• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e30ff59d211ce9a34a01887b0d0f3d03' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n บทความหลักที่ ประวัติศาสตร์จีน และ ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน <br />\n <br />\nเหมาเจ๋อตุงประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนที่จัตุรัสเทียนอันเหมินและปกครองระบอบคอมมิวนิสต์สงครามกลางเมือง (Chinese Civil War) ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับพรรคก๊กมินตั๋ง สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2492 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจบลงด้วยการที่ พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้เข้าปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ ส่วนพรรคก๊กมินตั๋งได้เข้าปกครองไต้หวัน และเกาะบางเกาะในมณฑลฝูเจี้ยน ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เหมาเจ๋อตุง ได้ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน และปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ การปกครองในสมัยของเหมานั้น เข้มงวดและกวดขัน แม้กระทั่งชีวิตประจำวันของประชาชน\n</p>\n<p>\nหลังจากที่เหมาถึงแก่อสัญกรรม เติ้งเสี่ยวผิงก็ได้ขึ้นสู่อำนาจ โดยจีนยังคงอยู่ในระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากนั้นรัฐบาลจีนจึงได้ค่อยๆ ลดการควบคุมชีวิตส่วนตัวของประชาชน และพยายามที่จะปฏิรูประบบเศรษฐกิจของตนให้เป็นไปตามกลไกตลาด\n</p>\n<p>\n<br />\nการปฏิวัติ<br />\n <br />\nเจียง ไคเช็ก เป็นผู้นำของจีนระหว่าง พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2492การปฏิวัติครั้งแรกของจีนเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) ซึ่งเป็นการโค่นล้มอำนาจการปกครองของราชวงศ์ชิง โดยการนำของ ดร. ชุน ยัตเซน หัวหน้าพรรคก๊กมินตั๋ง เป็นผลทำให้จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยในที่สุด\n</p>\n<p>\nสาเหตุที่ก่อให้เกิดการโค่นล้มอำนาจครั้งนี้น่าจะมาจากความเสื่อมโทรมของสภาพสังคมจีน ผู้นำประเทศจักรพรรดิแมนจูไม่มีอำนาจกำลังพอที่จะปกครองประเทศได้ ซึ่งตลอดระยะเวลาปกครอง 268 ปี (พ.ศ. 2187 – 2455) มีแต่การแย่งชิงอำนาจในหมู่ผู้นำราชวงศ์ ด้วยเหตุนี้ราษฎรส่วนมากจึงตกอยู่ในสภาพยากจน ชาวไร่ชาวนาถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก ถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าของที่ดิน ชาวต่างชาติเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ แผ่นดินจีนถูกคุกคามจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาติมหาอำนาจตะวันตก และญี่ปุ่น ซึ่งจีนทำสงครามต่อต้านการรุกรานของกองกำลังต่างชาติเป็นฝ่ายแพ้มาโดยตลอด ทำให้คณะปฏิวัติไม่พอใจระบอบการปกครองของราชวงศ์แมนจู\n</p>\n<p>\nเพื่อความสำเร็จในการแก้ปัญหาของของประเทศชาติ ดร.ซุน ยัตเซ็น ผู้นำฯ จึงได้ประกาศอุดมการณ์ของการปฏิวัติ 3 ประการ เรียกว่า “ลัทธิไตรราษฎร์” มีหัวข้อดังนี้\n</p>\n<p>\nประชาธิปไตย มีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย และมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ <br />\nชาตินิยม ต้องขับไล่อำนาจและอิทธิพลของต่างชาติออกไปจากจีน <br />\nสังคมนิยม มีการจัดสรรที่ดินให้แก่เกษตรกร <br />\n3. การปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n3.1 ความสำคัญ การปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 โดยการนำของ “เหมา เจ๋อตุง” ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย ข้าสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์\n</p>\n<p>\n3.2 สาเหตุการปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง (ค.ศ. 1939 – 1945) สรุปได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n(1) ปัญหาความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจและความยากจนของประชาชน ซึ่งรัฐบาลของประธานาธิบดี เจียง ไคเช็ค ไม่สามารถแก้ปัญหาได้\n</p>\n<p>\n(2) การเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในประเทศจีน เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาความยากจนของราษฎร โดยให้ความสำคัญแก่ชนชั้นผู้ใช้แรงงานและเกษตรกร และเป็นศัตรูกับชนชั้นนายทุน\n</p>\n<p>\n3.3 ความสำเร็จของการปฏิวัติของจีนปี ค.ศ. 1949 สรุปได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n(1) ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เหมา เจ๋อตุง” รัฐบาลได้ยึดที่ดินทำกินของ เอกชนมาเป็นของรัฐบาล และใช้ระบบการผลิตแบบนารวม (หรือระบบคอมมูน) ชาวนามีฐานะเป็นแรงงานของรัฐ ทำให้ชาดความกระตือรือร้นเพราะทุกคนได้รับผลตอบแทนท่ากัน ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนส่วนใหญ่มีสภาพลำบากยากจนเหมือนๆ กัน\n</p>\n<p>\n(2) ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” เป็นยุคที่จีนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศให้เป็นระบบตลาดหรือทุนนิยม โดยมรับแนวทางทุนนิยมของชาติตะวันตกมากขึ้น เช่น เปิดรับการลงทุนจากต่างชาติเพื่อให้คนจีนมีงานทำ และอนุญาตให้ภาคเอกชนดำเนินธุรกิจการค้าได้ เป็นต้น ทั้งนี้ มีระบอบการปกครองยังคงเป็นคอมมิวนิสต์เหมือนเดิม\n</p>\n<p>\n(2) นโยบาย “หนึ่งประเทศ สองระบบ” ในสมัยของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” หมายถึง มี ประเทศจีนเพียงประเทศเดียว แต่มีระบบเศรษฐกิจและการปกครอง 2 แบบ ได้แก่\n</p>\n<p>\n- ระบอบคอมมิวนิสต์ สำหรับจีน\n</p>\n<p>\n- ระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยมเสรี สำหรับฮ่องกงและมาเก๊า\n</p>\n<p>\n3.4 ผลกระทบของการปฏิวัติจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 คือ\n</p>\n<p>\n(1) การปฏิวัติของ “เหมา เจ๋อตง” เป็นแบบอย่างในการปฏิวัติของกระบวนการ คอมมิวนิสต์ในประเทศกำลังพัฒนา ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกา และอมริกาใต้ โดยเฉพาะการใช้ยุทธศาสตร์ “ป่าล้อมเมือง” โดยเริ่มจากการปฏิวัติของเกษตรในชนบทและค่อยๆ ขยายเข้าไปสู่เมือง\n</p>\n<p>\n(2) การปฏิรูปเศรษฐกิจตามแนวของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” โดยมรับระบบทุนนิยมของโลกตะวันตก เป็นคัวอย่างความสำเร็จของการแยกระบบการปกครองออกจากระบบเศรษฐกิจ\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] เมืองหลวงของจีน<br />\nระยะการปกครองของจีนตั้งแต่ อดีต-ปัจจุบัน มีการเปลี่ยนเมืองหลวง สามารถจำแนกเมืองหลวงได้ดังนี้\n</p>\n<p>\nผู้ปกครอง เมืองหลวง ปี <br />\nราชวงศ์ชาง อิน (殷) 1350 ปีก่อน ค.ศ. - 1046 ปีก่อน ค.ศ. <br />\nราชวงศ์โจวตะวันตก เฮา (鎬) 1046 ปีก่อน ค.ศ. - 771 ปีก่อน ค.