• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5531909af33cb5692b91472f2dfe7859' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 style=\"text-align: center;\" align=\"center\"><strong>การคายน้ำของพืช</strong></h1>\n<p align=\"center\"><img src=\"http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/image2555/image_1/378.jpg\" alt=\"\" width=\"188\" height=\"74\" border=\"0\" /></p>\n<p><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>&nbsp;การคายน้ำ ( transpiration ) เป็นการแพร่ของน้ำออกไปทางปากใบ ซึ่งจะเกิดมากในตอนกลางวันที่อุณหภูมิ อากาศมีความชื้นน้อย การคายน้ำจะส่งผลให้เกิดแรงดึงน้ำจากส่วนล่างของลำต้นขึ้นไปสู่ส่วนที่อยู่สูงกว่า ช่วยลดอุณหภูมิที่ใบ พืชถ้าคายน้ำมากเกินไปจะทำให้ใบเหี่ยว ทำให้พืชเจริญช้าลง&nbsp;<br /><br />&nbsp; <strong>ลักษณะการลำเลียงน้ำของต้นพืช</strong></p>\n<ul>\n<li>ปากใบเปิดเวลากลางวัน</li>\n<li>น้ำระเหยออกไปทางปากใบ</li>\n<li>น้ำในเซลล์ใบน้อยลง</li>\n<li>ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์ใบมาก</li>\n<li>น้ำแพร่เข้าสู่เซลล์ของใบ</li>\n<li>น้ำแพร่เข้าสู่รากและถูกส่งต่อผ่านลำต้นไปยังใบตลอดเวลา</li>\n</ul>\n<p>&nbsp; &nbsp;<strong>ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้ำของพืช</strong></p>\n<ol>\n<li>ชนิดของพืช พืชที่มีปากใบมากก็จะคายน้ำน้ำมาก แต่ถ้าพืชบางชนิดมีปากใบน้อย ก็จะมีการคายน้ำน้อย</li>\n<li>อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูงพืชจะมีการคายน้ำได้ดีกว่าช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิต่ำ</li>\n<li>ความชื้นของอากาศ ในช่วงที่อากาศมีความชื้นมากพืชจะมีการคายน้ำได้น้อย</li>\n<li>แสงสว่าง ถ้ามีมากเกินไปปากใบพืชจะเปิด ทำให้มีการคายน้ำมาก</li>\n<li>ลม เนื่องจากลมจะพัดไอน้ำบริเวณผิวใบไป ทำให้เพิ่มความแตกต่างของพลังงาน ที่ทำงานได้ของไอน้ำ</li>\n</ol>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; อัตราการคายน้ำจึงสูงขึ้นเพื่อปรับให้เกิดความสมดุลมากขึ้นระหว่างภายในใบและผิวใบ แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าลมแรงมากอัตราการคายน้ำจะลดลงเพราะปากใบพืชจะปิด เนื่องจากปัจจัยทางกลของพืชกระตุ้นให้ปากใบปิด&nbsp;<br /><br />&nbsp; &nbsp; <strong>&nbsp;ประโยชน์ของการคายน้ำ&nbsp;</strong><br /><br />&nbsp; &nbsp;1. ช่วยให้เกิดการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร&nbsp;<br />&nbsp; &nbsp;2. ช่วยลดอุณหภูมิภายในลำต้น&nbsp;<br />&nbsp; &nbsp;3. ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นภายในผิวใบ&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left;\"><iframe style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"http://www.youtube.com/embed/AE5BbLoxzCw\" frameborder=\"0\" width=\"432\" height=\"195\"></iframe></p>\n<p style=\"text-align: left;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=AE5BbLoxzCw\" title=\"www.youtube.com/watch?v=AE5BbLoxzCw\">www.youtube.com/watch?v=AE5BbLoxzCw</a></p>\n', created = 1728195757, expire = 1728282157, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5531909af33cb5692b91472f2dfe7859' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การคายน้ำของพืช

รูปภาพของ anguraiwan

การคายน้ำของพืช

      การคายน้ำ ( transpiration ) เป็นการแพร่ของน้ำออกไปทางปากใบ ซึ่งจะเกิดมากในตอนกลางวันที่อุณหภูมิ อากาศมีความชื้นน้อย การคายน้ำจะส่งผลให้เกิดแรงดึงน้ำจากส่วนล่างของลำต้นขึ้นไปสู่ส่วนที่อยู่สูงกว่า ช่วยลดอุณหภูมิที่ใบ พืชถ้าคายน้ำมากเกินไปจะทำให้ใบเหี่ยว ทำให้พืชเจริญช้าลง 

  ลักษณะการลำเลียงน้ำของต้นพืช

  • ปากใบเปิดเวลากลางวัน
  • น้ำระเหยออกไปทางปากใบ
  • น้ำในเซลล์ใบน้อยลง
  • ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์ใบมาก
  • น้ำแพร่เข้าสู่เซลล์ของใบ
  • น้ำแพร่เข้าสู่รากและถูกส่งต่อผ่านลำต้นไปยังใบตลอดเวลา

   ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้ำของพืช

  1. ชนิดของพืช พืชที่มีปากใบมากก็จะคายน้ำน้ำมาก แต่ถ้าพืชบางชนิดมีปากใบน้อย ก็จะมีการคายน้ำน้อย
  2. อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูงพืชจะมีการคายน้ำได้ดีกว่าช่วงเวลาที่มีอุณหภูมิต่ำ
  3. ความชื้นของอากาศ ในช่วงที่อากาศมีความชื้นมากพืชจะมีการคายน้ำได้น้อย
  4. แสงสว่าง ถ้ามีมากเกินไปปากใบพืชจะเปิด ทำให้มีการคายน้ำมาก
  5. ลม เนื่องจากลมจะพัดไอน้ำบริเวณผิวใบไป ทำให้เพิ่มความแตกต่างของพลังงาน ที่ทำงานได้ของไอน้ำ

      อัตราการคายน้ำจึงสูงขึ้นเพื่อปรับให้เกิดความสมดุลมากขึ้นระหว่างภายในใบและผิวใบ แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าลมแรงมากอัตราการคายน้ำจะลดลงเพราะปากใบพืชจะปิด เนื่องจากปัจจัยทางกลของพืชกระตุ้นให้ปากใบปิด 

     ประโยชน์ของการคายน้ำ 

   1. ช่วยให้เกิดการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร 
   2. ช่วยลดอุณหภูมิภายในลำต้น 
   3. ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นภายในผิวใบ 

                                                    www.youtube.com/watch?v=AE5BbLoxzCw

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 439 คน กำลังออนไลน์