• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:583af0951bf79fcdc2560c9e24effe89' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 align=\"center\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #3366ff\"><b></b></span></span></h2>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #3366ff\">\n<div>\n<img src=\"/files/u5595/15_resize.jpg\" style=\"width: 411px; height: 42px\" width=\"350\" height=\"26\" />\n</div>\n<p></p></span></span></h2>\n<h2><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #3366ff\"><b>  \n<h2>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u5595/1.gif\" width=\"96\" height=\"100\" />\n</div>\n</h2>\n<h2></h2>\n<h2><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New; color: #49908f\"></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 150%\" class=\"font2\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><b>ยาสามัญประจำบ้าน (Household Remedy) คืออะไร</b></span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ยาสามัญประจำบ้าน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาคัดเลือกว่าเป็นยาที่เหมาะสมที่จะให้ประชาชนหาซื้อมาใช้ได้ด้วยตนเอง เพื่อการดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ที่มักจะเกิดขึ้นได้</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ยาสามัญประจำบ้าน จัดว่าเป็นยาที่มีความปลอดภัยอย่างสูง หากประชาชนใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็จะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น ประกอบกับยาดังกล่าวมีราคาย่อมเยา ประชาชนสามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายยา ศูนย์การค้า ร้ายขายของชำ ร้านกาแฟ ปั้มน้ำมัน ป้ายรถเมล์ ตลอดจนหาบเร่ แผงรอย มีขายทั้งในเมืองและตามชนบท ทั้งนี้ก็เพราะกระทรวงสาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจำบ้าน ได้กระจายไปถึงประชาชนทั่วประเทศ ทำให้ประชาชนดูแลตนเองได้อย่างทั่วถึง จึงไม่บังคับให้ต้องขายยาสามัญประจำบ้านในร้านขายยาเหมือนยาอื่นๆ</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ยาสามัญประจำบ้านมีทั้งยาแผนปัจจุบัน และยาแผนโบราณ</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 150%\" class=\"font2\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><b>จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นยาสามัญประจำบ้าน</b></span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ยาสามัญประจำบ้านมีทั้งหมด 53 ชนิด นำมาใช้กับโรคหรืออาการของโรคได้ 16 กลุ่ม ยาสามัญประจำบ้านอาจมีชื่อทางการค้า หรือยี่ห้อแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ผลิตแต่ละรายจะตั้งชื่อยาของบริษัทฯ ว่าอย่างไร แต่ควบคู่ไปกับชื่อการค้าจะต้องมีชื่อยาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ข้อสังเกตอีกประการก็คือ ฉลากของยาสามัญประจำบ้านจะต้องมีคำว่า &quot;ยาสามัญประจำบ้าน&quot; อยู่ในกรอบสีเขียว</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 150%\" class=\"font2\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><b>การเลือกซื้อยา</b></span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ในกรณีที่เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะสังเกตว่า มีเลขทะเบียนตำรับยาอยู่บนฉลาก ยาที่ขึ้นทะเบียนแล้วถือว่าเป็นยาที่ได้มาตรฐาน มีสรรพคุณใช้ในการรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคได้ อย่างไรก็ตาม ยาย่อมมีการเสื่อมสภาพ เป็นผลให้ประสิทธิภาพในการรักษาลดลงได้ตามกาลเวลาและสภาพการเก็บรักษา ดังนั้นควรเลือกซื้อยาใหม่ โดยดูวันผลิต และวันที่สิ้นอายุบนฉลาก ไม่ควรซื้อยาที่สิ้นอายุ หรือหมดอายุแล้ว เพราะนอกจากใช้ไม่ได้ผลแล้ว อาจทำให้เกิดอันตรายได้ด้วย</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ควรซื้อยาที่มีฉลาก และเอกสารกำกับยาครบถ้วน มีตัวหนังสืออ่านได้ชัดเจน ภาชนะบรรจุอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย ยาที่บรรจุอยู่ก็ต้องมีสภาพดี สมบูรณ์ เช่น ยาเม็ดต้องไม่แตก สีเรียบไม่เป็นจุดด่าง (ยกเว้นยาบางชนิดที่ทำให้มีหลายๆ สีเป็นลายกระ) หากเป็นยาหยอดตาต้องไม่ตกตะกอน ยาน้ำแขวน</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">ตะกอน เมื่อเขย่าแล้วยาต้องกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ ยาขี้ผึ้งหรือครีมต้องมีเนื้อเนียนผสมเป็นเนื้อเดียว ไม่มีน้ำไหลเยิ้มหรือส่วนที่แห้งแข็ง</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 150%\" class=\"font2\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><b>ใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างไรให้ปลอดภัย</b></span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 0px; line-height: 100%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">การใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัยมีหลักใหญ่ 3 ประการคือ</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">1. อ่านฉลากและเอกสารกำกับยาก่อนใช้ยา</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">2. ใช้ยาให้ถูกต้อง - ถูกโรค ถูกคน ถูกทาง ถูกวิธี ถูกขนาด ถูกเวลา ถูกจำนวนครั้ง</span> </span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: arial,helvetica,sans-serif; color: #000000\">3. หลีกเลี่ยงการใช้ยาในทางที่ผิด</span> </span></span></h2>\n<p style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\">\nที่มา <a href=\"/node/19259?page=0%2C1\">http://www.thaigoodview.com/node/19259?page=0%2C1</a>\n</p>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"justify\"><span style=\"font-size: small; font-family: Arial; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span></h2>\n<h2 style=\"text-indent: 40px; line-height: 150%\" align=\"center\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small; font-family: Arial; color: #000000\">-------------------------------------------------------------------------------</span> \n</span></span></h2></b></span></span></h2>', created = 1715304442, expire = 1715390842, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:583af0951bf79fcdc2560c9e24effe89' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Medicine