ศ. <br />\nราชวงศ์โจวตะวันออก ลั่วหยาง (洛陽) 770 ปีก่อน ค.ศ. - 256 ปีก่อน ค.ศ. <br />\nราชวงศ์ฉิน เสี้ยนหยาง (咸陽) 221 ปีก่อน ค.ศ. - 206 ปีก่อน ค.ศ. <br />\nราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ฉางอาน (長安) 206 ปีก่อน ค.ศ. - ค.ศ. 9 <br />\nราชวงศ์ซิน ฉางอาน (長安) พ.ศ. 551 - 566 (ค.ศ. 8 - 23) <br />\nราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ลั่วหยาง (洛陽) พ.ศ. 568 - 763 (ค.ศ. 25 - 220) <br />\nราชวงศ์จิ้นตะวันตก ลั่วหยาง (洛陽) พ.ศ. 808 - 859 (ค.ศ. 265 - 316) <br />\nราชวงศ์จิ้นตะวันออก เจียนขั่ง (建康) พ.ศ. 860 - 963 (ค.ศ. 317 - 420) <br />\nราชวงศ์สุย ต้าซิง (大興) พ.ศ. 1124 - 1161 (ค.ศ. 581 - 618) <br />\nราชวงศ์ถัง ฉางอาน (長安) พ.ศ. 1161 - 1450 (ค.ศ. 618 - 907) <br />\nราชวงศ์ซ่งเหนือ ไคฟง (開封) พ.ศ. 1503 - 1670 (ค.ศ. 960 - 1127) <br />\nราชวงศ์ซ่งใต้ หลินอัน (臨安) หางโจว พ.ศ. 1670 - 1822 (ค.ศ. 1127 - 1279) <br />\nราชวงศ์หยวน ต้าตู (大都) กรุงปักกิ่งในปัจจุบัน พ.ศ. 1807 - พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1264 - 1368) <br />\nราชวงศ์หมิง หนานจิง (南京) พ.ศ. 1911 - พ.ศ. 1963 (ค.ศ. 1368 - 1420) <br />\nราชวงศ์หมิง ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 1963 - พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1420 - 1644) <br />\nราชวงศ์ชิง ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2187 - 2454 (ค.ศ. 1644 - 1911) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2455 - 2471 (ค.ศ. 1912 - 1928) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 นานกิง (南京) พ.ศ. 2471 - 2480 (ค.ศ. 1928 - 1937) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 อู่ฮั่น (武漢) พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1934 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ฉงชิ่ง (重慶) พ.ศ. 2480 - 2488 (ค.ศ. 1937 - 1945 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 หนานจิง (南京) พ.ศ. 2488 - 2492 (ค.ศ. 1945 - 1949) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 กว่างโจว (廣州) พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) (ระหว่างสงครามกลางเมืองภายในจีน) <br />\nสาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ฉงชิ่ง (重慶) พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - (ระหว่างสงครามกลางเมืองภายในจีน) <br />\nสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน ไทเป (臺北) พ.ศ. 2492 - ปัจจุบัน <br />\nสาธารณรัฐประชาชนจีน ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2492 - ปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] ตารางแสดงช่วงเวลาของราชวงศ์และยุคในประวัติศาสตร์จีน<br />\nก่อนประวัติศาสตร์ ราว 3 ล้านปี – ปี 2100 ก่อน ค.ศ. <br />\nราชวงศ์เซี่ย (夏) ราวปี 2100 – 1600 ก่อน ค.ศ. ราว 500 ปี <br />\nราชวงศ์ซาง (商) ราวปี 1600 - 1028 ก่อน ค.ศ. ราว 550 ปีขึ้นไป <br />\nราชวงศ์โจว (周 ) ราวปี 1027 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 770 ปี แยกได้เป็น <br />\nโจวตะวันตก (西周) ราวปี 1027 – 771 ก่อน ค.ศ. ราว 250 ปี <br />\nโจวตะวันออก (東周) ปี 770 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 515 ปี <br />\nราชวงศ์ฉิน (秦) ปี 221 – 207 ก่อน ค.ศ. รวม 15 ปี <br />\nราชวงศ์ฮั่น (漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220 รวม 422 ปี แยกได้เป็น <br />\nฮั่นตะวันตก (西漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 8 รวม 210 ปี <br />\nซิน (新) ค.ศ. 9 – 23 รวม 15 ปี <br />\nฮั่นตะวันออก (東漢) ค.ศ. 25 - 220 รวม 196 ปี <br />\nยุคสามก๊ก (三國) ค.ศ. 220 – 265 รวม 46 ปี แยกได้เป็น <br />\nเว่ย (魏) ค.ศ. 220 – 265 <br />\nสู่ (蜀) ค.ศ. 221 – 263 <br />\nอู๋ (吳) ค.ศ. 229 – 280 <br />\nราชวงศ์จิ้น (晉)ค.ศ. 265 – 420 รวม 156 ปี แยกได้เป็น <br />\nจิ้นตะวันตก (西晉)ค.ศ. 265 – 316 รวม 52 ปี <br />\nจิ้นตะวันออก (東晉)ค.ศ. 317 – 420 รวม 103 ปี <br />\nยุคราชวงศ์ใต้ และเหนือ (南朝 - 北朝)ค.ศ. 420 – 589 รวม 170 ปี แยกได้เป็น <br />\nยุคราชวงศ์ใต้ แยกย่อยได้เป็น <br />\nซ่ง (宋)ค.ศ. 420 – 479 <br />\nฉี (齊) ค.ศ. 479 – 502 <br />\nเหลียง (梁)ค.ศ. 502 – 557 <br />\nเฉิน (陳)ค.ศ. 557 – 589 <br />\nยุคราชวงศ์เหนือ แยกย่อยได้เป็น <br />\nเว่ยเหนือ (北魏) ค.ศ. 386 – 534 <br />\nเว่ยตะวันออก (東魏)ค.ศ. 534 – 550 <br />\nเว่ยตะวันตก (西魏)ค.ศ. 535 – 556 <br />\nฉีเหนือ (北齊)ค.ศ. 550 – 557 <br />\nโจวเหนือ (北周) ค.ศ. 557 – 581 <br />\nราชวงศ์สุย (隋)ค.ศ. 581 – 618 รวม 38 ปี <br />\nราชวงศ์ถัง (唐)ค.ศ. 618 – 907 รวม 290 ปี <br />\nยุค 5 ราชวงศ์ (五代) และยุค 10 แคว้น (十國)ค.ศ. 907 – 960 รวม 54 ปี แยกได้เป็น <br />\nยุค 5 ราชวงศ์ <br />\nโฮ่วเหลียง (後梁) ค.ศ. 907 – 923 <br />\nโฮ่วถัง (後唐) ค.ศ. 923 – 936 <br />\nโฮ่วจิ้น (後晉) ค.ศ. 936 – 946 <br />\nโฮ่วฮั่น (後漢) ค.ศ. 947 – 950 <br />\nโฮ่วโจว (後周) ค.ศ. 951 – 960 <br />\nยุค 10 แคว้น <br />\nอู๋ (吳)ค.ศ. 902 – 937 <br />\nถังใต้ (南唐) ค.ศ. 937 – 975 <br />\nเฉียนสู (前蜀) ค.ศ. 907 – 925 <br />\nโฮ่วสู (後蜀) ค.ศ. 934 – 965 <br />\nอู๋เยี่ยว์ (吳越) ค.ศ. 907 – 978 <br />\nฉู่ (楚)ค.ศ. 926 – 951 <br />\nหมิ่น (閩)ค.ศ. 909 – 945 <br />\nฮั่นใต้ (南唐)ค.ศ. 937 – 975 <br />\nผิงใต้ (南平) หรือ จิงหนาน (荊南)ค.ศ. 924 – 963 <br />\nฮั่นเหนือ (北漢) ค.ศ. 951 – 979 <br />\nราชวงศ์ซ่ง (宋) ค.ศ. 960 – 1279 รวม 320 ปี แยกได้เป็น <br />\nซ่งเหนือ (北宋) ค.ศ. 960 – 1127 รวม 168 ปี <br />\nซ่งใต้ (南宋) ค.ศ. 1127 – 1279 รวม 153 ปี <br />\nราชวงศ์หยวน (元) ค.ศ. 1271 – 1368 รวม 98 ปี <br />\nราชวงศ์หมิง (明) ค.ศ. 1368 – 1644 รวม 277 ปี <br />\nราชวงศ์ชิง (清) ค.