอักษรอันศักสิทธิ์</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ส่วนตัวอักษรหวัดที่ใช้ทั่วไป เรียกว่า เฮียราติก </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Hieratic </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ซึ่งดัดแปลงมาจากตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟิค นอกจากนี้ชาวอียิปต์ยังรู้จักการทำกระดาษและหมึก การรู้จักการทำกระดาษปาปิรุสทำให้ชาวอียิปต์เผยแพร่วรรณกรรมได้ง่ายขึ้น เพราะกระดาษปาปิรุสม้วนเก็บได้ง่าย ไม่เปลืองเนื้อที่เหมือนการสลักบนแผ่นศิลา บนแผ่นดินเผา แม้ทนทานแต่กรรมวิธียุ่งยากและลงทุนลงแรง</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>มากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม ชาวอียิปต์ยังมีการแกะสลักตัวอักษาของตนลงบนแผ่นศิลาเช่นเดียวกับชาติอื่น ๆ </span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape wrapcoords=\"-46 0 -46 21538 21600 21538 21600 0 -46 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 7.75pt; z-index: -3; left: 0px; margin-left: 63pt; width: 163.3pt; position: absolute; height: 153pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1042\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/335/335/images/lg_clip.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\user\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\04\\clip_image036.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> <img width=\"245\" src=\"http://img177.imageshack.us/img177/7971/1000186ql8.jpg\" height=\"271\" />             <img width=\"304\" src=\"http://www.bloggang.com/data/beagle/picture/1161337634.jpg\" height=\"406\" style=\"width: 195px; height: 306px\" /></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ภาพซ้ายเป็นภาพวาดบนกระดาษปาปิรุส</span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ภาพขวาเป็นภาพต้นปาปิรุส</span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสำเร็จในทางศิลปะของอียิปต์โบราณที่มีต่อโลกมาจนถึงปัจจุบัน มี 2 ด้าน ดังนี้</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.สติปัญญาและศิลปะ ตวามรู้และความสามารถของชาวอียิปต์ที่มีอิทธิพลต่ออารยธรรมตะวันตกและอารยธรรมโลกอย่างมาก ที่สำคัญคือ ปรัชญา วรรณคดี นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีเกี่ยวกับการพิจารณาคดี ทฤษฎีการเมือง เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.ศาสนาและศีลธรรม ถ้าไม่นับชาวเปอร์เชียแล้ว นับว่าชาวอียิปต์เป็นชาติโบราณที่ได้สร้างศาสนสถานประตำชาติขึ้นภายใต้ทฤษฎีของความเป็นอมตะในชีวิต นับถือพระเจ้าองค์เดียว มีการให้อภัยแก่บาป มีการให้รางวัล และทำโทษภายหลังการตายแล้ว ที่สำคัญคือ ทฤษฎีเกี่ยวกับศีลธรรม มีอิทธิพลต่อศาสนาอื่น ๆ ทั้งในด้านศีลธรรมส่วนบุคคลและสังคม เหล่านี้ล้วนเป็นศาสนาและศีลธรรมของชาวอียิปต์ที่มราอิทธิพลต่อชาวโลก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สรุปได้ว่า</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ในการที่ชาวอียิปต์โบราณนั้น ชาวอียิปต์เป็นคนที่มีความคิดที่ลึกซึ้ง เป็นคนที่มีความคิดทะลุปุโรง นึกคิดถึงภายหลัง และจะมีความสำคัญต่อโลกในปัจจุบัน อย่างมาก<span>  </span>รู้จักคิด วิเคราะห์และมีความเชื่อในส่วนตัวในการนับถือพระเจ้าของเขาถึงแม้จะเป็นความเชื่อที่คนในปัจจุบันไม่ค่อยเชื่อแต่คนในสมัยนั้นเชื่อเพราะมีอิทธิพลต่อตัวเขามาก ชาวอียิปต์ยังมีสถาปัตยกรรมที่สำคัญ เช่น พีระมิด ที่เกิดขึ้นรวมถึงอีก 6 สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับของโลก ที่เป็นสิ่งที่ค้นพบจากการใช้ฝีมือมนุษย์ในการสร้างที่ไม่มีการใช้เครื่องทุนแรง หรือเครื่องจักรใด ๆ เลย และยังมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาในการนับถือความเชื่อในสมัยก่อนของไทยเรา เช่น ภูตผีปีศาจ หรือไม่ว่าจะเป็น เทวดา นางไม้ เจ้าป่าเจ้าเขา พระแม่ธรณี พระแม่คงคา เป็นต้น และยังมีอิทธิพลต่อพระพุทธศาสนาของเราด้วย เช่น การห้ามพูดเท็จ ห้ามการลักขโมย ห้ามฆ่าสัตว์ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ดี ถ้าผู้อ่านได้เรียนรู้และศึกษา ในการศึกษานี้ยังแฝงไปถึงความรู้ และข้อคิดที่ดี และผู้เขียนจึงขอแนะนำให้ผู้อ่านนำสิ่งต่าง ๆ ในด้านที่ดี ไปเป็นความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตของท่านให้ประสบสู่ความสำเร็จได้</span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่มา </span><span style=\"font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.หนังสืออารยธรรมตะวันออกและตะวันตก</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้แต่ง วีณา ศรีธัญรัตน์</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และ</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.อารยธรรมโลกสมัยโบราณ-สมัยกลาง</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โดย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รองศาสตราจารย์ ดร. ประพิณ มโนมัยวิบูลย์</span><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"right\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: right\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">คณะบดีคณะอักษรศาสตร์</span></span>\n</p>\n', created = 1716187962, expire = 1716274362, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:304db14ea6f2cd867afc1954f6cf9e2a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศิลปะ และวรรณคดีของอารยธรรมอียิปต์

