• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '1:edd9f6d72264a13c4256f8697b95d704' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>การทำมัมมี่ศพ         </p>\n<p>ชาวอียิปต์ได้ศึกษาทดลองวิธีต่างๆ เพื่อที่จะรักษาสภาพศพให้คงทนอยู่ได้ ซึ่งต้นกำเนิดการทำมัมมี่ศพคงจะมาจากตำนานที่กล่าวถึงเทวีไอซิสหรือเทพเจ้าอะนูบิส  ทำมัมมี่พระศพเทพเจ้าโอซิริส  ภายหลังจากนำชิ้นส่วนพระศพของพระองค์มาได้ครบ  14 ชิ้น                         </p>\n<p>แต่ตามประวัติศาสตร์ไอยคุปต์ได้ระบุไว้ว่า  การทำมัมมีศพที่ครบตามกระบวรการจริงอยู่ในสมัยช่วงราชวงศ์ที่  4 คือต้องใช้เวลานานถึง  70 วัน นับตั้งแต่วันเริ่มกระบวนการจนเสร็จสิ้น                       </p>\n<p>การทำมัมมีศพภายในเวลา  70 วัน ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 7 ขั้นตอนดังต่อไปนึ้                            </p>\n<p>1.วางพระศพลงบนแท่นภายในโรงพิธี วางพระศพลงที่ที่พิเศษเรียกว่า “อีบู” หมายความว่า สถานที่ชำระพระศพให้บริสุทธิ์ ผู้ทำมัมมี่สอดตะขอเล็ก ๆ เข้าไปทางช่องรูจมูก เพื่อดึงเอาส่วนสมอง ซึ่งเป็นอวัยวะที่เน่าเร็วออกมา ผู้ทำมัมมี่จะอาบพระศพด้วยเหล้าที่ทำจากน้ำตาลสด และชำระล้างด้วยน้ำจากแม่น้ำไนล์                            </p>\n<p>2.ผ่าตรงช่องท้องน้อยด้านซ้าย เพื่อเอาอวัยวะภายในทั้งหมดออกมา  เช่น  กระเพาะอาหาร  ตับ  ไต  ไส้พุง  ม้าม  อวัยวะภายในเหล่านี้มีความชื้นสูงจึงจำเป็นต้องล้างทำความสะอาดและทำให้แห้ง  จากนั้นห่อแต่ละส่วนด้วยผ้าลินิน  แล้วนำไปบรรจุในภาชนะพิเศษที่เรียกว่า “คาโนปิค” บรรจุด้วยสารนาตรอน ซึ่งเป็นเกลือโซเดียมคาร์บอนเนต   ใช้ตะขอสอดผ่านทางช่องจมูกเพื่อเกี่ยวเอาเนื้อสมองออกมา อวัยวะส่วนที่เป็นหัวใจไม่ต้องดึงออกมา  เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อ  และเน่าเปื่อยช้ากว่าอวัยวะภายในอื่น ๆ  นอกจากนั้นยังถือว่าหัวใจเป็นแหล่งสติปัญญา  และเป็นส่วนสำคัญที่ต้องคงไว้ภายในร่างกาย  ที่ผู้ตายต้องใช้ในโลกแห่งวิญญาณ                               </p>\n<p>3.จากนั้นเอาศพไปวางกลบด้วยเกลือเม็ด เพื่อให้ของเหลวในร่างกายแห้ง และจัดการเตรียมผ้าพันศพ ชิ้นส่วนศพทุกชิ้นเพื่อที่จะนำไปฝัง                            </p>\n<p>4.ชำระล้างศพสองครั้งแล้วปล่อยให้แห้ง  จากนั้นก็ใส่เกลือเพื่อเป็นสารกันเน่าเปื่อยเข้าไปภายในแทนอวัยวะที่ดึงออกมา เพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย อันจะทำให้ร่างกายเปื่อยเน่าสูญสลายได้                           </p>\n<p>5.ปล่อยศพให้แห้งนานประมาณ 40 วัน                              </p>\n<p>6.ใช้น้ำมันทาหรือนวดศพ เพื่อให้ผิวหนังอ่อนนุ่มแลดูเปล่งปลั่งขึ้น น้ำมันที่ใช้ เช่น น้ำมันโอลิบานัม หรือน้ำมันพิเศษที่ผสมด้วยน้ำมัน ไม้ชีดาร์ น้ำมันหอมจากเกเบตี น้ำมันเลบานอน น้ำมันเกสรคัมมิน ยางเหลว น้ำมันสนบริสุทธิ์ เครื่องหอม สารนาตรอน                                 </p>\n<p>การทาหรือนวดศพ  ผู้ทำมัมมีจะใช้เศษผ้าจุ่มน้ำมันทา  และต้องพึงระวังไว้ว่าต้องไม่พลิกร่างกลับไปทาซ้ำตรงบริเวณหน้าอกหรือช่องท้องซึ่งภายในบรรจุสิ่งต่าง ๆ ไว้แน่นอีกเป็นอันขาด  เนื่องจากถือว่าเทพเจ้าต่าง ๆ ที่สถิตอยู่ในช่องท้องจะเสด็จหนีไป                            </p>\n<p>7.