ศ. 1644 – 1912 รวม 267 ปี\n</p>\n<p>\n[แก้] เขตพื้นที่และสภาพแวดล้อม<br />\nแผนกการเมืองตามประวัติศาสตร์\n</p>\n<p>\n<br />\nเขตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีนแผนกการเมืองระดับบนสุดของจีนได้ดัดแปลงเป็นการบริหารที่เปลี่ยนแปลงระดับบนสุดที่รวมถึงวงจรและจังหวัดข้างล่างจังหวัดนั้นที่นั่นได้คือหน่วยงาน เขต และจังหวัด แผนกเมื่อไม่นานยังรวมถึง อำนาจหน้าที่เขตปกครอง - เมืองระดับ เมืองระดับจังหวัด เมืองและ โดยทั่วไปราชวงศ์จีนส่วนมากถูกในยอดยกมา heartlands ของจีนรู้เป็นจีนเหมาะสมราชวงศ์ต่างๆยังขยายเข้าไปในเขตพื้นที่อุปกรณ์เสริมชอบภายใน มองโกเลีย แมนจูเรีย ซินเจียง และทิเบต ราชวงศ์ชิง ที่ชาวแมนจูตั้งและผู้สืบทอด สาธารณรัฐจีน และ สาธารณรัฐประชาชนจีนรวบรวมเขตพื้นที่เหล่านี้เข้าไปในจีนจีนเหมาะสมถูกคิดให้ถูกโดยกำแพงที่ยิ่งใหญ่และขอบของ ที่ราบสูง ชาวทิเบต แมนจูเรีย และภายใน มองโกเลีย ถูกค้นพบเพื่อทิศเหนือของกำแพงที่ยิ่งใหญ่ของจีนและแนวแบ่งเขตระหว่างพวกเขาสามารถอันใดอันหนึ่งถูกใช้เป็นพรมแดนของขวัญระหว่างภายในมองโกเลีย\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] การเมือง<br />\n <br />\nหู จิ่นเทา ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน <br />\nเวิน เจียเป่า นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันประเทศจีนมีการปกครองเป็นลัทธิสังคมนิยมในลักษณะของตนเอง มีพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างๆ ปัจจุบันมีนายหู จิ่นเทาเป็นประธานาธิบดี เลขาธิการพรรค และประธานคณะกรรมาธิการทหารส่วนกลาง และมีนายเวิน เจียเป่าเป็นนายกรัฐมนตรี\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง<br />\n <br />\nเขตการปกครองของจีนดูเพิ่มได้ที่ เขตการปกครองของจีน\n</p>\n<p>\nเขตการปกครองของจีนนั้น ตามรัฐธรรมนูญของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน\n</p>\n<p>\nสาธารณรัฐประชาชนจีนมีอำนาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล (省) และรัฐบาลจีนยังถือไต้หวัน/ไถวาน (台湾) เป็นมณฑลที่ 23 (มีข้อมูลเพิ่มเติมที่ ฐานะทางการเมืองของสาธารณรัฐจีน) รัฐบาลจีนยังอ้างสิทธิเหนือเกาะต่าง ๆ ในทะเลจีนใต้ด้วย นอกจากมณฑลแล้วยังมีเขตปกครองตนเอง (自治区) 5 แห่งซึ่งมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่มาก เทศบาลนคร (直辖市) 4 แห่งสำหรับเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจีน และเขตบริหารพิเศษ (Special Administrative Regions, SARs) (特别行政区) ที่จีนเข้าไปปกครอง โดยการแบ่งพื้นที่การปกครองเป็นดังนี้\n</p>\n<p>\nมณฑล\n</p>\n<p>\nอันฮุย (安徽) <br />\nฝูเจี้ยน (福建) (ฮกเกี้ยน) <br />\nกานซู (甘肃) <br />\nกว่างตง (กวางตุ้ง)<br />\n(广东) <br />\nกุ้ยโจว (贵州) <br />\nไห่หนาน (ไหหลำ)<br />\n(海南) <br />\nเหอเป่ย์ (河北) <br />\nเฮย์หลงเจียง (黑龙江) <br />\nเหอหนัน (河南) <br />\nหูเป่ย์ (湖北) <br />\nหูหนาน (湖南) <br />\nเจียงซู (江苏) <br />\nเจียงซี (江西) <br />\nจี๋หลิน (吉林) <br />\nเหลียวหนิง (辽宁) <br />\nชิงไห่ (青海) <br />\nส่านซี (陕西) <br />\nซานตง (山东) <br />\nซานซี (山西) <br />\nซื่อชวน (เสฉวน) (四川) <br />\nหยุนหนาน (ยูนนาน) (云南) <br />\nเจ๋อเจียง (浙江) <br />\n เขตปกครองตนเอง\n</p>\n<p>\nกว่างซีจ้วง (กวางสี) (广西壮族) <br />\nมองโกเลียใน (内蒙古) <br />\nหนิงเซี่ย หุย (&amp;宁夏回族) <br />\nซินเจียงอุยกูร์ (新疆维吾尔族) <br />\nทิเบต (西藏)\n</p>\n<p>\nเทศบาลนคร\n</p>\n<p>\nเป่ย์จิง (ปักกิ่ง) (北京) <br />\nฉงชิ่ง (จุงกิง) (重庆) <br />\nซ่างไห่ (เซี่ยงไฮ้) (上海) <br />\nเทียนจิน (เทียนสิน) (天津)\n</p>\n<p>\nเขตบริหารพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน\n</p>\n<p>\nฮ่องกง/เซียงกั่ง (香港) <br />\nมาเก๊า/เอ้าเหมิน (澳門) <br />\n \n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] ภูมิศาสตร์<br />\n <br />\nภูมิศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออก บนฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ดินประมาณ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากรัสเซียและแคนาดาประเทศจีนมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่างๆ ถึง 15 ประเทศ ด้วยมีความยาวถึง 22,800 กม. ข้ามทะเลไปทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้มี เกาหลี ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย\n</p>\n<p>\nแผ่นดินใหญ่จีนถูกขนาบทางตะวันออกไปทางใต้ด้วยทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีพื้นที่น้ำรวม 4.73 ล้านตาราง กิโลเมตร ทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ เป็นส่วนประกอบของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีเกาะเล็กเกาะน้อยถึง 5,400 เกาะ จึงทำให้ประเทศจีนมีอาณาเขตทางทะเลที่ใหญ่มาก เกาะที่ใหญ่ที่สุดมีเนื้อที่ 36,000 ตาราง กิโลเมตร คือ ไต้หวัน ตามด้วยเกาะไหหลำ 34,000 ตาราง กิโลเมตร เกาะ Diaoyu กับเกาะ Chiwei ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเกาะไต้หวันเป็นเกาะตะวันออกสุดของจีนเกาะน้อยใหญ่ รวมถึงหินโสโครก และ ฝูงปลา ในทะเลจีนใต้ เป็นที่รู้จักกันว่า เป็นหมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งแบ่งออกเป็นตงชา ซีชา จงชา และหนานชา รวม 4 กลุ่ม\n</p>\n<p>\nพื้นที่ทางด้านตะวันตกของจีนเป็นแนวเทือกเขาสูงชันและที่ราบสูงทิเบต มีเทือกเขาที่สำคัญคือเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมีจุดสูงสุดคือยอดเขาเอเวอเรสต์ ทางด้านเหนือของที่ราบสูงเป็นที่ราบแอ่งกระทะขนาดใหญ่คือแอ่งทาลิมซึ่งเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งมาก เป็นที่ตั้งของทะเลทรายอาทากามา ส่วนแม่น้ำที่สำคัญในประเทศจีนและมีต้นกำเนิดในประเทศจีนได้แก่ แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง แม่น้ำสาละวิน\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] ภูมิอากาศ<br />\nสาธารณรัฐประชาชนจีนมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมภาคพื้นทวีปที่มีหลากหลายรูปแบบ ลมเหนือจะมีอิทธิพลสูงในฤดูหนาว ในขณะที่ลมใต้จะมีบทบาทในฤดูร้อน มีผลถึง 4 ฤดู ที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัด มีฤดูฝนปนอยู่กับฤดูร้อน ภูมิอากาศที่ซับซ้อน และหลากหลายของจีน มีผลให้สามารถแบ่งแถบอิงอุณหภูมิ กับแถบอิงความชื้นของภาคพื้นของประเทศจีนได้ คือแบ่งแถบอิงอุณหภูมิจากภาคใต้ถึงภาคเหนือเป็น แถบเส้นศูนย์สูตร ร้อนชื้น กึ่งร้อนชื้น อบอุ่น และแถบหนาวเย็น และแบ่งแถบอิงความแห้ง - ชื้น จากตะวันออกเฉียงใต้ ถึงตะวันตกเฉียงเหนือเป็นแถบความชื้นสูง\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] ประชากร และ ชนเผ่า<br />\n <br />\nแผนที่แสดงชนเผ่าของประเทศจีน สีน้ำตาลคือชนเผ่าฮั่น และสีอื่นคือชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุดในประเทศจีนคือ ชนเผ่าฮั่น 92 % ของประชากรทั้งหมด อื่นๆอีก 55 ชนเผ่า 8 % ของประชากรทั้งหมด เช่น\n</p>\n<p>\nที่ ชนเผ่า ประชากร เขตปกครอง <br />\n1. จ้วง 16 ล้านคน เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง ฯลฯ <br />\n2. แมนจู 10 ล้าน  <br />\n3. หุย 9 ล้าน เขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ฯลฯ <br />\n4. ม้ง 8 ล้าน มณฑลกุ้ยโจว มณฑลยูนนาน ฯลฯ <br />\n5. อุยกูร์ 7 ล้าน เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ฯลฯ <br />\n6. อี๋ 7 ล้าน มณฑลยูนนาน ฯลฯ <br />\n7. ตูเจีย 5.75 ล้าน  <br />\n8. มองโกล 5 ล้าน เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ฯลฯ <br />\n9. ทิเบต 5 ล้าน เขตปกครองตนเองทิเบต ฯลฯ <br />\n10. ปู้ยี 3 ล้าน มณฑลกุ้ยโจว ฯลฯ <br />\n11. เกาหลี 2 ล้าน \n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] เศรษฐกิจ<br />\n <br />\nอัตราการเจริญการเติบโตของเศรษฐกิจจีนโดยธนาคารโลกในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจจีนมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วมากภายใต้นโยบายการปฏิรูปและการเปิดประเทศที่ดำเนินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยในปัจจุบันจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก เป็นรองแต่สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเยอรมนี รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะเน้นผลผลิตทางการเกษตรให้พอเพียงสำหรับการบริโภคภายในประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็จะเน้นการพัฒนาด้านเทคโนโลยีระดับสูงด้วย\n</p>\n<p>\nในขณะที่จีนเพิ่งเข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) ได้เพียง 5 ปี ในปี 2549 จีนได้มีอัตราเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากร้อยละ 9.9 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 10.7 สูงถึง 20.94 ล้านล้านล้านหยวน หรือ 2.68 ล้านล้านล้านดอลลาร์ สูงที่สุดในรอบ 11 ปี [1]\n</p>\n<p>\nความร้อนแรงของเศรษฐกิจจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรมเหล็กและซีเมนต์ทำให้รัฐบาลจีนออกมาตรการต่างๆ เพื่อชะลอการขยายตัวของเศรษฐกิจ ซึ่งปริมาณการขนถ่ายสินค้าและตู้คอนเทนเนอร์ในท่าเรือจีนนั้นสูงเป็นอันดับหนึ่งของโลกมา 4 ปีแล้ว [2]\n</p>\n<p>\nจีนมีคู่ค้าสำคัญได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และเยอรมนี\n</p>\n<p>\nเงินตราสกุลเงินของจีนนั้นเรียกว่า “เหรินหมินปี้” (人民币)โดยมีหน่วยเรียกเป็น “หยวน” (元)\n</p>\n<p>\n1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 7.70 หยวน (2550) <br />\n1 ยูโร เท่ากับ 10.46 หยวน (2550) <br />\n1 หยวน เท่ากับ 4.53 บาท (2550) <br />\nรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปี 1,700 ดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2550) (ปี 2546 เป็นปีแรกที่สูงเกิน 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ)\n</p>\n<p>\nGDP ประมาณ 3,307,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2550) ถือว่าเศรษฐกิจของจีนมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก (รองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และ เยอรมนี)\n</p>\n<p>\nทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ 1.533 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ม.ค.ปี 2551)\n</p>\n<p>\nอัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 4.07 (ปี 2551)\n</p>\n<p>\n<br />\n[แก้] การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน<br />\nเมื่อราวๆ กลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีการวิพากษ์ในหนังสือพิมพ์จีนว่าด้วย การทบทวนและประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมจีนตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 จนปัจจุบัน และเปรียบเทียบกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหลังเปิดประเทศปฏิรูปเศรษฐกิจ ซึ่งมีหลากหลายความเห็นที่น่าสนใจที่ไทยอาจต้องศึกษา เพื่อนำมาใช้เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและการลงทุนของประเทศ\n</p>\n<p>\nเนื่องจากประเทศจีนได้เริ่มพัฒนาตามแบบฉบับอุตสาหกรรมใหม่ (ปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1) ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย และเกิดการชะงักงันเป็นเวลาหลายสิบปีจวบจนกลางศตวรรษที่ 20 และเกือบหยุดสนิทประมาณ 30 ปี เสร็จแล้วใช้เวลาอีก 20 ปี ในการพัฒนาแบบก้าวกระโดดจนกระทั่งเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในหลายๆ ด้านของโลก\n</p>\n<p>\nนักวิชาการจีนดังกล่าวมีความเห็นว่า ที่จีนสามารถพัฒนาจนเป็นเช่นนี้ เกิดจากกระแสความคิด 2 กระแส\n</p>\n<p>\nกระแสแรก จีนได้วางพื้นฐานอุตสาหกรรมหนักไว้ตั้งแต่ต้นและไม่เคยละทิ้ง เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก เครื่องจักรกล เคมี จึงกลายเป็นพื้นฐานรองรับและประกันการพัฒนา <br />\nกระแสที่สอง ในช่วงที่จีนเปิดประเทศใหม่ๆ ว่าด้วยแนวทางที่จะนำเข้าเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีกลุ่มหนึ่งเห็นคล้อยตามคำแนะนำของประเทศที่พัฒนาแล้วสมัยนั้นว่า ควรที่จะพัฒนาตามขั้นตอน เนื่องจากเทคโนโลยีจีนขณะนั้นล้าหลังอยู่มาก จึงเลือกนำเข้าเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในระดับก่อนหน้าสมัยนั้น 5-10 ปี <br />\nถึงแม้เทคโนโลยีที่จีนใช้ในขณะนั้นจะล้าหลังในสากลโลก แต่ถือว่าทันสมัยมากสำหรับจีน ในการผลิตและจำหน่ายในตลาดของจีน ซึ่งรับความนิยมสูงมาก เช่น รถยนต์ จักรยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน\n</p>\n<p>\nขณะเดียวกัน ก็มีอีกกลุ่มหนึ่งที่เห็นว่า พื้นฐานทางวิชาการและเทคโนโลยีจีนพร้อมอยู่แล้ว จึงเลือกที่จะก้าวกระโดดโดยซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ณ ขณะนั้น เช่น ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสาร เทคโนโลยีอวกาศ อุตสาหกรรมเหล็ก ปรากฏในภายหลังว่า ทั้งสองกลุ่มได้พบจุดบรรจบกันในช่วงสิ้นศตวรรษที่ 20 และนำมาซึ่งความร่วมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอีกระลอกดังที่เห็นกันขณะนี้\n</p>\n<p>\nผลและสภาพของการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของจีนที่เราได้เห็นทุกวันนี้ นักวิชาการจีนส่วนใหญ่มองว่าเป็นผลเกิดจากการปูพื้นฐานทางวิชาการและการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักตั้งแต่สมัยแรก กลายเป็นหลักประกันสนับสนุนให้อุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งอุตสาหกรรมเบา เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ ให้พัฒนาอยู่บนขาของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ เช่น เหล็กและโลหะอื่นๆ พลาสติก และเคมี ที่เป็นพื้นฐานนำไปแปรรูปต่อจนจีนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในระดับสูงดังที่เป็นอยู่ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีและสิทธิบัตรตราสินค้าของตนเอง\n</p>\n', created = 1719386991, expire = 1719473391, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e30ff59d211ce9a34a01887b0d0f3d03' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ประเทศจีนและประวัตืศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


