• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b8f78a960b4c8822a26c5073850b1e66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"http://www.maipradabonline.com/imags/chaba.jpg\" alt=\"\" /></p>\n<table style=\"width: 100%;\" border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" width=\"180\" height=\"25\"><strong>วงศ์</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">Malvaceae</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ชื่อวิทยาศาสตร์</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\"><em>Hibiscus rosa-sinensis</em>&nbsp;L.</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ชื่อไทย</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">ชบา</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ชื่อท้องถิ่น</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">- ดอกผ้า (ไทใหญ่) - ดอกใหม่, ใหม่แดง, ใหม่ (เหนือ), ชุมบา, ชบาขาว, ชุมมา (ปัตตานี), บา, ชะมา (ใต้) [1]</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม อยู่ในจำพวกพู่ระหง ลำต้นนั้นมีความสูงประมาณ 6-7 ฟุต หรืออาจสูงได้ถึง 12 ฟุต เป็นพรรณไม้เนื้ออ่อน ส่วนเปลือกนั้นจะเหนียวมาก<br />ใบ เป็นใบเดี่ยวสีเขียว ใบโตและฐานใบกว้าง ลักษณะรูปใบมน ตรงปลายใบจะแหลม ริมใบจะเป็นจักใหญ่คล้ายกับฟันเลื่อย เมื่อเราเด็ดมาขยี้จะมีเมือกเหนียวๆ ใบมีความยาวประมาณ 6 ซม. และกว้างประมาณ 5-7 ซม.&nbsp;<br />ดอก ดอกจะออกเดี่ยวๆ อยู่ระหว่างใบ และมีกลีบอยู่ 5 กลีบ ดอกนั้นจะมีอยู่หลายสีคือ แดง ขาว และเหลือง ตรงปลายดอกจะมนและกลม<br />เกสร ก้านเกสรยาว และจะยื่นออกมาพ้นจากกลางดอก จะมีเกสรตัวผู้เป็นสีเหลืองเกาะอยู่หนาแน่นบนท่อเกสร ส่วนแกสอนตัวเมียนั้นจะอยู่ปลายสุดของก้านดอก[1]</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ใบ</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">ใบ เป็นใบเดี่ยวสีเขียว ใบโตและฐานใบกว้าง ลักษณะรูปใบมน ตรงปลายใบจะแหลม ริมใบจะเป็นจักใหญ่คล้ายกับฟันเลื่อย เมื่อเราเด็ดมาขยี้จะมีเมือกเหนียวๆ ใบมีความยาวประมาณ 6 ซม. และกว้างประมาณ 5-7 ซม.&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ดอก</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">ดอก ดอกจะออกเดี่ยวๆ อยู่ระหว่างใบ และมีกลีบอยู่ 5 กลีบ ดอกนั้นจะมีอยู่หลายสีคือ แดง ขาว และเหลือง ตรงปลายดอกจะมนและกลม<br />เกสร ก้านเกสรยาว และจะยื่นออกมาพ้นจากกลางดอก จะมีเกสรตัวผู้เป็นสีเหลืองเกาะอยู่หนาแน่นบนท่อเกสร ส่วนแกสอนตัวเมียนั้นจะอยู่ปลายสุดของก้านดอก[1]</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>ผล</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">-</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">- ดอก ใช้ไปวัดและใช้ในพิธีกรรมต่างๆ(ไทใหญ่)<br />- ใบ ใช้ประมาณ 5-10 ใบ นำใบล้างให้สะอาด แล้วตำรวมกับใบพุดตาน จำนวนเท่าๆกัน ใช้พอกคางทูม วันละ 2 เวลา เช้า-เย็น หรือจะใช้ใบชบา และใบพุดตานผสมกับน้ำผึ้งแล้วเคี่ยวให้ขึ้น ใช้ทาตามบริเวณคางทูมก็ได้หรือตามผิวหนังทำให้ผิวหนังชุ่มชื้น (emollient) และเป็นยาระบาย เพื่อจะไปหล่อเลี้ยงลำไส้ให้ลื่น<br />ดอก ใช้ปริมาณพอสมควร ชงกับน้ำ นำมาแกงเลียงกินเพื่อบำรุงน้ำนม ถ้าไม่มีดอกก็ใช้ใบอ่อนแทนก็ได้ นอกจากนี้แล้วดอกชบา ยังทำให้เป็นหมันได้<br />รากสด ใช้ประมาณ 1 กำมือ นำมาโขลกให้ละเอียด พอกรักษาพิษฝี และอาการพกบวม หรือใช้ต้มกับน้ำกิน เพื่อขับน้ำย่อยอาหาร เป็นยาเจริญอาหาร ในรากชบานั้นจะมีสารที่เป็นเมือก (mucilage) อยู่ ใช้ Althea แทนรากได้จะทำให้ชุ่มชื้น [1]&nbsp;<br />- ตำรับยา 1. ใบ จะมีรสฝาดชุ่มคอ ใช้รักษาเลือดกำเดาออก คางทูมรักษาแผลบวมอักเสบ<br />2. ดอก จะมีรสชุ่มคอ และเย็น ใช้ละลายเสมหะ รักษาอาการไอ เลือดกำเดาออก รักษาโรคบิด ตกขาว และแผลบวมอักเสบ<br />3. รากสด ใช้พอกรักษาฝี รักษาอาการพกช้ำบวมเนื่องจากอักเสบ ใช้กินภายในเป็นยาขับน้ำย่อยอาหาร ทำให้อาหารมีรส รักษาประจำเดือนมาไม่ปกติ และรักษาอาการตกเลือด<br />4. รากและเปลือก ทำให้ประจำเดือนมาปกติ รักษาอาการไอ ขับเสมหะ รักษาหลอดลมอักเสบ และมดลูกอักเสบ [1]</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">&nbsp;</td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"25\"><strong>อ้างอิง</strong></td>\n<td align=\"left\" valign=\"middle\">เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.<br />[1] วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม, 2548. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6. รวมสาส์น (1977) จำกัด. กรุงเทพ ฯ.<br />[8] ก่องกานดา ชยามฤตและลีนา ผู้พัฒนพงศ์, 2545. สมุนไพรไทยตอนที่ 7 . ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ หอพรรณไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" align=\"left\" valign=\"middle\" height=\"15\">&nbsp;</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1720394433, expire = 1720480833, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b8f78a960b4c8822a26c5073850b1e66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชบา

วงศ์ Malvaceae
 
  ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus rosa-sinensis L.
 
  ชื่อไทย ชบา
 
  ชื่อท้องถิ่น - ดอกผ้า (ไทใหญ่) - ดอกใหม่, ใหม่แดง, ใหม่ (เหนือ), ชุมบา, ชบาขาว, ชุมมา (ปัตตานี), บา, ชะมา (ใต้) [1]
 
  ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดย่อม อยู่ในจำพวกพู่ระหง ลำต้นนั้นมีความสูงประมาณ 6-7 ฟุต หรืออาจสูงได้ถึง 12 ฟุต เป็นพรรณไม้เนื้ออ่อน ส่วนเปลือกนั้นจะเหนียวมาก
ใบ เป็นใบเดี่ยวสีเขียว ใบโตและฐานใบกว้าง ลักษณะรูปใบมน ตรงปลายใบจะแหลม ริมใบจะเป็นจักใหญ่คล้ายกับฟันเลื่อย เมื่อเราเด็ดมาขยี้จะมีเมือกเหนียวๆ ใบมีความยาวประมาณ 6 ซม. และกว้างประมาณ 5-7 ซม. 
ดอก ดอกจะออกเดี่ยวๆ อยู่ระหว่างใบ และมีกลีบอยู่ 5 กลีบ ดอกนั้นจะมีอยู่หลายสีคือ แดง ขาว และเหลือง ตรงปลายดอกจะมนและกลม
เกสร ก้านเกสรยาว และจะยื่นออกมาพ้นจากกลางดอก จะมีเกสรตัวผู้เป็นสีเหลืองเกาะอยู่หนาแน่นบนท่อเกสร ส่วนแกสอนตัวเมียนั้นจะอยู่ปลายสุดของก้านดอก[1]
 
  ใบ ใบ เป็นใบเดี่ยวสีเขียว ใบโตและฐานใบกว้าง ลักษณะรูปใบมน ตรงปลายใบจะแหลม ริมใบจะเป็นจักใหญ่คล้ายกับฟันเลื่อย เมื่อเราเด็ดมาขยี้จะมีเมือกเหนียวๆ ใบมีความยาวประมาณ 6 ซม. และกว้างประมาณ 5-7 ซม. 
 