เมื่อครบกำหนดก็นำศพออกมาล้างทำความสะอาดทั้งภายในและภายนอกด้วยน้ำจากแม่น้ำไนล์                           </p>\n<p>8.อวัยวะภายในที่แห้งจากการแช่เกลือแล้ว ให้นำกลับมาใส่ไว้ตามเดิม                             </p>\n<p>9.เมื่อศพแห้งสนิทก็บรรจุสารกันเน่าพิเศษ  รวมทั้งเรซิ่น ผงฝุ่น  สมุนไพร  ขี้เรื่อย ใบไม้ ผ้าลินิน เศษผ้าม้วนเป็นวงกลมผสมยางไม้  และสารอื่น ๆ บรรจุเข้าไปภายในร่างศพ เพื่อให้ศพดูเหมือนยามเหมือนยามมีชีวิตอยู่ ไม่ยุบตัวลงไปตามกาลเวลาภายหลัง                                                               </p>\n<p>10.ใช้น้ำมันทาศพอีกครั้ง จากนั้นนำเครื่องรางที่เรียกว่า “อัดจั๊ต” รูปพระเนตรของเทพเจ้าฮอรัสติดไว้ตรงรอยผ่าตรงช่วงท้องน้อย                             </p>\n<p>11.ทาศพด้วยสารเหลวเรซินจนแห้งและผิวแข็งขึ้น เพื่อป้องกันความชื้นเข้าไป จากนั้นก็พันผ้าห่อศพทับตามบริเวณร่างศพทุกส่วนหลายชั้นและห่อให้เรียบเสมอกันมากที่สุด ผ้าที่นิยมใช้มักเป็นผ้าลินิน ซึ่งมีความยามประมาณ 100 เมตร ผ้าที่ซื้อมาจากวิหารเทพเจ้าต่าง ๆ ถือว่าเป็นผ้าศักดิ์สิทธิ์ เช่น ผ้าศักดิ์สิทธิ์จากวิหารเทพเจ้ารา ก็หมายถึงผ้าที่ใช้พันรูปปั้นเทพเจ้าราในวิหาร ซึ้งถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ที่จะก่อให้เกิดอำนาจวิเศษในการรักษาและคุ้มครองมัมมี่ศพตลอดไป  ชาวไอยคุปต์มักถือเคล็ดว่า  การทำอะไรก็ตามต้องทำให้ครบจำนวนเจ็ดเสมอ  ด้วยเหตุนี้การพันผ้าห่อศพ ก็ต้องห่อทับกัน  7 รอบ แต่ละขั้นพันผ้าทับเครื่องรางเจ็ดชนิด                                      </p>\n<p>พิธีกรรมทางศาสนากับการทำมัมมี่  พิธีกรรมทางศาสนานับว่ามีความสำคัญมาก  กล่าวกันว่าหากการทำมัมมีแต่ละขั้นตอนขาดพิธีกรรมทางศาสนาประกอบก็ถือว่าการทำมัมมีไม่ครบสมบูรณ์  และไม่เป็นสิริมงคลแก่วิญญาณคนตาย  พิธีกรรมดำเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้                             </p>\n<p>ภายในโรงพิธี  มีเครื่องเซ่นประเภทอาหารอย่างสมบูรณ์พร้อมทั้งไหเหล้าองุ่นว่างเรียงกันไว้อย่างเป็นระเบียบ  ครั้นถึงเวลาที่กำหนดไว้นักบวชผู้เป็นประธานก็เริ่มอ่านคัมภีร์ม้วนแผ่นปาปิรุสเพื่อเชิญวิญญาณคนตายให้มาเสพอาหารหวานคาวที่จัดเตรียมไว้  จากนั้นบรรดาญาติมิตรที่ร่วมขบวนแห่ศพมาก็จะออกไปจากห้องเหลือเพียงผู้ร่วมทำมัมมีศพนักบวช  และมีสตรี  2 คน ที่แสดงเป็นสัญลักษณ์แทนเทวีไอซิสและเนปทิส (ตามตำนานโอซิริสทั้งสองร่วมกันชุบชีวิตเทพเจ้าโอซิริส)                             </p>\n<p>นักบวชจะอ่านคัมภีร์ทุกขั้นตอนของการทำมัมมี่  เป็นการเรียกขวัญเรียกขวัญวิญญาณคนตายทุกระยะ  ต่างเป็นการเตือนให้ระลึกถึงแต่คุณงามความดีที่ผ่านมาทั้งในอดีต  ปัจจุบันและในอนาคต  และที่สำคัญที่สุดคือนักบวชต้องอธิษฐานให้คนตายกลับฟื้นคืนชีพในโลกใหม่ในรูปของวิญญาณอมตะ                             </p>\n<p>ขณะพันผ้าศพผู้เป็นประธานในพิธีต้องสวมหน้ากากสุนัขจิ้งจอกซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้าอะนูบิส  ผู้ซึ่งถือว่ามีส่วนช่วยเทวีไอซิชุบชีวิตเทพเจ้าโอซิริสขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง                               </p>\n<p>กระบวนการทำมัมมี่ต้องใช้เวลาหลายวัน  เนื่องจากแต่ละขั้นตอนต้องดำเนินไปให้ถูกต้องตามพิธีกรรมมากที่สุด                   </p>\n<p>หลังจากพันผ้าศพมัมมี่เสร็จแล้ว  เจ้าหน้าที่ก็จะนำไปวางไว้บนแท่นหรือเตียงรูปสิงโต  จากนั้นนักบวชก็จะประกาศว่า                             </p>\n<p>&quot;บัดนี้ท่านได้เกิดใหม่แล้ว ท่านจะมีชีวิตเป็นอมตะ จะคงความเป็นหนุ่มต่อไปชั่วกาลนาน&quot;                             </p>\n<p>ต่อมาก็เป็นการนำขบวนแห่มัมมี่ศพไปยังสุสานฝังศพ หรือที่ชาวไอยคุปต์เรียกว่า  “นีโครโปลิส”                             </p>\n<p>ครั้นถึงสุสานก็จะนำศพไปตั้งไว้ในโรงพิธี  จากนั้นก็นำศพบรรจุลงในโลงศพ  นำไปยังโรงพิธีชำระศพให้บริสุทธิ์อีกครั้งหนึ่ง  แล้วกระทำเปิดปากศพต่อไป                             </p>\n<p>พิธีเปิดปากศพนี้ในยุคแรก ๆ ใช้กับรูปปั้นเทพเจ้า  เทวีหรือฟาโรห์ที่เสด็จสวรรคตเท่านั้น โดยถือว่าเป็นผู้รับวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ผ่านทางปาก ต่อมาในภายหลังได้ใช้กับบรรดาขุนนางชั้นสูง  ข้าราชบริพาร  ตลอดจนไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ทั่วไป                           </p>\n<p>จุดมุ่งหมายของพิธีเปิดปากศพมัมมี่ก็คือเพื่อเรียกพลังแห่งชีวิต  ซึ่งออกจากร่างเดิมกลับมาใหม่  อีกทั้งยังทำให้คนตายสามารถใช้ปากได้เช่นเคย  สามารถรับประทานอาหาร  ดื่มน้ำ  พูดและหายใจได้อีกครั้ง                           </p>\n<p>นักบวชซึ่งแต่งกายด้วยเสือคลุมหนังเสือลาย  สวมหัวสุนัขจิ้งจอกใช้วัตถุคล้ายจอบแตะที่ปากมัมมี่ศพ  ช่วงที่ทำพิธีเปิดปากศพ  ต้องเผากำยานเป็นระยะ ๆ เพื่อเป็นการบูชาเทพเจ้า  รวมทั้งต้องเซ่นด้วยหัวใจ  ลำตัว  หรือขาหลังของสัตว์สี่เท้าชนิดใดชนิดหนึ่ง                            </p>\n<p>นักบวชที่ทำพิธีเซ่นวิญญาณคนตายด้วยเครื่องเซ่นและเหล้าองุ่นพร้อมทั้งโบกพัดขนนกเป็นการเอาใจ  จนแน่ใจว่าวิญญาณของคนตายได้เกิดแล้วก็จะหยุด                            </p>\n<p>ต่อมาก็กระทำพิธีเปิดปากศพซ้ำอีกครั้ง โดยเริ่มจากการเผากำยาน ประพรมน้ำบนร่างมัมมี่ และเชิญวิญญาณมาเสพเครื่องเซ่น ปิดท้ายด้วยการแตะปากศพอีกครั้งหนึ่งด้วยวัตถุคล้ายจอบหรือผึ่งถากไม้ เป็นอันเสร็จพิธี ที่สำคัญก็คือตลอดระยะเวลาทำพิธีเปิดปากสวด  ต้องมีนักบวชอีกหลายองค์ร่วมสวดมนตร์ตามคัมภีร์ของผู้วายชนม์  จากแผ่นม้วนปาปิรุส  เพื่อช่วยปลุกวิญญาณคนตายให้หลับมาโดยเร็ว                             </p>\n<p>ขั้นตอนสุดท้ายก็คือนำมัมมี่ศพบรรจุในโลงไม้แล้วนำไปยังห้องเก็บศพที่เตรียมไว้  โลงบรรจุมัมมีศพต้องตกแต่ง  ประดับ  แกะสลักลวดลายหรือเขียนภาพสีเป็นรูปเทวีไอซิสลเนปทิส  ทางด้านหัวและด้านท้ายโลงศพ                     </p>\n<p>โลงศพของมัมมี่ศพบางรายนิยมเขียนภาพระบายสีเป็นสัญลักษณ์ดวงตาทั้งสองข้าง  ถือเป็นการแสดงให้เห็นว่าวิญญาณที่บรรจุอยู่ภายในโลงไม่ได้ตัดขาดจากโลกภายนอก </p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1719827043, expire = 1719913443, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '1:edd9f6d72264a13c4256f8697b95d704' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มัมมี่ไอยคุปต์

