• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f6b8dce7a9a59f6e83875ac3ef2067d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ชาวบ้านบางระจัน (กลุ่มวีรชนผู้กล้า)</p>\n<p>ชาวบ้านบางระจัน เป็นกลุ่มบุคคลที่ถือเป็นตัวอย่างบุคคลสำคัญในภาคกลาง ซึ่งได้รับการยกย่องว่า เป็นกลุ่มบุคคลผู้กล้าหาญและเสียสละชีวิตต่อชาติบ้านเมือง&nbsp;ประวัติในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ก่อนจะเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 พระเจ้ามังระกษัตริย์พม่าได้ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาโดยได้ยกกองทัพมา 2 ทาง คือ ทางเมืองกาญจนบุรีและทางเมืองตาก โดยมีเนเมียวสีหบดีและมังมหานรธาเป็นแม่ทัพ โดยทัพแรกให้เนเนียวสีหบดีเป้นแม่ทัพยกมาตีหัวเมืองฝ่ายเหนือของกรุงศรีอยุธยาแล้วให้ย้อนกลับมาตีกรุงศรีอยุธยา ส่วนทัพที่ 2 มอบให้มหานรธาเป็นแม่ทัพยกมาตีเมืองทวายและกาญจนบุรี แล้วให้ยกกองทัพมาสมทบกับเนเมียวสีหบดีเพื่อล้อมกรุงศรีอยุธยาพร้อมกัน&nbsp;ทัพของเนเมียวสีหบดีได้มาตั้งค่ายอยู่ที่เมืองวิเศษไชยชาญ แล้วให้ทหารออกปล้นสะดมทรัพย์สมบัติ เสบียงอาหาร และข่มเหงราษฎรไทย จนชาวเมืองวิเศษไชยชาญไม่สามารถถอดทนต่อการข่มเหงของพวกพม่าได้ กลุ่มชาวบ้านที่บางระจันประกอบด้วย นายแท่น นายโชติ นายอิน นายเมือง นายดอกและนายทองแก้ว จึงได้รวบรวมชาวบ้านต่อสู้กับพม่า โดยได้อัญเชิญพระอาจารย์ธรรมโชติจากสำนักวัดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งชาวบ้านให้ความเคารพศรัทธาให้มาช่วยคุ้มครองและมาร่วมให้กำลังใจ และได้มีบุคคลชั้นหัวหน้าเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ ขุนสวรรค์ นายจันหนวดเขี้ยว นายทองเหม็น นายทองแสงใหญ่ และพันเรือง เมื่อมีชาวบ้านอพยพเข้ามามากขึ้น จึงช่วยกันตั้งค่ายบางระจันขึ้น เพื่อต่อสู้ขัดขวางการรุกรานของพม่าวีรกรรมสำคัญชาวบ้านบางระจันรวบรวมชาวบ้านได้จำนวนมาก จึงตั้งค่ายสู้รบกับพม่า โดยมีกลุ่มผู้นำรวม 11 คน พม่าได้พยายามเข้าตีค่ายบางระจันถึง 7 ครั้ง แต่ก็ไม่สำเร็จ&nbsp;ในที่สุดสุกี้ซึ่งเป็นพระนายกองของพม่าได้อาสาปราบชาวบ้านบางระจัน โดยตั้งค่ายประชิดค่ายบางระจัน