  ดอก ดอก ดอกจะออกเดี่ยวๆ อยู่ระหว่างใบ และมีกลีบอยู่ 5 กลีบ ดอกนั้นจะมีอยู่หลายสีคือ แดง ขาว และเหลือง ตรงปลายดอกจะมนและกลม
เกสร ก้านเกสรยาว และจะยื่นออกมาพ้นจากกลางดอก จะมีเกสรตัวผู้เป็นสีเหลืองเกาะอยู่หนาแน่นบนท่อเกสร ส่วนแกสอนตัวเมียนั้นจะอยู่ปลายสุดของก้านดอก[1]
 
  ผล -
 
  สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ - ดอก ใช้ไปวัดและใช้ในพิธีกรรมต่างๆ(ไทใหญ่)
- ใบ ใช้ประมาณ 5-10 ใบ นำใบล้างให้สะอาด แล้วตำรวมกับใบพุดตาน จำนวนเท่าๆกัน ใช้พอกคางทูม วันละ 2 เวลา เช้า-เย็น หรือจะใช้ใบชบา และใบพุดตานผสมกับน้ำผึ้งแล้วเคี่ยวให้ขึ้น ใช้ทาตามบริเวณคางทูมก็ได้หรือตามผิวหนังทำให้ผิวหนังชุ่มชื้น (emollient) และเป็นยาระบาย เพื่อจะไปหล่อเลี้ยงลำไส้ให้ลื่น
ดอก ใช้ปริมาณพอสมควร ชงกับน้ำ นำมาแกงเลียงกินเพื่อบำรุงน้ำนม ถ้าไม่มีดอกก็ใช้ใบอ่อนแทนก็ได้ นอกจากนี้แล้วดอกชบา ยังทำให้เป็นหมันได้
รากสด ใช้ประมาณ 1 กำมือ นำมาโขลกให้ละเอียด พอกรักษาพิษฝี และอาการพกบวม หรือใช้ต้มกับน้ำกิน เพื่อขับน้ำย่อยอาหาร เป็นยาเจริญอาหาร ในรากชบานั้นจะมีสารที่เป็นเมือก (mucilage) อยู่ ใช้ Althea แทนรากได้จะทำให้ชุ่มชื้น [1] 
- ตำรับยา 1. ใบ จะมีรสฝาดชุ่มคอ ใช้รักษาเลือดกำเดาออก คางทูมรักษาแผลบวมอักเสบ
2. ดอก จะมีรสชุ่มคอ และเย็น ใช้ละลายเสมหะ รักษาอาการไอ เลือดกำเดาออก รักษาโรคบิด ตกขาว และแผลบวมอักเสบ
3. รากสด ใช้พอกรักษาฝี รักษาอาการพกช้ำบวมเนื่องจากอักเสบ ใช้กินภายในเป็นยาขับน้ำย่อยอาหาร ทำให้อาหารมีรส รักษาประจำเดือนมาไม่ปกติ และรักษาอาการตกเลือด
4. รากและเปลือก ทำให้ประจำเดือนมาปกติ รักษาอาการไอ ขับเสมหะ รักษาหลอดลมอักเสบ และมดลูกอักเสบ [1]
 
  อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[1] วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม, 2548. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6. รวมสาส์น (1977) จำกัด. กรุงเทพ ฯ.
[8] ก่องกานดา ชยามฤตและลีนา ผู้พัฒนพงศ์, 2545. สมุนไพรไทยตอนที่ 7 . ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ หอพรรณไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 495 คน กำลังออนไลน์