• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b969227d846c1a62c4416dff9d031a12' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<span style=\"color: #993300; font-size: medium\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span></span></o:p></span></span><span style=\"color: #993300; font-size: medium\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 0pt; background: #f8fcff\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 0pt; background: #f8fcff\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-indent: 0.5in; margin: 0in 0in 0pt; background: #f8fcff\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: andale mono,times\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #ff9900\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\">วรรณคดีไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">   <span style=\"color: #993366\">ไตรภูมิพระร่วง </span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ประวัติ</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>      </span>ไตรภูมิพระร่วง เป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาลิไทซึ่งแต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">1888 </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">โดยมีพระประสงค์<br />\nที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อจำเริญพระอภิธรรม ไตรภูมิพระร่วงเป็นหลักฐานชิ้นหนึ่ง</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">ที่แสดงให้เห็นถึง<br />\nพระปรีชาสามารถอย่างลึกซึ้ง ในด้านพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชาลิไทที่ทรงรวบรวมข้อความต่างๆ <br />\nในคัมภีร์พระพุทธศาสนา นับแต่พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์พิเศษต่างๆ มาเรียบเรียงขึ้น</span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">เป็น<br />\nวรรณคดีโลกศาสตร์เล่มแรกที่แต่งเป็นภาษาไทยเท่าทีมีหลักฐานอยู่ในปัจจุบันนี้ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><br />\nเนื้อหา</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span>           </span>ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมทางพุทธศาสนาที่กล่าวถึงภูมิ (แดน) ทั้งสาม คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งเหล่านี้มีเขาพระสุเมรุ<br />\nเป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้นตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม ทิวเขามีชื่อต่างๆดังนี้ </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">1. <span lang=\"TH\">ยุคนธร </span>2. </span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\">อิสินธร <br />\n</span>3. <span lang=\"TH\">กรวิก </span>4. <span lang=\"TH\">สุทัศน์ </span>5. <span lang=\"TH\">เนมินธร </span>6. <span lang=\"TH\">วินันตก และ</span>7.<span lang=\"TH\">อัศกรรณ ซึ่งเป็นเขารอบนอกสุด ทิวเขาเหล่านี้รวมเรียกว่าเขา</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">สัตตบริภัณฑ์ ส่วนทะเลที่รายล้อมอยู่ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">7<span lang=\"TH\"> ชั้น เรียกว่า มหานทีสีทันดร ถัดจากทิวเขาอัศกรรณออกมาเป็นมหาสมุทรอยู่ทั่วทุกด้าน แล้วจะมีภูเขาเหล็กกั้นทะเลนี้ไว้รอบเรียกว่า ขอบจักรวาล พ้นไปนอกนั้นเป็นนอกขอบจักรวาล </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span> <span style=\"color: #e9489f\">  </span></span></span></b></span></span></o:p></span></p>\n<p></p></span></span><span style=\"color: #e9489f\">นรกภูมิ</span></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     </span>นรกภูมิ<span>  </span>มีนรกใหญ่ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">8<span lang=\"TH\"> ขุม คือ สัญชีพนรก กาลสูตนรก สังฆาฏนรก โรรุพนรก ตาปนรก มหาตาปนรก </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">มหาอเวจีนรก มหาโรรุพนรก สัตว์ที่เกิดในนรกแห่งนี้มีอายุยืนนานนับไม่ถ้วน สัตว์นรกขุมแรกมีอายุยืนได้ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">500<span lang=\"TH\"> ปี </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">(1<span lang=\"TH\"> วันกับ </span>1<span lang=\"TH\"> คืนของเมืองนรกเท่ากับ </span>9</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> ล้านปีของเมืองมนุษย์) ส่วนสัตว์นรกที่อยู่ขุมถัดไปมีอายุนับทวีคูณจำนวนปี<br />\nของขุมนรกแรก</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     </span>นรก </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">8<span lang=\"TH\"> ขุมนี้ มีกำแพงเหล็กแดงลุกเป็นไฟอยู่เสมอล้อมเป็นสี่เหลี่ยม พื้นบนและพื้นล่างก็เป็นเหล็กแดงที่</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">ลุกเป็นไฟ กำแพงทั้ง </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">4<span lang=\"TH\"> ด้าน ยาวด้านละ </span>1,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ หนา </span>9<span lang=\"TH\"> โยชน์ มีประตูเข้า </span>4<span lang=\"TH\"> ประตู ส่วนพื้นบนและพื้นล่างมีความหนา </span>9<span lang=\"TH\"> โยชน์ นรกใหญ่แต่ละขุมมีนรกบริวารหรือนรกบ่าวล้อมอยู่ด้านละ </span>4<span lang=\"TH\"> ขุม นรกใหญ่ขุมหนึ่งจึงมีนรกบ่าว </span>16<span lang=\"TH\"> ขุม นรกใหญ่ </span>8</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> ขุม<br />\nจึงมีนรกบ่าวทั้งหมด </span>136<span lang=\"TH\"> ขุม และก็มีนรกเล็กๆ น้อยๆ อีกจำนวนนับไม่ถ้วน นรกบ่าวทั้ง </span>16</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"> ขุมรวมเรียกชื่อว่า อุสุทธ <br />\n(อุสสทนรก) นรกโลกันต์   </span></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ยมบาล หรือผู้ดูแลนรกเฝ้าประตูนรกไว้ มีพระยายมราชเป็นผู้ทรงธรรมเที่ยงตรงเป็นใหญ่เหนือยมบาลทั้งหลาย หน้าที่ของพระยายมราชคือสอบสวนบุญบาปของมนุษย์ที่ตายไป หากทำบุญก็จะได้ขึ้นสวรรค์ทำบาปก็จะตกนรก </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #e9489f\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>   \n<p></p></span>ติรัจฉานภูมิ</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>      </span>ติรัจฉานติภูมิ หรือเดรัจฉานติภูมิ คือแดนของเดียรฉาน แปลว่าตามขวางหรือตามเส้นนอนตรงกันข้ามกับคน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ซึ่งไปตัวตรง ดังนั้นสัตว์เดรัจฉานก็หมายถึงสัตว์ที่ไปไหนมาไหนต้องคว่ำอก<span>  </span>สัตว์ที่เกิดมาในแดนเดรัจฉาน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span> </span>มีเกิดจากไข่ (อัณฑชะ) จากมีรกอันห่อหุ้ม(ชลาพุชะ) จากใบไม้และเหงื่อไคล(สังเสทชะ) เกิดเป็นตัวขึ้นเองและ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">โตทันที(อุปปาติกะ) สัตว์เดรัจฉานนั้นมีความเป็นอยู่ </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">3</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> ประการ คือ รู้สืบพันธุ์ รู้กิน รู้ตาย เรียกเป็นศัพท์ว่า กามสัญญา อาหารสัญญา และมรณสัญญา ส่วนคนนั้นเพิ่มอีกสัญญาหนึ่งคือ ธธมสัญญา คือรู้จักการทำมาหากิน รู้บาปบุญ หรือ<br />\nตรงกับคำว่าวัฒนธรรมนั้นเอง สัตว์ที่กล่าวในแดนเดรัจฉานหลักๆก็มีดังนี้ </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">   </span></span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">- </span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\">ราชสีห์ เป็นสัตว์จำพวกเดียวกับสิงโต ไม่มีตัวตนจริงอยู่ในโลกนี้แต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวรรณคดีเท่านั้น -ช้างแก้ว <br />\nอาศัยอยู่ที่ถ้ำทองว่ากันว่าพระพุทธเจ้าเคยเสวยพระชาติเคยไปเกิดเป็นช้างนี้อยู่หนึ่งชาติ </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">   -<span lang=\"TH\">ปลา ในแดนเดรัจฉานนี้ปลาที่อาศัยอยู่ที่นี้จะมีขนาดใหญ่มาก ตัวที่เล็กสุดก็ยังยาวถึง </span>75<span lang=\"TH\"> โยชน์ ตัวที่ใหญ่</span></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ก็ยาวถึง<br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">5,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ ปลาที่รู้จักกันดีคือ พญาปลาอานนท์ ซึ่งหนุนชมพูทวีปอยู่ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\">    </span></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">- <span lang=\"TH\">ครุฑ<span>  </span>อาศัยอยู่ที่ตามฝั่งสระใหญ่ชื่อสิมพลีสระที่ตีนเขาพระสุเมรุหรือสระต้นงิ้ว กว้างได้ </span>500</span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"> โยชน์<br />\nพระยาครุฑ</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">ที่เป็นหัวหน้าตัวโต </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">50<span lang=\"TH\"> โยชน์ ปีกยาวอีก </span>50<span lang=\"TH\"> โยชน์ ปากยาว </span>9<span lang=\"TH\"> โยชน์ ตีนทั้งสองยาว </span>12</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> โยชน์ ครุฑกินนาค<br />\nเป็นอาหาร และเป็นพาหนะของพระนารายณ์ - นาค หรืองูมีหงอนและมีตีน นาคมีสองชนิด คือ ถลชะ หรือนาคที่เกิด<br />\nบนบก และ ชลชะ หรือนาคที่เกิดในน้ำ นาคถลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดานางฟ้าได้แต่บนบก นาคชลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดานางฟ้าได้แต่ในน้ำเท่านั้น เรื่องนาคเป็นที่รู้จักกันดีในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือเป็นบรรพบุรุษของชนชาติต่างๆ เช่น เขมร ลาว มอญ - หงส์ อาศัยอยู่ที่ถ้ำทองบนเขาคิชฌกูฏหรือเขายอดนกแร้ง หงส์เป็นพาหนะของพระพรหม<span>  </span>เปรตภูมิ</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     - </span>เปรต เป็นผีเลวชนิดหนึ่ง ในไตรภูมิบรรยายรูปร่างของเปรตไว้ว่า เปรตบางชนิดมีตัวใหญ่ ปากเท่ารูเข็ม เปรตบางชนิดก็ตัวผอมไม่มีเนื้อหนังมังสา ตาลึกกลวง และร้องไห้ตลอดเวลา แต่ก็มีเปรตบางชนิดที่ตัวงามเป็นทอง แต่ปากเป็นหมูและเหม็นมาก สรุปรวมๆแล้วก็คือเมื่อตอนเป็นคนแล้วทำบาปอย่างใดเมื่อตายไปก็จะเป็นเปรตตามที่ทำบาปไว้<span>  </span>เปรตนั้นมีโอกาสดีกว่าสัตว์นรก เนื่องจากสามารถออกมาขอบุญกุศลจากการทำบุญของมนุษย์ได้ \n<p>อสูร<b>กายภูมิ</b></p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     - </span>อสูร แปลตรงตัวว่า ผู้ไม่ใช่สุระหรือไม่ใช่พวกเทวดาที่มีพระอินทร์เป็นหัวหน้า เดิมพวกอสูรมีเมืองอยู่บนเขา</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\">พระสุเมรุหรือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั่นเอง ภายหลังพวกเทวดาคิดอุบายมอมเหล้าพวกอสูรเมาจนไม่ได้สติ แล้วพวกเทวดาก็ช่วยกันถีบอสูรให้ตกเขาพระสุเมรุดิ่งจมลงใต้ดิน เมื่ออสูรสร่างเมาได้สติแล้วก็สำนึกตัวได้ว่า เป็นเพราะกินเหล้ามากจนเมามายจึงต้องเสียบ้านเมืองให้กับพวกเทวดาจึงเลิกกินเหล้าแล้วไปสร้างเมืองใหม่ใต้บาดาลเรียกว่า อสูรภพ<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #e9489f\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><br />\n<span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><br />\nอสูรภพ</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     </span>พวกอสูรกายมีบ้านเมืองเป็นของตนเอง เรียกว่าอสูรภพ อยู่ลึกใต้ดินไป </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">84,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ เป็นบ้านเมืองงดงามมาก</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">เต็มไปด้วยแผ่นทองคำ คือบ้านเมืองของอสูรนี้จะมีเหมือนสวรรค์ของเทวดา เช่น กลางสวรรค์มีต้นปาริชาติ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">กลางเมืองอสูรก็มีต้นแคฝอย เมืองอสูรมีเมืองใหญ่อยู่ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">4<span lang=\"TH\"> เมืองโดยมีพระยาอสูรปกครองอยู่ทุกเมือง ในบรรดาอสูร</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">มีอยู่ตนหนึ่งมีอำนาจมากชื่อว่า ราหู</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     </span>อสูรราหูมีหน้าตาหัวหูที่ใหญ่โตมากกว่าเหล่าเทวดาทั้งหลายในสวรรค์ ราหูมีความเกลียดชังพระอาทิตย์และพระจันทร์มาก ในวันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเดือนงามและวันเดือนดับ ราหูจะขึ้นไปนั่งอยู่บนเขายุคนธรอันเป็นทิวเขาทิวแรกที่ล้อมเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดา ราหูจะคอยให้พระอาทิตย์หรือพระจันทร์ผ่านมา เพื่อที่จะคอยอ้าปากอันกว้างใหญ่อมเอาพระจันทร์หรือพระอาทิตย์หายลบไป บางครั้งก็เอานิ้วมือบังไว้บ้าง เอาไว้ใต้คางบ้าง เหตุการณ์เหล่านี้เรียกกันว่า สุริยคราสและจันทรคราสเรื่องราวที่เป็นเหตุทำให้ราหูมีความเกลียดชังพระอาทิตย์และพระจันทร์ก็คือ มีการกวนเกษียรสมุทร</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ของเหล่าบรรดาเทวดาและอสูรเพื่อทำน้ำอมฤต เมื่อกวนสำเร็จแล้วเทวดาก็ไม่ยอมให้เหล่าอสูรกิน <br />\nแต่ราหูปลอมเป็นเทวดาเข้าไปกินน้ำอมฤตกับเทวดาด้วย พระอาทิตย์และพระจันทร์เห็นจึงไปฟ้องพระวิษณุว่าราหูปลอมตัวเป็นเทวดามากินน้ำอมฤต พระวิษณุทรงขว้างจักรแก้วไปตัดตัวราหูออกเป็นสองท่อนแต่ราหูไม่ตายเพราะได้กินน้ำอมฤตไปแล้ว ครึ่งตัวท่อนบนจึงเป็นราหูอยู่ แต่ครึ่งตัวท่อนล่างกลายเป็นอสูรอีกตัวหนึ่งชื่อเกตุ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #e9489f\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><br />\n<span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><br />\nมนุษยภูมิ</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span>     </span>กล่าวถึงฝูงสัตว์อันเกิดในมนุษยภูมิ มีกำเนิดดังนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิสนธิในครรภ์มารดาก็เริ่มก่อตัวเป็นกัลละ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">กัลละมีรูปร่างโปร่งเหลวเหมือนน้ำหรือเหมือนเมือกตม เป็นคำที่ใช้เฉพาะสิ่งที่ห่อหุ้มก่อกำเนิดเป็นคนเท่านั้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">กัลละที่ก่อเป็นตัวเด็กขึ้นมานี้ตามวิทยาศาสตร์กล่าวเรียกว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">\'cell\' <span lang=\"TH\">เมื่อเวลาผ่านไปก็เกิดกลายเป็นตัวเด็กขึ้นนั่งกลางท้องแม่และเอาหลังมาชนท้องแม่ มีสายสะดือเป็นตัวส่งอาหารที่แม่กินเข้าไปให้แก่เด็ก เด็กที่นั่งอยู่กลางท้องแม่นั้นจะนั่งอยู่เวลาประมาณ </span>8-10<span lang=\"TH\"> เดือน แล้วจึงคลอดจากท้องแม่บุตรที่เกิดมาในไตรภูมิแบ่งได้เป็น </span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"> สิ่ง คือ</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span>  <br />\n             </span>- อภิชาตบุตร เป็นคนเฉลียวฉลาดมีรูปงามหรือมั่งมียศยิ่งกว่าพ่อแม่</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span>   <br />\n             </span>- อนุชาตบุตร มีเพียงพ่อแม่ </span></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>                               <br />\n             </span>- <span lang=\"TH\">อวชาติบุตร ด้อยกว่าพ่อแม่ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> \n<p></p></span></o:p></span><span