 บทความหลักที่ ประวัติศาสตร์จีน และ ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน
 
เหมาเจ๋อตุงประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนที่จัตุรัสเทียนอันเหมินและปกครองระบอบคอมมิวนิสต์สงครามกลางเมือง (Chinese Civil War) ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับพรรคก๊กมินตั๋ง สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2492 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจบลงด้วยการที่ พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้เข้าปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ ส่วนพรรคก๊กมินตั๋งได้เข้าปกครองไต้หวัน และเกาะบางเกาะในมณฑลฝูเจี้ยน ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เหมาเจ๋อตุง ได้ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน และปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ การปกครองในสมัยของเหมานั้น เข้มงวดและกวดขัน แม้กระทั่งชีวิตประจำวันของประชาชน

หลังจากที่เหมาถึงแก่อสัญกรรม เติ้งเสี่ยวผิงก็ได้ขึ้นสู่อำนาจ โดยจีนยังคงอยู่ในระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากนั้นรัฐบาลจีนจึงได้ค่อยๆ ลดการควบคุมชีวิตส่วนตัวของประชาชน และพยายามที่จะปฏิรูประบบเศรษฐกิจของตนให้เป็นไปตามกลไกตลาด


การปฏิวัติ
 
เจียง ไคเช็ก เป็นผู้นำของจีนระหว่าง พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2492การปฏิวัติครั้งแรกของจีนเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) ซึ่งเป็นการโค่นล้มอำนาจการปกครองของราชวงศ์ชิง โดยการนำของ ดร. ชุน ยัตเซน หัวหน้าพรรคก๊กมินตั๋ง เป็นผลทำให้จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยในที่สุด

สาเหตุที่ก่อให้เกิดการโค่นล้มอำนาจครั้งนี้น่าจะมาจากความเสื่อมโทรมของสภาพสังคมจีน ผู้นำประเทศจักรพรรดิแมนจูไม่มีอำนาจกำลังพอที่จะปกครองประเทศได้ ซึ่งตลอดระยะเวลาปกครอง 268 ปี (พ.ศ. 2187 – 2455) มีแต่การแย่งชิงอำนาจในหมู่ผู้นำราชวงศ์ ด้วยเหตุนี้ราษฎรส่วนมากจึงตกอยู่ในสภาพยากจน ชาวไร่ชาวนาถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก ถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าของที่ดิน ชาวต่างชาติเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ แผ่นดินจีนถูกคุกคามจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาติมหาอำนาจตะวันตก และญี่ปุ่น ซึ่งจีนทำสงครามต่อต้านการรุกรานของกองกำลังต่างชาติเป็นฝ่ายแพ้มาโดยตลอด ทำให้คณะปฏิวัติไม่พอใจระบอบการปกครองของราชวงศ์แมนจู

เพื่อความสำเร็จในการแก้ปัญหาของของประเทศชาติ ดร.ซุน ยัตเซ็น ผู้นำฯ จึงได้ประกาศอุดมการณ์ของการปฏิวัติ 3 ประการ เรียกว่า “ลัทธิไตรราษฎร์” มีหัวข้อดังนี้

ประชาธิปไตย มีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย และมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
ชาตินิยม ต้องขับไล่อำนาจและอิทธิพลของต่างชาติออกไปจากจีน
สังคมนิยม มีการจัดสรรที่ดินให้แก่เกษตรกร
3. การปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949

 


3.1 ความสำคัญ การปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 โดยการนำของ “เหมา เจ๋อตุง” ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตย ข้าสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์

3.2 สาเหตุการปฏิวัติของจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง (ค.ศ. 1939 – 1945) สรุปได้ดังนี้

(1) ปัญหาความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจและความยากจนของประชาชน ซึ่งรัฐบาลของประธานาธิบดี เจียง ไคเช็ค ไม่สามารถแก้ปัญหาได้

(2) การเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในประเทศจีน เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาความยากจนของราษฎร โดยให้ความสำคัญแก่ชนชั้นผู้ใช้แรงงานและเกษตรกร และเป็นศัตรูกับชนชั้นนายทุน

3.3 ความสำเร็จของการปฏิวัติของจีนปี ค.ศ. 1949 สรุปได้ดังนี้

(1) ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เหมา เจ๋อตุง” รัฐบาลได้ยึดที่ดินทำกินของ เอกชนมาเป็นของรัฐบาล และใช้ระบบการผลิตแบบนารวม (หรือระบบคอมมูน) ชาวนามีฐานะเป็นแรงงานของรัฐ ทำให้ชาดความกระตือรือร้นเพราะทุกคนได้รับผลตอบแทนท่ากัน ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนส่วนใหญ่มีสภาพลำบากยากจนเหมือนๆ กัน

(2) ระบอบคอมมิวนิสต์ในยุคของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” เป็นยุคที่จีนปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศให้เป็นระบบตลาดหรือทุนนิยม โดยมรับแนวทางทุนนิยมของชาติตะวันตกมากขึ้น เช่น เปิดรับการลงทุนจากต่างชาติเพื่อให้คนจีนมีงานทำ และอนุญาตให้ภาคเอกชนดำเนินธุรกิจการค้าได้ เป็นต้น ทั้งนี้ มีระบอบการปกครองยังคงเป็นคอมมิวนิสต์เหมือนเดิม

(2) นโยบาย “หนึ่งประเทศ สองระบบ” ในสมัยของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” หมายถึง มี ประเทศจีนเพียงประเทศเดียว แต่มีระบบเศรษฐกิจและการปกครอง 2 แบบ ได้แก่

- ระบอบคอมมิวนิสต์ สำหรับจีน

- ระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยมเสรี สำหรับฮ่องกงและมาเก๊า

3.4 ผลกระทบของการปฏิวัติจีนครั้งที่สอง ปี ค.ศ. 1949 คือ

(1) การปฏิวัติของ “เหมา เจ๋อตง” เป็นแบบอย่างในการปฏิวัติของกระบวนการ คอมมิวนิสต์ในประเทศกำลังพัฒนา ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกา และอมริกาใต้ โดยเฉพาะการใช้ยุทธศาสตร์ “ป่าล้อมเมือง” โดยเริ่มจากการปฏิวัติของเกษตรในชนบทและค่อยๆ ขยายเข้าไปสู่เมือง

(2) การปฏิรูปเศรษฐกิจตามแนวของ “เติ้ง เสี่ยวผิง” โดยมรับระบบทุนนิยมของโลกตะวันตก เป็นคัวอย่างความสำเร็จของการแยกระบบการปกครองออกจากระบบเศรษฐกิจ


[แก้] เมืองหลวงของจีน
ระยะการปกครองของจีนตั้งแต่ อดีต-ปัจจุบัน มีการเปลี่ยนเมืองหลวง สามารถจำแนกเมืองหลวงได้ดังนี้