การแสดงออกทางศิลปะของชาวอียิปต์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และในสมัยประวัติศาสตร์                ทัศนศิลป์

                ในทางอารยธรรมอียิปต์ซึ่งอาชีพของคนส่วนใหญ่ ทำการกสิกรรม เพาะปลูก ซึ่งต้องอาศัยธรรมชาติเป็นสำคัญ หากฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล การเพาะปลูกก็จะได้ผลดี แต่หากปีใดฝนฟ้าวิปริตผิดปกติไปพืชผลก็จะเสียหายนำความเดือดร้อนมาสู่มนุษย์ ชาวอียิปต์จะไม่สามารถหาคำอธิบายความผิดปกติในธรรมชาติได้ จึงอ้างเทพเจ้าหรืออำนาจในธรรมชาติ (Nature Spirit) จึงเกิด เทพเจ้าขึ้นหลายองค์ นอกจากนี้ยังเชื่อว่ากษัตริย์  หรือฟาโรห์ทรงเป็นทั้งเทพเจ้าและมนุษย์ในเวลาเดียวกัน และยังมีอมตภาวะอีกด้วย ซึ่งถ้าตายแล้วก็สามารถเกิดใหม่ในร่างเดิมได้ ดังนั้นวิญญาณจึงต้องมีร่างกายไว้รอการกลับมาเกิด จึงเกิดการรักษาพระศพ และการสร้างสถานที่เก็บพระศพ เรียกว่า ปิรามิด มีการตกแต่งห้องเก็บพระศพเหมือนที่อยู่อาศัย เกิดมีศิลปะการตกแต่ง และจิตรกรรมขึ้น

 มาสตาบา (Mastaba) รูปร่างคล้ายปิรามิดขนาดเล็ก ยอดตัดแบนเป็นที่เก็บศพพวกขุนนาง           ศิลปกรรม

                จุดมุ่งหมายของศิลปะเปลี่ยนแปลงไปตามการเมืองและสังคม ศิลปกรรมในสมัยราชอาณาจักรเก่า ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังความตายไปแล้ว และศิลปะจะเน้นที่ตามลัทธิชาตินิบมมีดังนี้

                                1.สถาปัตยกรรม นับว่ามีพัฒนาการสูงมาก ผลงานที่สำคัญคือดูภาพขนาดใหญ่

พีระมิดที่เมือง ซักการา

                1.1พีระมิด มีชื่อเสียงมาก เป็นสิ่งมหัศจรรย์อันหนึ่งของโลกทั้งในโบราณและในสมัยปัจจุบัน พีระมิดแรกสร้างขึ้นประมาณ 2,270 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซัคคารา (Sakkara) ในช่วงสมัยแรก ๆ จะมีลักษณะเป็นขั้น ๆ บันไดขึ้นไป 6 ขั้น เรียกว่า Step Pyramid สร้างโดย ฟาโรห์โซเซอร์ (Zoser) แห่งราชวงศ์ที่ 3 ซึ่งนับเป็นงานที่ใช้แรงงานและฝีมือมนุษย์จำนวนมากมาย พีระมิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ พีระมิดของฟาโรห์คูฟูหรือคีออปส์ Khufu หรือ Cheops สูง 481 ฟุต ฐานกว้างด้านละ 75 ฟุต และมีมุม 50 องศา