style=\"color: #cc99ff\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #e9489f\">ฉกามาพจรภูมิ</span> </span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\">     </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ฉกามาพจรภูมิ<span>  </span>คือ ดินแดนสวรรค์ทั้ง </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">6<span lang=\"TH\"> ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชิกภูมิ ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ปรนิมมิตวสวัตต<span>  </span>วรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกภูมิ เป็นสวรรค์ชั้นแรก สูงจากพื้นโลกได้ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">46,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><b><span style=\"color: #e9489f\"><br />\n<span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">\n<p>จาตุมหาราชิกภูมิ</p></span></span></b><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">   แปลว่าแดนแห่ง </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">4<span lang=\"TH\"> มหาราช สวรรค์ชั้นนี้ตั้งอยู่เหนือเทือกเขายุคนธรอันเป็นเทือกเขาแรกที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">บนเทือกเขายุคนธรทั้ง </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">4<span lang=\"TH\"> ทิศ มีเมืองใหญ่ </span>4</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> เมือง เมืองที่อยู่ทางทิศตะวันออกของเขาพระสุเมรุมีท้าวธตรฐเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือคนธรรพ์ (เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง ครึ่งเทวดาครึ่งมนุษย์ เป็นนักดนตรีและชอบผู้หญิง) <br />\nเมืองที่อยู่ทางทิศตะวันตกของเขาพระสุเมรุมีท้าววิรูปักษ์เป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือนาค เมืองที่อยู่ทางทิศใต้ของ</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">เขาพระสุเมรุ</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">มีท้าววิรุฬหกเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือพวกกุมภัณฑ์ (เป็นยักษ์จำพวกหนึ่ง มีท้องใหญ่และมีอัณฑะเหมือนหม้อ) เมืองที่อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุมีท้าวไพศรพเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือพวกยักษ์ ท้าวมหาราชทั้ง </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">4<span lang=\"TH\"> นี้เรียกรวมๆว่า จตุโลกบาลทั้ง </span>4<span lang=\"TH\"> คือผู้ดูแลรักษาโลกทั้ง </span>4<span lang=\"TH\"> ทิศสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ชั้นที่ </span>2<span lang=\"TH\"> สูงจากสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกภูมิได้ </span>46,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้นตั้งอยู่เหนือจอมเขาพระสุเมรุ มีนครไตรตรึงส์อยู่ตรงกลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นเมืองของพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่แก่เทวดาทั้งหลาย เมืองพระอินทร์กว้างได้ </span>8,000,000<span lang=\"TH\"> วา มีปรางค์ปราสาทแก้ว มีกำแพงแก้ว มีประตูทองประดับด้วยแก้ว </span>7<span lang=\"TH\"> ประการ เมื่อเปิดประตูจะได้ยินเสียงดนตรีไพเราะ กลางนครไตรตรึงส์นี้มีไพชยนต์วิมานหรือปราสาทที่ประทับของพระอินทร์ สูง </span>25,600,000<span lang=\"TH\"> วา ประดับด้วยสัตตพิพิธรัตนะหรือแก้ว </span>7<span lang=\"TH\"> ประการที่งดงามมาก ไพชยนต์วิมานนั้นประกอบด้วยเชิงชั้นชาลา </span>100<span lang=\"TH\"> ชาลา แต่ละชาลามีวิมานได้ </span>700<span lang=\"TH\"> วิมาน วิมานหนึ่งมีนางอัปสร </span>7<span lang=\"TH\"> คน นอกจากพระอินทร์ที่เป็นเจ้าสวรรค์ชั้นดาวดึงส์แล้ว