ผู้ปกครอง เมืองหลวง ปี
ราชวงศ์ชาง อิน (殷) 1350 ปีก่อน ค.ศ. - 1046 ปีก่อน ค.ศ.
ราชวงศ์โจวตะวันตก เฮา (鎬) 1046 ปีก่อน ค.ศ. - 771 ปีก่อน ค.ศ.
ราชวงศ์โจวตะวันออก ลั่วหยาง (洛陽) 770 ปีก่อน ค.ศ. - 256 ปีก่อน ค.ศ.
ราชวงศ์ฉิน เสี้ยนหยาง (咸陽) 221 ปีก่อน ค.ศ. - 206 ปีก่อน ค.ศ.
ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ฉางอาน (長安) 206 ปีก่อน ค.ศ. - ค.ศ. 9
ราชวงศ์ซิน ฉางอาน (長安) พ.ศ. 551 - 566 (ค.ศ. 8 - 23)
ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ลั่วหยาง (洛陽) พ.ศ. 568 - 763 (ค.ศ. 25 - 220)
ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ลั่วหยาง (洛陽) พ.ศ. 808 - 859 (ค.ศ. 265 - 316)
ราชวงศ์จิ้นตะวันออก เจียนขั่ง (建康) พ.ศ. 860 - 963 (ค.ศ. 317 - 420)
ราชวงศ์สุย ต้าซิง (大興) พ.ศ. 1124 - 1161 (ค.ศ. 581 - 618)
ราชวงศ์ถัง ฉางอาน (長安) พ.ศ. 1161 - 1450 (ค.ศ. 618 - 907)
ราชวงศ์ซ่งเหนือ ไคฟง (開封) พ.ศ. 1503 - 1670 (ค.ศ. 960 - 1127)
ราชวงศ์ซ่งใต้ หลินอัน (臨安) หางโจว พ.ศ. 1670 - 1822 (ค.ศ. 1127 - 1279)
ราชวงศ์หยวน ต้าตู (大都) กรุงปักกิ่งในปัจจุบัน พ.ศ. 1807 - พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1264 - 1368)
ราชวงศ์หมิง หนานจิง (南京) พ.ศ. 1911 - พ.ศ. 1963 (ค.ศ. 1368 - 1420)
ราชวงศ์หมิง ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 1963 - พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1420 - 1644)
ราชวงศ์ชิง ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2187 - 2454 (ค.ศ. 1644 - 1911)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2455 - 2471 (ค.ศ. 1912 - 1928)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 นานกิง (南京) พ.ศ. 2471 - 2480 (ค.ศ. 1928 - 1937)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 อู่ฮั่น (武漢) พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1934 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ฉงชิ่ง (重慶) พ.ศ. 2480 - 2488 (ค.ศ. 1937 - 1945 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 หนานจิง (南京) พ.ศ. 2488 - 2492 (ค.ศ. 1945 - 1949)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 กว่างโจว (廣州) พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) (ระหว่างสงครามกลางเมืองภายในจีน)
สาธารณรัฐจีนปี 1911 - 1949 ฉงชิ่ง (重慶) พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - (ระหว่างสงครามกลางเมืองภายในจีน)
สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน ไทเป (臺北) พ.ศ. 2492 - ปัจจุบัน
สาธารณรัฐประชาชนจีน ปักกิ่ง (北京) พ.ศ. 2492 - ปัจจุบัน


[แก้] ตารางแสดงช่วงเวลาของราชวงศ์และยุคในประวัติศาสตร์จีน
ก่อนประวัติศาสตร์ ราว 3 ล้านปี – ปี 2100 ก่อน ค.ศ.
ราชวงศ์เซี่ย (夏) ราวปี 2100 – 1600 ก่อน ค.ศ. ราว 500 ปี
ราชวงศ์ซาง (商) ราวปี 1600 - 1028 ก่อน ค.ศ. ราว 550 ปีขึ้นไป
ราชวงศ์โจว (周 ) ราวปี 1027 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 770 ปี แยกได้เป็น
โจวตะวันตก (西周) ราวปี 1027 – 771 ก่อน ค.ศ. ราว 250 ปี
โจวตะวันออก (東周) ปี 770 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 515 ปี
ราชวงศ์ฉิน (秦) ปี 221 – 207 ก่อน ค.ศ. รวม 15 ปี
ราชวงศ์ฮั่น (漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220 รวม 422 ปี แยกได้เป็น
ฮั่นตะวันตก (西漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 8 รวม 210 ปี
ซิน (新) ค.ศ. 9 – 23 รวม 15 ปี
ฮั่นตะวันออก (東漢) ค.ศ. 25 - 220 รวม 196 ปี
ยุคสามก๊ก (三國) ค.ศ. 220 – 265 รวม 46 ปี แยกได้เป็น
เว่ย (魏) ค.ศ. 220 – 265
สู่ (蜀) ค.ศ. 221 – 263
อู๋ (吳) ค.ศ. 229 – 280
ราชวงศ์จิ้น (晉)ค.ศ. 265 – 420 รวม 156 ปี แยกได้เป็น
จิ้นตะวันตก (西晉)ค.ศ. 265 – 316 รวม 52 ปี
จิ้นตะวันออก (東晉)ค.ศ. 317 – 420 รวม 103 ปี
ยุคราชวงศ์ใต้ และเหนือ (南朝 - 北朝)ค.ศ. 420 – 589 รวม 170 ปี แยกได้เป็น
ยุคราชวงศ์ใต้ แยกย่อยได้เป็น
ซ่ง (宋)ค.ศ. 420 – 479
ฉี (齊) ค.ศ. 479 – 502
เหลียง (梁)ค.ศ. 502 – 557
เฉิน (陳)ค.ศ. 557 – 589
ยุคราชวงศ์เหนือ แยกย่อยได้เป็น
เว่ยเหนือ (北魏) ค.ศ. 386 – 534
เว่ยตะวันออก (東魏)ค.ศ. 534 – 550
เว่ยตะวันตก (西魏)ค.ศ. 535 – 556
ฉีเหนือ (北齊)ค.ศ. 550 – 557
โจวเหนือ (北周) ค.ศ. 557 – 581
ราชวงศ์สุย (隋)ค.ศ. 581 – 618 รวม 38 ปี
ราชวงศ์ถัง (唐)ค.ศ. 618 – 907 รวม 290 ปี
ยุค 5 ราชวงศ์ (五代) และยุค 10 แคว้น (十國)ค.ศ. 907 – 960 รวม 54 ปี แยกได้เป็น
ยุค 5 ราชวงศ์
โฮ่วเหลียง (後梁) ค.ศ. 907 – 923
โฮ่วถัง (後唐) ค.ศ. 923 – 936
โฮ่วจิ้น (後晉) ค.ศ. 936 – 946
โฮ่วฮั่น (後漢) ค.ศ. 947 – 950
โฮ่วโจว (後周) ค.ศ. 951 – 960
ยุค 10 แคว้น
อู๋ (吳)ค.ศ. 902 – 937
ถังใต้ (南唐) ค.ศ. 937 – 975
เฉียนสู (前蜀) ค.ศ. 907 – 925
โฮ่วสู (後蜀) ค.ศ. 934 – 965
อู๋เยี่ยว์ (吳越) ค.ศ. 907 – 978
ฉู่ (楚)ค.ศ. 926 – 951
หมิ่น (閩)ค.ศ. 909 – 945
ฮั่นใต้ (南唐)ค.ศ. 937 – 975
ผิงใต้ (南平) หรือ จิงหนาน (荊南)ค.ศ. 924 – 963
ฮั่นเหนือ (北漢) ค.ศ. 951 – 979
ราชวงศ์ซ่ง (宋) ค.ศ. 960 – 1279 รวม 320 ปี แยกได้เป็น
ซ่งเหนือ (北宋) ค.ศ. 960 – 1127 รวม 168 ปี
ซ่งใต้ (南宋) ค.ศ. 1127 – 1279 รวม 153 ปี
ราชวงศ์หยวน (元) ค.ศ. 1271 – 1368 รวม 98 ปี
ราชวงศ์หมิง (明) ค.ศ. 1368 – 1644 รวม 277 ปี
ราชวงศ์ชิง (清) ค.ศ. 1644 – 1912 รวม 267 ปี

