• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a0216c31c9e7076bc87c62f5e7eb8108' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<span style=\"color: #f84dbe\"><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กลอนสุภาพ</span></b><b><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span></b></span> \n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">กลอนสุภาพ คือกลอนที่ใช้ถ้อยคำ และทำนองเรียบๆ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 144pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span>               </span>๑. กลอน ๖</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">๒. กลอน ๗</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">๓. กลอน ๘</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">๔. กลอน ๙</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">กลอนสุภาพ นับว่าเป็นกลอนหลัก เพราะเป็นหลัก ของบรรดากลอนทุกชนิด ถ้าเข้าใจกลอนสุภาพ เป็นอย่างดีแล้ว ก็สามารถจะเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้โดยง่าย กลอนอื่นๆ ที่มีชื่อเรียกไปต่างๆ นั้น ล้วนแต่ยักเยื้อง แบบวิธี ไปจากกลอนสุภาพ ซึ่งเป็นกลอนหลัก ทั้งสิ้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><b><u><span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คณะของกลอนสุภาพ</span><o:p></o:p></span></u></b> </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">มีแบบแผนอยู่ คือ หนึ่งบทมี ๒ บาท บาทที่ ๑ จะเรียกว่า <b><i>บาทเอก</i></b> <span> </span>ในบาทเอก มี ๒ วรรค คือ วรรคสดับ และ วรรครับ บาทที่ ๒ จะเรียกว่า <b><i>บาทโท</i></b> ในบาทโท มี ๒ วรรค คือ วรรครอง และ วรรคส่ง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><b><u><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พยางค์<span>  </span></span></u></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คือ คำในแต่ละวรรคของกลอน เช่น กลอนแปด มี ๘ คำ ใน ๑ บท มี ๔ วรรค รวม ควรมีคำทั้งหมด ๓๒ คำ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กลอนหก มี ๖ คำ ใน ๑ บท มี ๔ วรรค รวม ควรมีคำทั้งหมด ๒๔ คำ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กลอนสุภาพ หนึ่งบทมี ๔วรรคหรือ ๒บาท มีชื่อเรียกต่างๆกันคือ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">-วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">-วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">-วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">-วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          ในแต่ละวรรคของกลอนสุภาพจะมีจำนวนคำประมาณ ๗-๙ คำ(พยางค์) แต่ที่นิยมใช้คือ ๘ คำ(พยางค์)</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><u><strong>ลักษณะสัมผัสของกลอนสุภาพมีดังนี้</strong></u></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังคำที่ ๓ หรือ ๕ของวรรคที่ ๒ ในกรณีที่วรรคที่ ๒มี ๘คำพอดี แต่ถ้าในวรรคที่ ๒มีอยู่ ๙คำ จะเลื่อนไปสัมผัสกับคำที่ ๖ แทน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ไปสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ไปสัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ (เช่นเดียวกับสัมผัสในวรรคที่ ๑ ไปวรรคที่ ๒)</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          - คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ของบทต่อไป</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><u><strong>สัมผัสนอก-สัมผัสใน </strong></u></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">          กลอนสุภาพมีสัมผัสที่เราต้องคำนึงถึงอยู่ ๒ ชนิดคือ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">          ๑. <em>สัมผัสนอก</em> ได้แก่สัมผัสที่อยู่นอกวรรคอันได้แก ่สัมผัสระหว่างวรรคและสัมผัสระหว่างบท ถือเป็นสัมผัสบังคับ สัมผัสชนิดนี้จะใช้คำที่มีสระเดียวกัน ตัวสะกดมาตราเดียวกันมาสัมผัสกันเช่น  กา-ขา-ค้า-ป้า-ช้า-น่า หรือ กิน-ดิน-ศิลป์-จินต์....