ตามการคาดคะเนของนักโบราณคดี เชื่อว่าการสร้างพีระมิดนี้มีประมาณ 70,000 คน สร้างในช่วงฤดูน้ำหลาก คือช่าวงฤดูร้อนสร้างไปเรื่อย ๆ  หินก้อนโตหนักประมาณ 2.5 ตัน และเป็นความมหัศจรรย์ที่ไม่มีเครื่องมือขุดเจาะและเครื่องมือผ่อนแรง มีแต่เชือก พื้นลาก และลูกรอกเท่านั้น ด้วยชาวอียิปต์เชื่อว่าฟาโรห์เป็นเทพเจ้าที่จุติบนโลกมนุษย์ เป็นเชื้อสายของเทพเจ้า ประชาชนต้องสนองให้ท่านพอใจเพื่อที่เขาจะรับความสุขในชีวิตนี้และชีวิตหน้าตามความเชื่อของศาสนาในสมัยโบราณ ความเชื่อในการนำไปสู่การทำมัมมี่ และการสร้างพีระมิดเพื่อเก็บรักษาพระศพไว้

ความสำคัญของพีระมิด มีผู้สันนิษฐานเหตุผลการสร้างพีระมิดดังนี้ คือ

1.เหตุผลทางการเมือง ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า หลุมฝังศพที่แข็งแรงของฟาโรห์ จะเป็นหลักประกันความเป็นอมตะของประชาชน เพราะชาวอียิปต์เปรียบฟาโรห์เป็นชีวิตของชาติ หลุมฝังศพยังเป็นสัญลักษณ์การบูชาดวงอาทิตย์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมประชาชนให้ใกล้ชิด และทำงานร่วมกัน

2.เหตุผลทางเศรษฐกิจ ฟาโรห์สร้างโอกาสการทำงานให้แก่ประชาชนของพระองค์ เนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น

3.เหตุผลทางศาสนา ในสมัยราชอาณาจักรเก่า การก่อสร้างพีระมิดเป็นความเชื่อของฟาโรห์และประชาชน เพื่อให้รัฐมีความมั่นคงและยั่งยืน

                1.2วัด เนื่องจากในสมัยอาณาจักรกลางและสมัยจักรวรรดินิยม ความเชื่อดังกล่าวจึงเปลี่ยนไป เพราะความเชื่อในฟาโรห์และชาติให้ยั่งยืน ใช้ค่าใช้จ่ายและแรงงานมาก ฟาโรห์จึงหันมาสร้างวัดแทนพีระมิด วัดที่สำคัญ เช่น วัดที่เมืองคาร์นัด (Karnak) และวัดที่ลุกซอร์ (Luxor) ในสมัยจักรวรรดิ

 

             แม้ว่าชาวอียิปต์จะนิยมสร้างวัดใหญ่โตและแข็งแรง แต่ไม่มีความสง่างาม ไม่ได้สัดส่วน เน้นแต่ความสมดุล ใหญ่โตและความแข็งแรง ศิลปะส่วนใหญ่เน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความงามแบบสุนทรีย์ มีรูปแบบเป็นแอบสแตรค (Abstrad) มากกว่าภาพเหมือนจริงหรือความเป็นจริงตามธรรมชาติ จุดมุ่งหมายที่แม้จริงในการก่อสร้างอาคารและวัตถุเป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อ ในความภาคภูมิใจในชาติอียิปต์ ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ ความแข็งแรงและความยั่งยืนของรัฐ

ความคิดของชาวอียิปต์มีอิทธิพลต่อชาติต่าง ๆ ซึ่งนิยมสร้างอาคารและรูปปั้นใหญ่โต เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความภูมิใจในชัยชนะของพวกเขา