การทำมัมมี่ศพ        

ชาวอียิปต์ได้ศึกษาทดลองวิธีต่างๆ เพื่อที่จะรักษาสภาพศพให้คงทนอยู่ได้ ซึ่งต้นกำเนิดการทำมัมมี่ศพคงจะมาจากตำนานที่กล่าวถึงเทวีไอซิสหรือเทพเจ้าอะนูบิส  ทำมัมมี่พระศพเทพเจ้าโอซิริส  ภายหลังจากนำชิ้นส่วนพระศพของพระองค์มาได้ครบ  14 ชิ้น                        

แต่ตามประวัติศาสตร์ไอยคุปต์ได้ระบุไว้ว่า  การทำมัมมีศพที่ครบตามกระบวรการจริงอยู่ในสมัยช่วงราชวงศ์ที่  4 คือต้องใช้เวลานานถึง  70 วัน นับตั้งแต่วันเริ่มกระบวนการจนเสร็จสิ้น                      

การทำมัมมีศพภายในเวลา  70 วัน ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 7 ขั้นตอนดังต่อไปนึ้                           

1.วางพระศพลงบนแท่นภายในโรงพิธี วางพระศพลงที่ที่พิเศษเรียกว่า “อีบู” หมายความว่า สถานที่ชำระพระศพให้บริสุทธิ์ ผู้ทำมัมมี่สอดตะขอเล็ก ๆ เข้าไปทางช่องรูจมูก เพื่อดึงเอาส่วนสมอง ซึ่งเป็นอวัยวะที่เน่าเร็วออกมา ผู้ทำมัมมี่จะอาบพระศพด้วยเหล้าที่ทำจากน้ำตาลสด และชำระล้างด้วยน้ำจากแม่น้ำไนล์                           