แล้วใช้ปืนใหญ่ยิงเข้าไปในค่ายแทนการสู้ <br />รบกันกลางแจ้ง ทำให้ชาวบ้านเสียชีวิตไปจำนวนมาก&nbsp;ชาวบ้านบางระจันไม่มีปืนใหญ่ยิงตอบโต้ฝ่ายพม่า จึงมีใบบอกไปทางกรุงศรีอยุธยาให้ส่งปืนใหญ่มาให้ แต่ทางกรุงศรีอยุธยาไม่กล้าส่งมาให้ เพราะเกรงว่าจะถูกฝ่ายพม่าดักปล้นระหว่างทาง ชาวบ้านจึงช่วยกันหล่อปืนใหญ่ โดยบริจาคของใช้ทุกอย่างที่ทำด้วยทองเหลืองมาหล่อปืนได้สองกระบอก แต่พอทดลองนำไปยิง ปืนก็แตกร้าวจนใช้การไม่ได้&nbsp;ถึงแม้ว่าไม่มีปืนใหญ่ ชาวบ้านบางระจันก็ยังคงยืนหยัดต่อสู้กับพม่า ต่อไปจนกระทั่งวันแรม 2 ค่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2309 ค่ายบางระจันก็ถูกพม่าตีแตก และสามารถยึดค่ายไว้ได้ หลังจากที่ยืนหยัดต่อสู้กับข้าศึกมานานถึง 5 เดือน&nbsp;จากวีรกรรมของชาวบ้านบางระจันทำให้ได้รับการยกย่องว่า เป็นวีรกรรมของคนไทยที่มีคุณค่าอย่างยิ่งในการเสียสละชีวิตให้แก่ชาติบ้านเมือง และแสดงให้เห็นถึงความสามัคคีและความกล้าหาญของคนไทยในการต่อสู้กับข้าศึก และถือเป็นแบบอย่างที่ดีของอนุชนรุ่นหลัง ทางราชการจึงได้สร้างอนุสาวรีย์วีรขนค่ายบางระจันเป็นรูปหล่อวีรชนที่เป็นหัวหน้าทั้ง 11 คน ขึ้น บริเวณหน้าค่ายบางระจัน อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี เพื่อเป็นอนุสรณ์สืบต่อไป<br /> <br />ที่มา : <a href=\"http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1821-00/\" title=\"http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1821-00/\">http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1821-00/</a><br /><br /></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/j9yVWy3UyE8\" frameborder=\"0\" width=\"425\" height=\"350\"></iframe></p>\n<p style=\"text-align: left;\">ที่มา :&nbsp;https://www.youtube.com/watch?v=j9yVWy3UyE8</p>\n<p style=\"text-align: left;\">จัดทำโดย นางสาวพรรษา สุวรรณโคตร</p>\n', created = 1720157076, expire = 1720243476, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f6b8dce7a9a59f6e83875ac3ef2067d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติ บางระจัน