                2.ประติมากรรม

งานประติมากรรมมีลักษณะแข็ง ตรง ใบหน้าวางเฉย ดวงตาฝังด้วยแก้ว จ้องไปข้างหน้า รูปร่างบอบบาง แต่มีรูปร่างสัดส่วนผิดธรรมชาติ เช่น ต้นขาสั้นไป ไหล่ทั้งสองข้างยกตั้งขึ้นมาก เช่น รูปแกะสลักฟาโรห์เมนเคอร์และพระมเหสี (Menkure and his Queen) เป็นต้นดูภาพขนาดใหญ่

ผลงานที่ไม่เป็นธรรมชาติที่เด่นชัดที่สุดคือ รูปสฟิงซ์ (Sphinx) รูปร่างเป็นสิงโต แต่ใบหน้าเป็นฟาโรห์ จุดมุ่งหมายของการสร้างสฟิงซ์ดูว่าจะเป็นสัญลักษณ์ของฟาโรห์ผู้ทรงพลัง กล้าหาญ เข้มแข็ง และแข็งแรง

ประติมากรรมที่สวยงามอีกชั้น คือ พระเศียรของพระนางเนเฟอติตติ (Nefertiti) เป็นรูปแกะสลักครึ่ง  องค์ ทรงมีลักษณะยิ้มน้อย ๆ แบบล้อเลียนที่สิงอยู่ ถือเป็นงานประติมากรรมที่ยิ่งใหญ่ในศิลปะประวัติศาสตร์

คุณค่าประติมากรรมของอียิปต์ทำให้เราสมารถศึกษาชีวิต ความเป็นอยู่ และความนึกคิดของชาวอียิปต์ได้อย่างหนึ่ง

               

 

3.จิตรกรรม

เกิดขึ้นหลังจากสถาปัตยกรรมและประติมากรรม งานด้านนี้ได้รับอิทธิพลจากศาสนา ผลงานที่เด่นเกิดในสมัยฟาโรห์วิคนาตัน ซึ่งพระองคเปลี่ยนไปนับถือพระเจ้าองค์เดียวกัน และเป็นงานที่เน้นความจริงมาก (Realism) ไม่เน้นความใหญ่โตเหมือนสมัยก่อน ๆ  รูปภาพที่แสดงความใกล้เคียงธรรมชาติ เน้นการเคลื่นไหว และภาพส่วนใหญ่จะวาดประดับในพีระมิดและวัด ส่วนใหญ่จะเป็นสีน้ำ  ซึ่งเป็นสีที่ได้จากธรรมชาติ มีสีแดง สีเหลือง น้ำตาล และสีดำ โดยนำสีเหล่านี้มาผสมกับยางไม้ให้ติดแน่น ใช่พู่กันทำด้วยกิ่งปาล์ม วาดเป็นสีสองมิติ ภาพอยู่ในระดับเดียวกัน แต่ถ้าสิ่งใดเกิดก่อนจะจัดไว้เหนือภาพที่เกิดทีหลัง

วรรณคดี

ชาวอียิปต์รู้จักถ่ายทอดภาษาพูดเป็นตัวอักษรประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นตัวอักษรภาพแสดงความหมาย ต่อมาใช้ภาพแทนเสียงของคำที่มีความหมาย และมี

                                     ภาพบนซ้ายและขวาเป็นอักษรภาพ Hieroglyphies ส่วนภาพล่างซ้ายและขวาคือ อักษรหวัด Hieratic ซึ่งใช้เขียนจริงในชีวิตประจำวัน

               การดัดแปลงรูปภาพแทนพยางค์ และนำมารวมกันเป็นคำในที่สุด ตัวอักษรภาพนี้ถ้าใช้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับ  ศาสนา เรียกว่า เฮียโรกลิฟฟิค Hieroglyphic  แปลว่าอักษรอันศักสิทธิ์  ส่วนตัวอักษรหวัดที่ใช้ทั่วไป เรียกว่า เฮียราติก Hieratic  ซึ่งดัดแปลงมาจากตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟิค นอกจากนี้ชาวอียิปต์ยังรู้จักการทำกระดาษและหมึก การรู้จักการทำกระดาษปาปิรุสทำให้ชาวอียิปต์เผยแพร่วรรณกรรมได้ง่ายขึ้น เพราะกระดาษปาปิรุสม้วนเก็บได้ง่าย ไม่เปลืองเนื้อที่เหมือนการสลักบนแผ่นศิลา บนแผ่นดินเผา แม้ทนทานแต่กรรมวิธียุ่งยากและลงทุนลงแรง  มากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม ชาวอียิปต์ยังมีการแกะสลักตัวอักษาของตนลงบนแผ่นศิลาเช่นเดียวกับชาติอื่น ๆ