 

ยาสามัญประจำบ้าน (Household Remedy) คืออะไร

ยาสามัญประจำบ้าน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาคัดเลือกว่าเป็นยาที่เหมาะสมที่จะให้ประชาชนหาซื้อมาใช้ได้ด้วยตนเอง เพื่อการดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ที่มักจะเกิดขึ้นได้

ยาสามัญประจำบ้าน จัดว่าเป็นยาที่มีความปลอดภัยอย่างสูง หากประชาชนใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็จะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น ประกอบกับยาดังกล่าวมีราคาย่อมเยา ประชาชนสามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายยา ศูนย์การค้า ร้ายขายของชำ ร้านกาแฟ ปั้มน้ำมัน ป้ายรถเมล์ ตลอดจนหาบเร่ แผงรอย มีขายทั้งในเมืองและตามชนบท ทั้งนี้ก็เพราะกระทรวงสาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจำบ้าน ได้กระจายไปถึงประชาชนทั่วประเทศ ทำให้ประชาชนดูแลตนเองได้อย่างทั่วถึง จึงไม่บังคับให้ต้องขายยาสามัญประจำบ้านในร้านขายยาเหมือนยาอื่นๆ

ยาสามัญประจำบ้านมีทั้งยาแผนปัจจุบัน และยาแผนโบราณ

จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นยาสามัญประจำบ้าน

ยาสามัญประจำบ้านมีทั้งหมด 53 ชนิด นำมาใช้กับโรคหรืออาการของโรคได้ 16 กลุ่ม ยาสามัญประจำบ้านอาจมีชื่อทางการค้า หรือยี่ห้อแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ผลิตแต่ละรายจะตั้งชื่อยาของบริษัทฯ ว่าอย่างไร แต่ควบคู่ไปกับชื่อการค้าจะต้องมีชื่อยาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข

ข้อสังเกตอีกประการก็คือ ฉลากของยาสามัญประจำบ้านจะต้องมีคำว่า "ยาสามัญประจำบ้าน" อยู่ในกรอบสีเขียว

การเลือกซื้อยา

ในกรณีที่เป็นยาสามัญประจำบ้านที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะสังเกตว่า มีเลขทะเบียนตำรับยาอยู่บนฉลาก ยาที่ขึ้นทะเบียนแล้วถือว่าเป็นยาที่ได้มาตรฐาน มีสรรพคุณใช้ในการรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคได้ อย่างไรก็ตาม ยาย่อมมีการเสื่อมสภาพ เป็นผลให้ประสิทธิภาพในการรักษาลดลงได้ตามกาลเวลาและสภาพการเก็บรักษา ดังนั้นควรเลือกซื้อยาใหม่ โดยดูวันผลิต และวันที่สิ้นอายุบนฉลาก ไม่ควรซื้อยาที่สิ้นอายุ หรือหมดอายุแล้ว เพราะนอกจากใช้ไม่ได้ผลแล้ว อาจทำให้เกิดอันตรายได้ด้วย

ควรซื้อยาที่มีฉลาก และเอกสารกำกับยาครบถ้วน มีตัวหนังสืออ่านได้ชัดเจน ภาชนะบรรจุอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย ยาที่บรรจุอยู่ก็ต้องมีสภาพดี สมบูรณ์ เช่น ยาเม็ดต้องไม่แตก สีเรียบไม่เป็นจุดด่าง (ยกเว้นยาบางชนิดที่ทำให้มีหลายๆ สีเป็นลายกระ) หากเป็นยาหยอดตาต้องไม่ตกตะกอน ยาน้ำแขวน

ตะกอน เมื่อเขย่าแล้วยาต้องกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ ยาขี้ผึ้งหรือครีมต้องมีเนื้อเนียนผสมเป็นเนื้อเดียว ไม่มีน้ำไหลเยิ้มหรือส่วนที่แห้งแข็ง

ใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างไรให้ปลอดภัย

การใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัยมีหลักใหญ่ 3 ประการคือ

1. อ่านฉลากและเอกสารกำกับยาก่อนใช้ยา

2. ใช้ยาให้ถูกต้อง - ถูกโรค ถูกคน ถูกทาง ถูกวิธี ถูกขนาด ถูกเวลา ถูกจำนวนครั้ง

3. หลีกเลี่ยงการใช้ยาในทางที่ผิด

 

ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/19259?page=0%2C1

-------------------------------------------------------------------------------

สร้างโดย: 
อ.ขนิษฐา ยั่งยืน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 347 คน กำลังออนไลน์