[แก้] เขตพื้นที่และสภาพแวดล้อม
แผนกการเมืองตามประวัติศาสตร์


เขตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีนแผนกการเมืองระดับบนสุดของจีนได้ดัดแปลงเป็นการบริหารที่เปลี่ยนแปลงระดับบนสุดที่รวมถึงวงจรและจังหวัดข้างล่างจังหวัดนั้นที่นั่นได้คือหน่วยงาน เขต และจังหวัด แผนกเมื่อไม่นานยังรวมถึง อำนาจหน้าที่เขตปกครอง - เมืองระดับ เมืองระดับจังหวัด เมืองและ โดยทั่วไปราชวงศ์จีนส่วนมากถูกในยอดยกมา heartlands ของจีนรู้เป็นจีนเหมาะสมราชวงศ์ต่างๆยังขยายเข้าไปในเขตพื้นที่อุปกรณ์เสริมชอบภายใน มองโกเลีย แมนจูเรีย ซินเจียง และทิเบต ราชวงศ์ชิง ที่ชาวแมนจูตั้งและผู้สืบทอด สาธารณรัฐจีน และ สาธารณรัฐประชาชนจีนรวบรวมเขตพื้นที่เหล่านี้เข้าไปในจีนจีนเหมาะสมถูกคิดให้ถูกโดยกำแพงที่ยิ่งใหญ่และขอบของ ที่ราบสูง ชาวทิเบต แมนจูเรีย และภายใน มองโกเลีย ถูกค้นพบเพื่อทิศเหนือของกำแพงที่ยิ่งใหญ่ของจีนและแนวแบ่งเขตระหว่างพวกเขาสามารถอันใดอันหนึ่งถูกใช้เป็นพรมแดนของขวัญระหว่างภายในมองโกเลีย


[แก้] การเมือง
 
หู จิ่นเทา ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน
เวิน เจียเป่า นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันประเทศจีนมีการปกครองเป็นลัทธิสังคมนิยมในลักษณะของตนเอง มีพรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างๆ ปัจจุบันมีนายหู จิ่นเทาเป็นประธานาธิบดี เลขาธิการพรรค และประธานคณะกรรมาธิการทหารส่วนกลาง และมีนายเวิน เจียเป่าเป็นนายกรัฐมนตรี


[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง
 
เขตการปกครองของจีนดูเพิ่มได้ที่ เขตการปกครองของจีน

เขตการปกครองของจีนนั้น ตามรัฐธรรมนูญของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน

สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอำนาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล (省) และรัฐบาลจีนยังถือไต้หวัน/ไถวาน (台湾) เป็นมณฑลที่ 23 (มีข้อมูลเพิ่มเติมที่ ฐานะทางการเมืองของสาธารณรัฐจีน) รัฐบาลจีนยังอ้างสิทธิเหนือเกาะต่าง ๆ ในทะเลจีนใต้ด้วย นอกจากมณฑลแล้วยังมีเขตปกครองตนเอง (自治区) 5 แห่งซึ่งมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่มาก เทศบาลนคร (直辖市) 4 แห่งสำหรับเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจีน และเขตบริหารพิเศษ (Special Administrative Regions, SARs) (特别行政区) ที่จีนเข้าไปปกครอง โดยการแบ่งพื้นที่การปกครองเป็นดังนี้

มณฑล

อันฮุย (安徽)
ฝูเจี้ยน (福建) (ฮกเกี้ยน)
กานซู (甘肃)
กว่างตง (กวางตุ้ง)
(广东)
กุ้ยโจว (贵州)
ไห่หนาน (ไหหลำ)
(海南)
เหอเป่ย์ (河北)
เฮย์หลงเจียง (黑龙江)
เหอหนัน (河南)
หูเป่ย์ (湖北)
หูหนาน (湖南)
เจียงซู (江苏)
เจียงซี (江西)
จี๋หลิน (吉林)
เหลียวหนิง (辽宁)
ชิงไห่ (青海)
ส่านซี (陕西)
ซานตง (山东)
ซานซี (山西)
ซื่อชวน (เสฉวน) (四川)
หยุนหนาน (ยูนนาน) (云南)
เจ๋อเจียง (浙江)
 เขตปกครองตนเอง

กว่างซีจ้วง (กวางสี) (广西壮族)
มองโกเลียใน (内蒙古)
หนิงเซี่ย หุย (&宁夏回族)
ซินเจียงอุยกูร์ (新疆维吾尔族)
ทิเบต (西藏)

เทศบาลนคร

เป่ย์จิง (ปักกิ่ง) (北京)
ฉงชิ่ง (จุงกิง) (重庆)
ซ่างไห่ (เซี่ยงไฮ้) (上海)
เทียนจิน (เทียนสิน) (天津)

เขตบริหารพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน

ฮ่องกง/เซียงกั่ง (香港)
มาเก๊า/เอ้าเหมิน (澳門)
 


[แก้] ภูมิศาสตร์
 
ภูมิศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออก บนฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ดินประมาณ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากรัสเซียและแคนาดาประเทศจีนมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่างๆ ถึง 15 ประเทศ ด้วยมีความยาวถึง 22,800 กม. ข้ามทะเลไปทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้มี เกาหลี ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย

แผ่นดินใหญ่จีนถูกขนาบทางตะวันออกไปทางใต้ด้วยทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีพื้นที่น้ำรวม 4.73 ล้านตาราง กิโลเมตร ทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ เป็นส่วนประกอบของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีเกาะเล็กเกาะน้อยถึง 5,400 เกาะ จึงทำให้ประเทศจีนมีอาณาเขตทางทะเลที่ใหญ่มาก เกาะที่ใหญ่ที่สุดมีเนื้อที่ 36,000 ตาราง กิโลเมตร คือ ไต้หวัน ตามด้วยเกาะไหหลำ 34,000 ตาราง กิโลเมตร เกาะ Diaoyu กับเกาะ Chiwei ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเกาะไต้หวันเป็นเกาะตะวันออกสุดของจีนเกาะน้อยใหญ่ รวมถึงหินโสโครก และ ฝูงปลา ในทะเลจีนใต้ เป็นที่รู้จักกันว่า เป็นหมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งแบ่งออกเป็นตงชา ซีชา จงชา และหนานชา รวม 4 กลุ่ม

พื้นที่ทางด้านตะวันตกของจีนเป็นแนวเทือกเขาสูงชันและที่ราบสูงทิเบต มีเทือกเขาที่สำคัญคือเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมีจุดสูงสุดคือยอดเขาเอเวอเรสต์ ทางด้านเหนือของที่ราบสูงเป็นที่ราบแอ่งกระทะขนาดใหญ่คือแอ่งทาลิมซึ่งเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งมาก เป็นที่ตั้งของทะเลทรายอาทากามา ส่วนแม่น้ำที่สำคัญในประเทศจีนและมีต้นกำเนิดในประเทศจีนได้แก่ แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง แม่น้ำสาละวิน


[แก้] ภูมิอากาศ
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมภาคพื้นทวีปที่มีหลากหลายรูปแบบ ลมเหนือจะมีอิทธิพลสูงในฤดูหนาว ในขณะที่ลมใต้จะมีบทบาทในฤดูร้อน มีผลถึง 4 ฤดู ที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัด มีฤดูฝนปนอยู่กับฤดูร้อน ภูมิอากาศที่ซับซ้อน และหลากหลายของจีน มีผลให้สามารถแบ่งแถบอิงอุณหภูมิ กับแถบอิงความชื้นของภาคพื้นของประเทศจีนได้ คือแบ่งแถบอิงอุณหภูมิจากภาคใต้ถึงภาคเหนือเป็น แถบเส้นศูนย์สูตร ร้อนชื้น กึ่งร้อนชื้น อบอุ่น และแถบหนาวเย็น และแบ่งแถบอิงความแห้ง - ชื้น จากตะวันออกเฉียงใต้ ถึงตะวันตกเฉียงเหนือเป็นแถบความชื้นสูง