ฯลฯ เราเรียกสัมผัสที่ใช้สระเดียวกัน และตัวสะกดมาตราเดียวกันนี้ว่า สัมผัสสระ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">        ๒<em>. สัมผัสใน</em> ได้แก่สัมผัสที่อยู่ในวรรคเดียวกัน เป็นสัมผัสที่ไม่บังคับ จะมีหรือไม่มีก็ได้ เพิ่มขึ้นมาเพื่อให้เกิดความไพเราะ สัมผัสในจะใช้เป็นสัมผัสสระ หรือ สัมผัสพยัญชนะ(สัมผัสอักษร) ก็ได้ สัมผัสในจะอยู่ระหว่างคำที่ ๕ กับ ๖ หรือ ๕ กับ๗(ในกรณีที่วรรคนั้นๆมี ๘ คำ)และระหว่างคำที่ ๖ กับ ๗ หรือ ๖ กับ ๘ (ในกรณีที่วรรคนั้นๆมี ๙ คำ)</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">        สัมผัสในนิยมใช้สัมผัสสระมากกว่าสัมผัสพยัญชนะและสามารถอนุโลมให้คำที่มีสระเสียง<br />\nสั้น-ยาวต่างกัน แต่มีตัวสะกดมาตราเดียวกันสัมผัสกันได้ เช่น ดิน-ศีล/ วัน-การ/ใจ-กาย เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><strong><u>เสียงวรรณยุกต์ลงท้ายวรรค</u></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">-วรรคที่ ๑(วรรคสดับ)...สามารถลงท้ายด้วยเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ แต่ไม่นิยมใช้เสียงสามัญ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">-วรรคที่ ๒(วรรครับ)...ให้ลงท้ายด้วยเสียงเอก หรือ โท หรือ จัตวา ห้ามเสียงสามัญ และ ตร</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">-วรรคที่ ๓(วรรครอง)...ให้ลงท้ายด้วยเสียงสามัญ หรือ ตรี ห้ามเสียงเอก โท จัตวา</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">-วรรคที่ ๔(วรรคส่ง)...ให้ลงท้ายเช่นเดียวกับในวรรคที่ ๓</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"> สำหรับผู้ที่เพิ่งหัดแต่งกลอนใหม่ๆ ไม่ควรลงท้ายวรรคที่๒/ ๓ /๔ ด้วยมาตราแม่ กก กบ กด เพราะอาจจะทำให้หลงเสียงวรรณยุกต์ได้</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span style=\"color: red; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span></span><o:p><span style=\"font-size: small\"></span></o:p></span></span></span></p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><u><strong>จังหวะของคํา</strong></u> แบ่งช่วงจังหวะดังนี้ <br />\n1. กลอน 6 คํา จะเป็น 00 / 00 / 00 <br />\n2. กลอน 7 คํา จะเป็น 00 / 00 / 000 หรือ 000 / 00 / 00 <br />\n3. กลอน 8 คํา จะเป็น 000/ 00 / 000 <br />\n4. กลอน 9 คํา จะเป็น 000 / 000 / 000 <br />\nระหว่างช่วงของจังหวะ นิยมสัมผัสในสัมผัสสระ เพื่อความไพเราะ </span></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><br />\n<strong><u>ลีลาของกลอน</u></strong> <br />\nลีลาหมายถึงถ้อยคําสํานวนที่มีการดําเนินไปอย่างสง่าบรรจง <br />\nโบราณจัดไว้ 4 ประเภทคือ <br />\n1. เสาวรจนี คือ ถ้อยคําชมโฉม <br />\n2. นารีปราโมทย์ คือ ถ้อยคําเล้าโลมหรือว่าเกี้ยวพาราสี <br />\n3. พิโรธวาทัง คือ ถ้อยคําขุ่นเคือง หรือตัดพ้อต่อว่า <br />\n4. สัลลาปังคพิสัย คือ ถ้อยคําครํ่าครวญรําพึงรําพัน <br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-large; color: #f84dbe\">กลอน 6</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><u><strong>หลัก</strong></u></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">1.<span>  </span>ใช้คำวรรคละ 6 คำ อักษรนำจะใช้เป็นคำควบกันแล้วนับเป็นคำเดียว หรือ จะแยกนับ 2 คำก็ได้<span>      </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span>      </span>เฉพาะในฉันทลักษณ์ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">2.