• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e9a8909d531f686310ab09cd882292d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: x-large; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\">สื่อการเรียนรู้</span></label>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><u><strong>ไฟฟ้าน่ารู้</strong></u></span></label>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><strong>จัดทำโดย</strong></span></label>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><strong>คุณครูสมชาย  น่วมกลิ่น</strong></span></label>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><strong>วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี</strong></span></label>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<label><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><strong>โรงเรียน สตรีศรีสุริโยทัย</strong></span></label>\n</p>\n<p><label><b><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-large\">         ไ</span>ฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งของ </span></i></b><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">ฟิสิกส์</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"> มาจากภาษากรีกคำว่า </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">ήλεκτρον </span><span style=\"font-size: medium\">ซึ่งในสมัยกรีกนั้นหมายถึงผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและการไหลของ</span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">ประจุไฟฟ้า</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"> เช่นเดียวกันกับอำนาจดึงดูดของ</span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">แม่เหล็ก</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"> ซึ่งมีปฏิกิริยากระทำต่อกันและกัน สิ่งนี้รู้จักกันในนามวิชาว่าด้วย</span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">แม่เหล็กไฟฟ้า</span></span></u></i></label><label><i><span style=\"font-size: medium\"> ไฟฟ้ามีหลากหลายสาขาย่อย ดังนี้</span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">:</span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"> <dir><dir><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้าศักย์</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Potential) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยเรื่องของค่าแรงดึงดูดในแต่ละงานต่างๆ มีหน่วยเป็น</span></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">โวลต์</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span></i><i><span style=\"font-size: medium\"></span><span style=\"font-size: medium\"></span></i></dir></dir></span></i></label></p>\n<p>\n<i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้ากระแส</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Current) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของการไหลในกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น</span></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">แอมแปร์</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: medium\"></span></i>\n</p>\n<p><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้าแม่เหล็ก</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Field) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยผลที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าที่พยายามออก</span></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">แรง</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">เปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง </span></span></i><i><span style=\"font-size: medium\"></span><span style=\"font-size: medium\"></span></i></p>\n<p>\n<i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้าพลังงาน</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Energy) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยพลังงานที่มีโดยเกิดจากกระแสไฟฟ้าที่กระทำต่อสื่อไฟฟ้าต่างๆ </span></span><span style=\"font-size: medium\"></span></i>\n</p>\n<p><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้ากำลัง</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Power) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยขนาดของพลังงานไฟฟ้าที่ไปทำการเปลี่ยนแปลงหรือมาจากพลังงานอื่นๆ เช่น </span></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">แสง</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">, </span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ความร้อน</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">หรือพลังงานของเครื่องกล </span></span></i><i><span style=\"font-size: medium\"></span><span style=\"font-size: medium\"></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">ไฟฟ้าประจุ</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electric Charge) : </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรดั้งเดิมของส่วนที่เล็กกว่า</span></span></i><i><u><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">อะตอม</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> ซึ่งเป็นตัวที่มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน </span></span></i><i><span style=\"font-size: medium\"><u></u></span></i></p>\n<p align=\"center\">\nไฟฟ้าคืออะไร\n</p>\n<p>ในสมัย เบนจามิน แฟรงคลิน บรรดานักวิทยาศาสาตร์ทั้งหลายพากันเชื่อว่าไฟฟ้าเป็นของไหล ชนิดหนึ่งที่สามารถมีสถานะทางไฟฟ้าทั้งบวกและลบ แต่ในปัจจุบันนี้ พวกเขากลับเชื่อกันว่า ไฟฟ้าเกิดจากอนุภาคเล็กจิ๋วที่เรียกว่า อีเลคตรอน <span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(electron) </span><span style=\"font-size: medium\">และ โปรตรอน </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Proton) </span><span style=\"font-size: medium\">อนุภาคเหล่านี้มีขนาดเล็กมากจนไม่อาจมองเห็น แต่วัสดุทุกชนิดต้องมีอนุภาคเหล่านี้อยู่ </span><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p align=\"center\">\nแรงเคลื่อนไฟฟ้า\n</p>\n<p>\nแรงเคลื่อนไฟฟ้า คือแรงดันไฟฟ้าเหนึ่ยวนำ <span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Induced Emf.) </span><span style=\"font-size: medium\">ที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยการทำให้เส้นแรงแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนค่าในหนึ่งหน่วยตามสมการไฟฟ้าต่อไปนี้</span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"><br />\n</span>\n</p>\n<p><center></center></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><i><span style=\"font-size: medium\"></span></i></p>\n<p>\nดังนั้นถ้าทำให้เส้นแรงแม่เหล็ก จำนวน <span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">1 </span><span style=\"font-size: medium\">เวเบอร์ เกิดการเปลี่ยนค่าในเวลา </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">1 </span><span style=\"font-size: medium\">นาที จะให้กำเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">1 </span><span style=\"font-size: medium\">โวลต์ </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\nการเปลี่ยนค่าสนามแม่เหล็ก ด้วยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า <span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Electro Magnetec Induction) </span><span style=\"font-size: medium\">นั้น กระทำได้ </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">2 </span><span style=\"font-size: medium\">วิธี คือ ให้</span><i><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\">ขดลวดหมุนในสนามแม่เหล็ก </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Moving Coil)</span></span></u></i><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"> </span><span style=\"font-size: medium\">และ</span></i><i><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\">สนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">(Rotating Field </span><span style=\"font-size: medium\">หรือ </span><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\">Moving Field)</span></span></u></i>\n</p>\n<p><i><span style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"></span></i></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<label></label> \n</p>\n', created = 1726832263, expire = 1726918663, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e9a8909d531f686310ab09cd882292d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน

ไฟฟ้าศักย์ (Electric Potential) : ว่าด้วยเรื่องของค่าแรงดึงดูดในแต่ละงานต่างๆ มีหน่วยเป็นโวลต์

ไฟฟ้ากระแส (Electric Current) : ว่าด้วยการเคลื่อนไหวของการไหลในกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์

ไฟฟ้าแม่เหล็ก (Electric Field) : ว่าด้วยผลที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าที่พยายามออกแรงเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่ใกล้เคียง

ไฟฟ้าพลังงาน (Electric Energy) : ว่าด้วยพลังงานที่มีโดยเกิดจากกระแสไฟฟ้าที่กระทำต่อสื่อไฟฟ้าต่างๆ

ไฟฟ้ากำลัง (Electric Power) : ว่าด้วยขนาดของพลังงานไฟฟ้าที่ไปทำการเปลี่ยนแปลงหรือมาจากพลังงานอื่นๆ เช่น แสง , ความร้อนหรือพลังงานของเครื่องกล ไฟฟ้าประจุ (Electric Charge) : ว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรดั้งเดิมของส่วนที่เล็กกว่าอะตอม ซึ่งเป็นตัวที่มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน

ไฟฟ้าคืออะไร

ในสมัย เบนจามิน แฟรงคลิน บรรดานักวิทยาศาสาตร์ทั้งหลายพากันเชื่อว่าไฟฟ้าเป็นของไหล ชนิดหนึ่งที่สามารถมีสถานะทางไฟฟ้าทั้งบวกและลบ แต่ในปัจจุบันนี้ พวกเขากลับเชื่อกันว่า ไฟฟ้าเกิดจากอนุภาคเล็กจิ๋วที่เรียกว่า อีเลคตรอน (electron) และ โปรตรอน (Proton) อนุภาคเหล่านี้มีขนาดเล็กมากจนไม่อาจมองเห็น แต่วัสดุทุกชนิดต้องมีอนุภาคเหล่านี้อยู่

แรงเคลื่อนไฟฟ้า

แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือแรงดันไฟฟ้าเหนึ่ยวนำ (Induced Emf.) ที่เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยการทำให้เส้นแรงแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนค่าในหนึ่งหน่วยตามสมการไฟฟ้าต่อไปนี้

 

ดังนั้นถ้าทำให้เส้นแรงแม่เหล็ก จำนวน 1 เวเบอร์ เกิดการเปลี่ยนค่าในเวลา 1 นาที จะให้กำเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1 โวลต์

 

การเปลี่ยนค่าสนามแม่เหล็ก ด้วยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnetec Induction) นั้น กระทำได้ 2 วิธี คือ ให้ขดลวดหมุนในสนามแม่เหล็ก (Moving Coil) และสนามแม่เหล็กหมุนในขดลวด (Rotating Field หรือ Moving Field)

 

 

 

 

สร้างโดย: 
คุณครูสมชาย น่วมกลิ่น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 440 คน กำลังออนไลน์