2.ผ่าตรงช่องท้องน้อยด้านซ้าย เพื่อเอาอวัยวะภายในทั้งหมดออกมา  เช่น  กระเพาะอาหาร  ตับ  ไต  ไส้พุง  ม้าม  อวัยวะภายในเหล่านี้มีความชื้นสูงจึงจำเป็นต้องล้างทำความสะอาดและทำให้แห้ง  จากนั้นห่อแต่ละส่วนด้วยผ้าลินิน  แล้วนำไปบรรจุในภาชนะพิเศษที่เรียกว่า “คาโนปิค” บรรจุด้วยสารนาตรอน ซึ่งเป็นเกลือโซเดียมคาร์บอนเนต   ใช้ตะขอสอดผ่านทางช่องจมูกเพื่อเกี่ยวเอาเนื้อสมองออกมา อวัยวะส่วนที่เป็นหัวใจไม่ต้องดึงออกมา  เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อ  และเน่าเปื่อยช้ากว่าอวัยวะภายในอื่น ๆ  นอกจากนั้นยังถือว่าหัวใจเป็นแหล่งสติปัญญา  และเป็นส่วนสำคัญที่ต้องคงไว้ภายในร่างกาย  ที่ผู้ตายต้องใช้ในโลกแห่งวิญญาณ                              

3.จากนั้นเอาศพไปวางกลบด้วยเกลือเม็ด เพื่อให้ของเหลวในร่างกายแห้ง และจัดการเตรียมผ้าพันศพ ชิ้นส่วนศพทุกชิ้นเพื่อที่จะนำไปฝัง                           

4.ชำระล้างศพสองครั้งแล้วปล่อยให้แห้ง  จากนั้นก็ใส่เกลือเพื่อเป็นสารกันเน่าเปื่อยเข้าไปภายในแทนอวัยวะที่ดึงออกมา เพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย อันจะทำให้ร่างกายเปื่อยเน่าสูญสลายได้                          

5.ปล่อยศพให้แห้งนานประมาณ 40 วัน                             

6.ใช้น้ำมันทาหรือนวดศพ เพื่อให้ผิวหนังอ่อนนุ่มแลดูเปล่งปลั่งขึ้น น้ำมันที่ใช้ เช่น น้ำมันโอลิบานัม หรือน้ำมันพิเศษที่ผสมด้วยน้ำมัน ไม้ชีดาร์ น้ำมันหอมจากเกเบตี น้ำมันเลบานอน น้ำมันเกสรคัมมิน ยางเหลว น้ำมันสนบริสุทธิ์ เครื่องหอม สารนาตรอน                                

การทาหรือนวดศพ  ผู้ทำมัมมีจะใช้เศษผ้าจุ่มน้ำมันทา  และต้องพึงระวังไว้ว่าต้องไม่พลิกร่างกลับไปทาซ้ำตรงบริเวณหน้าอกหรือช่องท้องซึ่งภายในบรรจุสิ่งต่าง ๆ ไว้แน่นอีกเป็นอันขาด  เนื่องจากถือว่าเทพเจ้าต่าง ๆ ที่สถิตอยู่ในช่องท้องจะเสด็จหนีไป                           

7.เมื่อครบกำหนดก็นำศพออกมาล้างทำความสะอาดทั้งภายในและภายนอกด้วยน้ำจากแม่น้ำไนล์                          

8.อวัยวะภายในที่แห้งจากการแช่เกลือแล้ว ให้นำกลับมาใส่ไว้ตามเดิม                            

9.เมื่อศพแห้งสนิทก็บรรจุสารกันเน่าพิเศษ  รวมทั้งเรซิ่น ผงฝุ่น  สมุนไพร  ขี้เรื่อย ใบไม้ ผ้าลินิน เศษผ้าม้วนเป็นวงกลมผสมยางไม้  และสารอื่น ๆ บรรจุเข้าไปภายในร่างศพ เพื่อให้ศพดูเหมือนยามเหมือนยามมีชีวิตอยู่ ไม่ยุบตัวลงไปตามกาลเวลาภายหลัง                                                              

10.ใช้น้ำมันทาศพอีกครั้ง จากนั้นนำเครื่องรางที่เรียกว่า “อัดจั๊ต” รูปพระเนตรของเทพเจ้าฮอรัสติดไว้ตรงรอยผ่าตรงช่วงท้องน้อย                            