<span>  </span>คำสุดท้ายของวรรคหน้าของทุกวรรค จะต้องสัมผัสกับคำที่ 2 หรือ 4 ของวรรคหลัง </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span>      </span>และวรรค สุดท้ายของวรรคที่ 2 จะต้องสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span>      </span>ถ้าจะแต่งต่อ คำสุดท้ายของบทจะต้องสัมผัสกับคำสุดท้ายของบทที่ 2 ของบทต่อไป </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\">3.<span>   </span>สัมผัสนอก เป็นสัมผัสที่ขาดไม่ได้ในวรรค ควรมีอย่างน้อย 1 คู่ในแต่ละวรรค หากไม่มีเลย</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #f84dbe\"><span>      </span>จะทำให้กลอนดูไม่ไพเราะ ถ้ามีครบทุกคู่ ก็ถือว่าดีเยี่ยม</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><u><strong>แผนผัง</strong></u></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"343\" src=\"/files/u4797/k6.gif\" height=\"115\" /></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u> ตัวอย่าง</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"401\" src=\"/files/u4797/k6_1___.gif\" height=\"101\" />\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\">กลอน ๗</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<u><strong><span style=\"font-size: large\">หลัก</span></strong></u>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em>ลักษณะบังคับ</em> 1 บท มี 2 บาท เขียนวรรคละ 7 คำ ส่งสัมผัสแบบกลอนสุภาพ พบในกลบทศิริวิบุลกิตติ มีอยู่ 2 ชนิด คือ กลบทอักขระโกศลและกลบท กบเต้นกลางสระบัว</span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: medium\"><u>แผนผัง</u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: medium\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"389\" src=\"/files/u4797/k7.gif\" height=\"108\" />\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<u><strong>ตัวอย่าง</strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"439\" src=\"/files/u4797/k7_1____0.gif\" height=\"101\" />\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: x-large\"><strong>กลอน ๘</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<u><span style=\"font-size: large\">หลัก</span></u>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n             ใน ๑ บท มีทั้งหมด ๔ วรรค ใน ๑ วรรคมีทั้งสิ้น ๗ - ๑๐ คำ หรือ ๗ - ๑๐ พยางค์ (นิยม ๘ - ๙ คำ หรือ ๘ - ๙ พยางค์) โดยที่มีสัมผัสนอกระหว่างวรรคในบทนั้นๆ ๓ สัมผัส ได้แก่<br />\n- คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒<br />\n- คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓<br />\n- คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๔\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n- คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ จะไปสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ บทถัดไป</p>\n<p>                 สัมผัสที่กล่าวมาในข้างต้นทั้งสัมผัสภายในบทและสัมผัสระหว่างบทนั้นเป็นฉันทลักษณ์ที่ถูกกำหนดไว้ว่าต้องมีในทุกบทกลอน ซึ่งสัมผัสเหล่านี้จะถูกเรียกว่า <b><em>สัมผัสนอก</em></b> แต่ยังมีสัมผัสอีกประเภทในกลอนแปดที่ไม่ได้ถูกบังคับไว้ในฉันทลักษณ์ ที่ผู้ประพันธ์บทกลอนมักจะประพันธ์ลงไปในบทกลอนนั้นๆ เพื่อเพิ่มความสละสลวย สัมผัสนั้นถูกเรียกว่า <em><b>สัมผัสใน</b><br />\n</em><br />\n                 สัมผัสในนั้น ก็คือสัมผัสภายในวรรค คือการสัมผัสคล้องจองของคำที่อยู่ในวรรคเดียวกัน จะมีหรือไม่มีก็ได้ เพราะไม่มีข้อบังคับไว้ แต่นิยมแต่งให้มีสัมผัสในเพราะจะช่วยให้กลอนไพเราะมากยิ่งขึ้น ถูกแบ่งออกเป็นสองประเภทก็คือ\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b>- สัมผัสเสียง</b> คือการสัมผัสระหว่างเสียงสระและตัวสะกดในมาตราเดียวกัน เช่น ตา - พา , รัด - มัด , ใจ - สัย เป็นต้น<br />\n<b>- สัมผัสอักษร</b> คือการสัมผัสระหว่างคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นตัวอักษรเดียวกัน เช่น เขียง - ไข , งง - ง่าย , อาจ - เอื้อม เป็นต้น\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: medium\"><u>แผนผัง</u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: medium\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"440\" src=\"/files/u4797/k8.gif\" height=\"118\" />\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: medium\">ตัวอย่าง</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: medium\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"470\" src=\"/files/u4797/k8_1_____0.gif\" height=\"123\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n                       กลอนแปดนั้นถือว่าเป็นขนบกวีนิพนธ์พื้นฐานที่นิยมที่สุดในวงการวรรณคดีไทย เหตุเพราะมีฉันทลักษณ์ที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน สามารถแสดงอารมณ์ได้หลากหลาย และคนทั่วไปสามารถเข้าถึงเนื้อความได้ไม่ยาก รูปแบบของกลอนแปดที่ถือว่าพัฒนาได้ถึงขีดสุด คือ รูปแบบกลอนแปดของสุนทรภู่ ซึ่งปรับปรุงจากกลอนตลาดทั่วไปที่นิยมเล่นกันมาแต่ก่อน ให้มีความแพรวพราวด้วยสัมผัสในผสมผสานกันไป และขนบดังกล่าวนี้ก็ได้รับการสืบทอดต่อมาในงานกวีนิพนธ์ยุคหลังๆ กระทั่งปัจจุบัน\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n                                  <span style=\"font-size: x-large\"><strong>                                            กลอนเก้า</strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: x-large\"></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: large\"><u>หลัก</u></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nใช้คําวรรคละ 9 คําสุดท้ายของวรรคหน้าทุกวรรค ต้องสัมผัสกับคําที่ 3 หรือ ที่ 6 ของวรรคหลัง นอกนั้นเหมือนในกลอน 6\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u>แผนผัง</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"491\" src=\"/files/u4797/k9.gif\" height=\"107\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u>ตัวอย่าง</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"470\" src=\"/files/u4797/k9_1____.gif\" height=\"101\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #f84dbe\"></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1714288590, expire = 1714374990, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a0216c31c9e7076bc87c62f5e7eb8108' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กลอนสุภาพ

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


กลอนสุภาพ

กลอนสุภาพ คือกลอนที่ใช้ถ้อยคำ และทำนองเรียบๆ แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ

               ๑. กลอน ๖

๒. กลอน ๗

๓. กลอน ๘

๔. กลอน ๙

กลอนสุภาพ นับว่าเป็นกลอนหลัก เพราะเป็นหลัก ของบรรดากลอนทุกชนิด ถ้าเข้าใจกลอนสุภาพ เป็นอย่างดีแล้ว ก็สามารถจะเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้โดยง่าย กลอนอื่นๆ ที่มีชื่อเรียกไปต่างๆ นั้น ล้วนแต่ยักเยื้อง แบบวิธี ไปจากกลอนสุภาพ ซึ่งเป็นกลอนหลัก ทั้งสิ้น

สร้างโดย: 
จุฑารัตน์ สิงห์ศิลปชัย

ดีมากๆๆค่ะ เข้าจัยง่าย

เนื้อหาอ่านเข้าใจง่ายดีค่ะ

ชอบค่ะใช้สีอ่านง่ายไม่แสบตา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 467 คน กำลังออนไลน์