รูปภาพของ kthpansa

ชาวบ้านบางระจัน (กลุ่มวีรชนผู้กล้า)

ชาวบ้านบางระจัน เป็นกลุ่มบุคคลที่ถือเป็นตัวอย่างบุคคลสำคัญในภาคกลาง ซึ่งได้รับการยกย่องว่า เป็นกลุ่มบุคคลผู้กล้าหาญและเสียสละชีวิตต่อชาติบ้านเมือง ประวัติในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ก่อนจะเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 พระเจ้ามังระกษัตริย์พม่าได้ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาโดยได้ยกกองทัพมา 2 ทาง คือ ทางเมืองกาญจนบุรีและทางเมืองตาก โดยมีเนเมียวสีหบดีและมังมหานรธาเป็นแม่ทัพ โดยทัพแรกให้เนเนียวสีหบดีเป้นแม่ทัพยกมาตีหัวเมืองฝ่ายเหนือของกรุงศรีอยุธยาแล้วให้ย้อนกลับมาตีกรุงศรีอยุธยา ส่วนทัพที่ 2 มอบให้มหานรธาเป็นแม่ทัพยกมาตีเมืองทวายและกาญจนบุรี แล้วให้ยกกองทัพมาสมทบกับเนเมียวสีหบดีเพื่อล้อมกรุงศรีอยุธยาพร้อมกัน ทัพของเนเมียวสีหบดีได้มาตั้งค่ายอยู่ที่เมืองวิเศษไชยชาญ แล้วให้ทหารออกปล้นสะดมทรัพย์สมบัติ เสบียงอาหาร และข่มเหงราษฎรไทย จนชาวเมืองวิเศษไชยชาญไม่สามารถถอดทนต่อการข่มเหงของพวกพม่าได้ กลุ่มชาวบ้านที่บางระจันประกอบด้วย นายแท่น นายโชติ นายอิน นายเมือง นายดอกและนายทองแก้ว จึงได้รวบรวมชาวบ้านต่อสู้กับพม่า โดยได้อัญเชิญพระอาจารย์ธรรมโชติจากสำนักวัดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งชาวบ้านให้ความเคารพศรัทธาให้มาช่วยคุ้มครองและมาร่วมให้กำลังใจ และได้มีบุคคลชั้นหัวหน้าเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ ขุนสวรรค์ นายจันหนวดเขี้ยว นายทองเหม็น นายทองแสงใหญ่ และพันเรือง เมื่อมีชาวบ้านอพยพเข้ามามากขึ้น จึงช่วยกันตั้งค่ายบางระจันขึ้น เพื่อต่อสู้ขัดขวางการรุกรานของพม่าวีรกรรมสำคัญชาวบ้านบางระจันรวบรวมชาวบ้านได้จำนวนมาก จึงตั้งค่ายสู้รบกับพม่า โดยมีกลุ่มผู้นำรวม 11 คน พม่าได้พยายามเข้าตีค่ายบางระจันถึง 7 ครั้ง แต่ก็ไม่สำเร็จ ในที่สุดสุกี้ซึ่งเป็นพระนายกองของพม่าได้อาสาปราบชาวบ้านบางระจัน โดยตั้งค่ายประชิดค่ายบางระจัน แล้วใช้ปืนใหญ่ยิงเข้าไปในค่ายแทนการสู้
รบกันกลางแจ้ง ทำให้ชาวบ้านเสียชีวิตไปจำนวนมาก ชาวบ้านบางระจันไม่มีปืนใหญ่ยิงตอบโต้ฝ่ายพม่า จึงมีใบบอกไปทางกรุงศรีอยุธยาให้ส่งปืนใหญ่มาให้ แต่ทางกรุงศรีอยุธยาไม่กล้าส่งมาให้ เพราะเกรงว่าจะถูกฝ่ายพม่าดักปล้นระหว่างทาง ชาวบ้านจึงช่วยกันหล่อปืนใหญ่ โดยบริจาคของใช้ทุกอย่างที่ทำด้วยทองเหลืองมาหล่อปืนได้สองกระบอก แต่พอทดลองนำไปยิง ปืนก็แตกร้าวจนใช้การไม่ได้ ถึงแม้ว่าไม่มีปืนใหญ่ ชาวบ้านบางระจันก็ยังคงยืนหยัดต่อสู้กับพม่า ต่อไปจนกระทั่งวันแรม 2 ค่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2309 ค่ายบางระจันก็ถูกพม่าตีแตก และสามารถยึดค่ายไว้ได้ หลังจากที่ยืนหยัดต่อสู้กับข้าศึกมานานถึง 5 เดือน จากวีรกรรมของชาวบ้านบางระจันทำให้ได้รับการยกย่องว่า เป็นวีรกรรมของคนไทยที่มีคุณค่าอย่างยิ่งในการเสียสละชีวิตให้แก่ชาติบ้านเมือง และแสดงให้เห็นถึงความสามัคคีและความกล้าหาญของคนไทยในการต่อสู้กับข้าศึก และถือเป็นแบบอย่างที่ดีของอนุชนรุ่นหลัง ทางราชการจึงได้สร้างอนุสาวรีย์วีรขนค่ายบางระจันเป็นรูปหล่อวีรชนที่เป็นหัวหน้าทั้ง 11 คน ขึ้น บริเวณหน้าค่ายบางระจัน อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี เพื่อเป็นอนุสรณ์สืบต่อไป

ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1821-00/

ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=j9yVWy3UyE8

จัดทำโดย นางสาวพรรษา สุวรรณโคตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 616 คน กำลังออนไลน์