11.ทาศพด้วยสารเหลวเรซินจนแห้งและผิวแข็งขึ้น เพื่อป้องกันความชื้นเข้าไป จากนั้นก็พันผ้าห่อศพทับตามบริเวณร่างศพทุกส่วนหลายชั้นและห่อให้เรียบเสมอกันมากที่สุด ผ้าที่นิยมใช้มักเป็นผ้าลินิน ซึ่งมีความยามประมาณ 100 เมตร ผ้าที่ซื้อมาจากวิหารเทพเจ้าต่าง ๆ ถือว่าเป็นผ้าศักดิ์สิทธิ์ เช่น ผ้าศักดิ์สิทธิ์จากวิหารเทพเจ้ารา ก็หมายถึงผ้าที่ใช้พันรูปปั้นเทพเจ้าราในวิหาร ซึ้งถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ที่จะก่อให้เกิดอำนาจวิเศษในการรักษาและคุ้มครองมัมมี่ศพตลอดไป  ชาวไอยคุปต์มักถือเคล็ดว่า  การทำอะไรก็ตามต้องทำให้ครบจำนวนเจ็ดเสมอ  ด้วยเหตุนี้การพันผ้าห่อศพ ก็ต้องห่อทับกัน  7 รอบ แต่ละขั้นพันผ้าทับเครื่องรางเจ็ดชนิด                                     

พิธีกรรมทางศาสนากับการทำมัมมี่  พิธีกรรมทางศาสนานับว่ามีความสำคัญมาก  กล่าวกันว่าหากการทำมัมมีแต่ละขั้นตอนขาดพิธีกรรมทางศาสนาประกอบก็ถือว่าการทำมัมมีไม่ครบสมบูรณ์  และไม่เป็นสิริมงคลแก่วิญญาณคนตาย  พิธีกรรมดำเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้                            

ภายในโรงพิธี  มีเครื่องเซ่นประเภทอาหารอย่างสมบูรณ์พร้อมทั้งไหเหล้าองุ่นว่างเรียงกันไว้อย่างเป็นระเบียบ  ครั้นถึงเวลาที่กำหนดไว้นักบวชผู้เป็นประธานก็เริ่มอ่านคัมภีร์ม้วนแผ่นปาปิรุสเพื่อเชิญวิญญาณคนตายให้มาเสพอาหารหวานคาวที่จัดเตรียมไว้  จากนั้นบรรดาญาติมิตรที่ร่วมขบวนแห่ศพมาก็จะออกไปจากห้องเหลือเพียงผู้ร่วมทำมัมมีศพนักบวช  และมีสตรี  2 คน ที่แสดงเป็นสัญลักษณ์แทนเทวีไอซิสและเนปทิส (ตามตำนานโอซิริสทั้งสองร่วมกันชุบชีวิตเทพเจ้าโอซิริส)                            

นักบวชจะอ่านคัมภีร์ทุกขั้นตอนของการทำมัมมี่  เป็นการเรียกขวัญเรียกขวัญวิญญาณคนตายทุกระยะ  ต่างเป็นการเตือนให้ระลึกถึงแต่คุณงามความดีที่ผ่านมาทั้งในอดีต  ปัจจุบันและในอนาคต  และที่สำคัญที่สุดคือนักบวชต้องอธิษฐานให้คนตายกลับฟื้นคืนชีพในโลกใหม่ในรูปของวิญญาณอมตะ                            

ขณะพันผ้าศพผู้เป็นประธานในพิธีต้องสวมหน้ากากสุนัขจิ้งจอกซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้าอะนูบิส  ผู้ซึ่งถือว่ามีส่วนช่วยเทวีไอซิชุบชีวิตเทพเจ้าโอซิริสขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง                              

กระบวนการทำมัมมี่ต้องใช้เวลาหลายวัน  เนื่องจากแต่ละขั้นตอนต้องดำเนินไปให้ถูกต้องตามพิธีกรรมมากที่สุด                  

หลังจากพันผ้าศพมัมมี่เสร็จแล้ว  เจ้าหน้าที่ก็จะนำไปวางไว้บนแท่นหรือเตียงรูปสิงโต  จากนั้นนักบวชก็จะประกาศว่า                            