                       ภาพซ้ายเป็นภาพวาดบนกระดาษปาปิรุส

ภาพขวาเป็นภาพต้นปาปิรุส

 ความสำเร็จในทางศิลปะของอียิปต์โบราณที่มีต่อโลกมาจนถึงปัจจุบัน มี 2 ด้าน ดังนี้

1.สติปัญญาและศิลปะ ตวามรู้และความสามารถของชาวอียิปต์ที่มีอิทธิพลต่ออารยธรรมตะวันตกและอารยธรรมโลกอย่างมาก ที่สำคัญคือ ปรัชญา วรรณคดี นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีเกี่ยวกับการพิจารณาคดี ทฤษฎีการเมือง เป็นต้น

2.ศาสนาและศีลธรรม ถ้าไม่นับชาวเปอร์เชียแล้ว นับว่าชาวอียิปต์เป็นชาติโบราณที่ได้สร้างศาสนสถานประตำชาติขึ้นภายใต้ทฤษฎีของความเป็นอมตะในชีวิต นับถือพระเจ้าองค์เดียว มีการให้อภัยแก่บาป มีการให้รางวัล และทำโทษภายหลังการตายแล้ว ที่สำคัญคือ ทฤษฎีเกี่ยวกับศีลธรรม มีอิทธิพลต่อศาสนาอื่น ๆ ทั้งในด้านศีลธรรมส่วนบุคคลและสังคม เหล่านี้ล้วนเป็นศาสนาและศีลธรรมของชาวอียิปต์ที่มราอิทธิพลต่อชาวโลก

สรุปได้ว่า ในการที่ชาวอียิปต์โบราณนั้น ชาวอียิปต์เป็นคนที่มีความคิดที่ลึกซึ้ง เป็นคนที่มีความคิดทะลุปุโรง นึกคิดถึงภายหลัง และจะมีความสำคัญต่อโลกในปัจจุบัน อย่างมาก  รู้จักคิด วิเคราะห์และมีความเชื่อในส่วนตัวในการนับถือพระเจ้าของเขาถึงแม้จะเป็นความเชื่อที่คนในปัจจุบันไม่ค่อยเชื่อแต่คนในสมัยนั้นเชื่อเพราะมีอิทธิพลต่อตัวเขามาก ชาวอียิปต์ยังมีสถาปัตยกรรมที่สำคัญ เช่น พีระมิด ที่เกิดขึ้นรวมถึงอีก 6 สิ่งมหัศจรรย์ที่ติดอันดับของโลก ที่เป็นสิ่งที่ค้นพบจากการใช้ฝีมือมนุษย์ในการสร้างที่ไม่มีการใช้เครื่องทุนแรง หรือเครื่องจักรใด ๆ เลย และยังมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับศาสนาในการนับถือความเชื่อในสมัยก่อนของไทยเรา เช่น ภูตผีปีศาจ หรือไม่ว่าจะเป็น เทวดา นางไม้ เจ้าป่าเจ้าเขา พระแม่ธรณี พระแม่คงคา เป็นต้น และยังมีอิทธิพลต่อพระพุทธศาสนาของเราด้วย เช่น การห้ามพูดเท็จ ห้ามการลักขโมย ห้ามฆ่าสัตว์ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ดี ถ้าผู้อ่านได้เรียนรู้และศึกษา ในการศึกษานี้ยังแฝงไปถึงความรู้ และข้อคิดที่ดี และผู้เขียนจึงขอแนะนำให้ผู้อ่านนำสิ่งต่าง ๆ ในด้านที่ดี ไปเป็นความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตของท่านให้ประสบสู่ความสำเร็จได้

     ที่มา 1.หนังสืออารยธรรมตะวันออกและตะวันตกผู้แต่ง วีณา ศรีธัญรัตน์และ2.อารยธรรมโลกสมัยโบราณ-สมัยกลางโดย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรองศาสตราจารย์ ดร. ประพิณ มโนมัยวิบูลย์

คณะบดีคณะอักษรศาสตร์

สร้างโดย: 
นาย เฉลิมวิทย์ ศรีสุวรรณ ชั้นมํธยมศึกษาปีที่6/4 โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

 

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 261 คน กำลังออนไลน์