[แก้] ประชากร และ ชนเผ่า
 
แผนที่แสดงชนเผ่าของประเทศจีน สีน้ำตาลคือชนเผ่าฮั่น และสีอื่นคือชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุดในประเทศจีนคือ ชนเผ่าฮั่น 92 % ของประชากรทั้งหมด อื่นๆอีก 55 ชนเผ่า 8 % ของประชากรทั้งหมด เช่น

ที่ ชนเผ่า ประชากร เขตปกครอง
1. จ้วง 16 ล้านคน เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง ฯลฯ
2. แมนจู 10 ล้าน 
3. หุย 9 ล้าน เขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ฯลฯ
4. ม้ง 8 ล้าน มณฑลกุ้ยโจว มณฑลยูนนาน ฯลฯ
5. อุยกูร์ 7 ล้าน เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ฯลฯ
6. อี๋ 7 ล้าน มณฑลยูนนาน ฯลฯ
7. ตูเจีย 5.75 ล้าน 
8. มองโกล 5 ล้าน เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ฯลฯ
9. ทิเบต 5 ล้าน เขตปกครองตนเองทิเบต ฯลฯ
10. ปู้ยี 3 ล้าน มณฑลกุ้ยโจว ฯลฯ
11. เกาหลี 2 ล้าน 


[แก้] เศรษฐกิจ
 
อัตราการเจริญการเติบโตของเศรษฐกิจจีนโดยธนาคารโลกในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจจีนมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วมากภายใต้นโยบายการปฏิรูปและการเปิดประเทศที่ดำเนินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยในปัจจุบันจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก เป็นรองแต่สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และเยอรมนี รัฐบาลจีนมีเป้าหมายที่จะเน้นผลผลิตทางการเกษตรให้พอเพียงสำหรับการบริโภคภายในประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็จะเน้นการพัฒนาด้านเทคโนโลยีระดับสูงด้วย

ในขณะที่จีนเพิ่งเข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) ได้เพียง 5 ปี ในปี 2549 จีนได้มีอัตราเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากร้อยละ 9.9 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 10.7 สูงถึง 20.94 ล้านล้านล้านหยวน หรือ 2.68 ล้านล้านล้านดอลลาร์ สูงที่สุดในรอบ 11 ปี [1]

ความร้อนแรงของเศรษฐกิจจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรมเหล็กและซีเมนต์ทำให้รัฐบาลจีนออกมาตรการต่างๆ เพื่อชะลอการขยายตัวของเศรษฐกิจ ซึ่งปริมาณการขนถ่ายสินค้าและตู้คอนเทนเนอร์ในท่าเรือจีนนั้นสูงเป็นอันดับหนึ่งของโลกมา 4 ปีแล้ว [2]

จีนมีคู่ค้าสำคัญได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และเยอรมนี

เงินตราสกุลเงินของจีนนั้นเรียกว่า “เหรินหมินปี้” (人民币)โดยมีหน่วยเรียกเป็น “หยวน” (元)

1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 7.70 หยวน (2550)
1 ยูโร เท่ากับ 10.46 หยวน (2550)
1 หยวน เท่ากับ 4.53 บาท (2550)
รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปี 1,700 ดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2550) (ปี 2546 เป็นปีแรกที่สูงเกิน 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ)

GDP ประมาณ 3,307,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2550) ถือว่าเศรษฐกิจของจีนมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก (รองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และ เยอรมนี)

ทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศ 1.533 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ม.ค.ปี 2551)

อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 4.07 (ปี 2551)


[แก้] การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน
เมื่อราวๆ กลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีการวิพากษ์ในหนังสือพิมพ์จีนว่าด้วย การทบทวนและประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมจีนตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 จนปัจจุบัน และเปรียบเทียบกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหลังเปิดประเทศปฏิรูปเศรษฐกิจ ซึ่งมีหลากหลายความเห็นที่น่าสนใจที่ไทยอาจต้องศึกษา เพื่อนำมาใช้เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและการลงทุนของประเทศ

เนื่องจากประเทศจีนได้เริ่มพัฒนาตามแบบฉบับอุตสาหกรรมใหม่ (ปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1) ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย และเกิดการชะงักงันเป็นเวลาหลายสิบปีจวบจนกลางศตวรรษที่ 20 และเกือบหยุดสนิทประมาณ 30 ปี เสร็จแล้วใช้เวลาอีก 20 ปี ในการพัฒนาแบบก้าวกระโดดจนกระทั่งเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในหลายๆ ด้านของโลก

นักวิชาการจีนดังกล่าวมีความเห็นว่า ที่จีนสามารถพัฒนาจนเป็นเช่นนี้ เกิดจากกระแสความคิด 2 กระแส

กระแสแรก จีนได้วางพื้นฐานอุตสาหกรรมหนักไว้ตั้งแต่ต้นและไม่เคยละทิ้ง เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก เครื่องจักรกล เคมี จึงกลายเป็นพื้นฐานรองรับและประกันการพัฒนา
กระแสที่สอง ในช่วงที่จีนเปิดประเทศใหม่ๆ ว่าด้วยแนวทางที่จะนำเข้าเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีกลุ่มหนึ่งเห็นคล้อยตามคำแนะนำของประเทศที่พัฒนาแล้วสมัยนั้นว่า ควรที่จะพัฒนาตามขั้นตอน เนื่องจากเทคโนโลยีจีนขณะนั้นล้าหลังอยู่มาก จึงเลือกนำเข้าเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในระดับก่อนหน้าสมัยนั้น 5-10 ปี
ถึงแม้เทคโนโลยีที่จีนใช้ในขณะนั้นจะล้าหลังในสากลโลก แต่ถือว่าทันสมัยมากสำหรับจีน ในการผลิตและจำหน่ายในตลาดของจีน ซึ่งรับความนิยมสูงมาก เช่น รถยนต์ จักรยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน

ขณะเดียวกัน ก็มีอีกกลุ่มหนึ่งที่เห็นว่า พื้นฐานทางวิชาการและเทคโนโลยีจีนพร้อมอยู่แล้ว จึงเลือกที่จะก้าวกระโดดโดยซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ณ ขณะนั้น เช่น ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสาร เทคโนโลยีอวกาศ อุตสาหกรรมเหล็ก ปรากฏในภายหลังว่า ทั้งสองกลุ่มได้พบจุดบรรจบกันในช่วงสิ้นศตวรรษที่ 20 และนำมาซึ่งความร่วมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอีกระลอกดังที่เห็นกันขณะนี้

ผลและสภาพของการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมของจีนที่เราได้เห็นทุกวันนี้ นักวิชาการจีนส่วนใหญ่มองว่าเป็นผลเกิดจากการปูพื้นฐานทางวิชาการและการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักตั้งแต่สมัยแรก กลายเป็นหลักประกันสนับสนุนให้อุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งอุตสาหกรรมเบา เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ ให้พัฒนาอยู่บนขาของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ เช่น เหล็กและโลหะอื่นๆ พลาสติก และเคมี ที่เป็นพื้นฐานนำไปแปรรูปต่อจนจีนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในระดับสูงดังที่เป็นอยู่ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีและสิทธิบัตรตราสินค้าของตนเอง

สร้างโดย: 
ด.ญ.ภัสสุรีย์ กล้าหาญ ม.1/9 เลขที่ 27

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 382 คน กำลังออนไลน์