"บัดนี้ท่านได้เกิดใหม่แล้ว ท่านจะมีชีวิตเป็นอมตะ จะคงความเป็นหนุ่มต่อไปชั่วกาลนาน"                            

ต่อมาก็เป็นการนำขบวนแห่มัมมี่ศพไปยังสุสานฝังศพ หรือที่ชาวไอยคุปต์เรียกว่า  “นีโครโปลิส”                            

ครั้นถึงสุสานก็จะนำศพไปตั้งไว้ในโรงพิธี  จากนั้นก็นำศพบรรจุลงในโลงศพ  นำไปยังโรงพิธีชำระศพให้บริสุทธิ์อีกครั้งหนึ่ง  แล้วกระทำเปิดปากศพต่อไป                            

พิธีเปิดปากศพนี้ในยุคแรก ๆ ใช้กับรูปปั้นเทพเจ้า  เทวีหรือฟาโรห์ที่เสด็จสวรรคตเท่านั้น โดยถือว่าเป็นผู้รับวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ผ่านทางปาก ต่อมาในภายหลังได้ใช้กับบรรดาขุนนางชั้นสูง  ข้าราชบริพาร  ตลอดจนไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ทั่วไป                          

จุดมุ่งหมายของพิธีเปิดปากศพมัมมี่ก็คือเพื่อเรียกพลังแห่งชีวิต  ซึ่งออกจากร่างเดิมกลับมาใหม่  อีกทั้งยังทำให้คนตายสามารถใช้ปากได้เช่นเคย  สามารถรับประทานอาหาร  ดื่มน้ำ  พูดและหายใจได้อีกครั้ง                          

นักบวชซึ่งแต่งกายด้วยเสือคลุมหนังเสือลาย  สวมหัวสุนัขจิ้งจอกใช้วัตถุคล้ายจอบแตะที่ปากมัมมี่ศพ  ช่วงที่ทำพิธีเปิดปากศพ  ต้องเผากำยานเป็นระยะ ๆ เพื่อเป็นการบูชาเทพเจ้า  รวมทั้งต้องเซ่นด้วยหัวใจ  ลำตัว  หรือขาหลังของสัตว์สี่เท้าชนิดใดชนิดหนึ่ง                           

นักบวชที่ทำพิธีเซ่นวิญญาณคนตายด้วยเครื่องเซ่นและเหล้าองุ่นพร้อมทั้งโบกพัดขนนกเป็นการเอาใจ  จนแน่ใจว่าวิญญาณของคนตายได้เกิดแล้วก็จะหยุด                           

ต่อมาก็กระทำพิธีเปิดปากศพซ้ำอีกครั้ง โดยเริ่มจากการเผากำยาน ประพรมน้ำบนร่างมัมมี่ และเชิญวิญญาณมาเสพเครื่องเซ่น ปิดท้ายด้วยการแตะปากศพอีกครั้งหนึ่งด้วยวัตถุคล้ายจอบหรือผึ่งถากไม้ เป็นอันเสร็จพิธี ที่สำคัญก็คือตลอดระยะเวลาทำพิธีเปิดปากสวด  ต้องมีนักบวชอีกหลายองค์ร่วมสวดมนตร์ตามคัมภีร์ของผู้วายชนม์  จากแผ่นม้วนปาปิรุส  เพื่อช่วยปลุกวิญญาณคนตายให้หลับมาโดยเร็ว                            

ขั้นตอนสุดท้ายก็คือนำมัมมี่ศพบรรจุในโลงไม้แล้วนำไปยังห้องเก็บศพที่เตรียมไว้  โลงบรรจุมัมมีศพต้องตกแต่ง  ประดับ  แกะสลักลวดลายหรือเขียนภาพสีเป็นรูปเทวีไอซิสลเนปทิส  ทางด้านหัวและด้านท้ายโลงศพ                    

โลงศพของมัมมี่ศพบางรายนิยมเขียนภาพระบายสีเป็นสัญลักษณ์ดวงตาทั้งสองข้าง  ถือเป็นการแสดงให้เห็นว่าวิญญาณที่บรรจุอยู่ภายในโลงไม่ได้ตัดขาดจากโลกภายนอก

 

 

 

สร้างโดย: 
Sorrowena Blutenstein

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 478 คน กำลังออนไลน์