ยังมีเทวดาอีก </span>32<span lang=\"TH\"> พระองค์ครองเมือง </span>32</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"> เมือง  อยู่รอบนครไตรตรึงส์นี้ทิศละ 8</span></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> องค์ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>   </span>- <span lang=\"TH\">ทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีสวนขวัญชื่อ นันทอุทยาน มีต้นไม้ดอกไม้วิเศษ เป็นที่เล่นสนุกของเหล่าเทวดาทั้งหลาย ใกล้อุทยานมีสระใหญ่ชื่อ นันทาโบกขรณี และจุลนันทาโบกขรณี น้ำในสระทั้งสองนี้ใสงามดัง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">แก้วอินทนิล ริมฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">2<span lang=\"TH\"> แผ่น ชื่อ นันทาปริถิปาสาณ และจุลนันทาปาริถิปาสาณ เป็นแผ่นศิลา</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ที่มีรัศมีรุ่งเรือง</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\">   - <span lang=\"TH\">ทิศใต้ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ ผรุสกวัน แปลว่าสวนมะปราง มีสระใหญ่ชื่อภัทราโบกขรณี และสุภัทราโบรขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว </span>2<span lang=\"TH\"> แผ่น ชื่อภัทราปริถิปาสาณ และสุภัทราปริถิปาสาณ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>   </span>- <span lang=\"TH\">ทิศตะวันตกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ จิตรลดาวัน แปลว่างามไปด้วยไม้เถา มีสระใหญ่ชื่อจิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบรขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว </span>2<span lang=\"TH\"> แผ่น ชื่อจิตรปปาสาณ และจุลจิตรปาสาณ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>   \n<p></p></span></span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\">- <span lang=\"TH\">ทิศเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ สักกวัน มีสระใหญ่ชื่อธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว </span>2<span lang=\"TH\"> แผ่น ชื่อธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปริถิปาสาณ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>   </span>- <span lang=\"TH\">ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อบุณฑริกวัน มีไม้ทองหลางใหญ่ชื่อ ปาริชาติกัลปพฤกษ์ ใต้ต้นกัลปพฤกษ์มีแท่นศิลาแก้วชื่อ บัณฑุกัมพล เป็นแท่นสีแดงเข้มดังดอกชบาและอ่อนดังฟูกผ้า </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ใกล้กันมีศาลาสุธรรมเทพสภาเป็นที่ประชุมและฟังธรรมของเทวดา</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><o:p></o:p></span></span> </span></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span>   </span>- <span lang=\"TH\">ทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีเจดีย์จุฬามณี เป็นเจดีย์ประดับด้วยทองและแก้ว </span>7<span lang=\"TH\"> ประการ มีกำแพงทอง </span>4<span lang=\"TH\"> ด้าน ประดับด้วยธงประฏาก (ธงเป็นผืนห้อยยาวลงมาอย่างธงจรเข้) ธงไชย และกลดชุมสาย (กลดทำด้วยผ้าตาดทองมีสายห้อยเป็นระย้าอยู่รอบๆ) มีเทวดาประโคมดนตรีถวายพระเจดีย์อยู่เสมอ พระอินทร์ก็เสด็จมายังเจดีย์จุฬามณีนี้บ่อยๆสวรรค์ชั้นยามา เป็นสวรรค์ชั้นที่ </span>3<span lang=\"TH\"> อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ </span>84,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ มีพระยาสยามเทวราชครองอยู่ สวรรค์ชั้นนี้สูงกว่าวิถีการโคจรของพระอาทิตย์ แต่ก็ไม่มืดเนื่องจากรัศมีแก้วและรัศมีตัวเทวดาส่องสว่าง</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">อยู่เสมอสวรรค์ชั้นดุสิต เป็นสวรรค์ชั้นที่ </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\">4</span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\"> <br />\nอยู่สูงจากสวรรค์ชั้นยามา </span>168,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ มีพระยาสันดุสิตเทวราช  </span></span></span></span><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">พระโพธิสัตว์ซึ่งจะเสด็จลงมาตรัสเป็นพระพุทธเจ้า <br />\nมีพระศรีอาริย์โพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสเป็นพระพุทธเจ้าใน</span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">ภายภาคหน้าสวรรค์ชั้นนิมมานรดี<span>  </span>เป็นสวรรค์ชั้นที่ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">5<span lang=\"TH\"> อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดุสิต </span>336,000<span lang=\"TH\"> โยชน์สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตี<span>  </span>เป็นสวรรค์ชั้นที่ </span>6<span lang=\"TH\"> อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นนิมมานรดี </span>672,000<span lang=\"TH\"> โยชน์ </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">มีพระยาปรนิมมิตวสวัตตีครองอยู่ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\"><br />\n<span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span style=\"color: #e9489f\">พรหมโลก</span>   </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">อยู่เหนือสวรรค์ชั้นสูงสุด มี </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 15pt\">2<span lang=\"TH\"> ประเภท คือ รูปพรหม (รูปาวจร)  มี </span>16<span lang=\"TH\"> ชั้น และอรูปพรหม (อรูปาวจร) มี </span>4<span lang=\"TH\"> ชั้น</span></span></span></span><o:p></o:p> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span><o:p></o:p>  </p></o:p></span>\n', created = 1714234505, expire = 1714320905, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b969227d846c1a62c4416dff9d031a12' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วรรณคดีไทย

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


วรรณคดีไทย    ไตรภูมิพระร่วง ประวัติ      ไตรภูมิพระร่วง เป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาลิไทซึ่งแต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1888 โดยมีพระประสงค์
ที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อจำเริญพระอภิธรรม ไตรภูมิพระร่วงเป็นหลักฐานชิ้นหนึ่ง
ที่แสดงให้เห็นถึง
พระปรีชาสามารถอย่างลึกซึ้ง ในด้านพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชาลิไทที่ทรงรวบรวมข้อความต่างๆ
ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา นับแต่พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์พิเศษต่างๆ มาเรียบเรียงขึ้น
เป็น
วรรณคดีโลกศาสตร์เล่มแรกที่แต่งเป็นภาษาไทยเท่าทีมีหลักฐานอยู่ในปัจจุบันนี้

เนื้อหา
           ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมทางพุทธศาสนาที่กล่าวถึงภูมิ (แดน) ทั้งสาม คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งเหล่านี้มีเขาพระสุเมรุ
เป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้นตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม ทิวเขามีชื่อต่างๆดังนี้
1. ยุคนธร 2. อิสินธร
3. กรวิก 4. สุทัศน์ 5. เนมินธร 6. วินันตก และ7.อัศกรรณ ซึ่งเป็นเขารอบนอกสุด ทิวเขาเหล่านี้รวมเรียกว่าเขา
สัตตบริภัณฑ์ ส่วนทะเลที่รายล้อมอยู่ 7 ชั้น เรียกว่า มหานทีสีทันดร ถัดจากทิวเขาอัศกรรณออกมาเป็นมหาสมุทรอยู่ทั่วทุกด้าน แล้วจะมีภูเขาเหล็กกั้นทะเลนี้ไว้รอบเรียกว่า ขอบจักรวาล พ้นไปนอกนั้นเป็นนอกขอบจักรวาล    

นรกภูมิ
     นรกภูมิ  มีนรกใหญ่ 8 ขุม คือ สัญชีพนรก กาลสูตนรก สังฆาฏนรก โรรุพนรก ตาปนรก มหาตาปนรก มหาอเวจีนรก มหาโรรุพนรก สัตว์ที่เกิดในนรกแห่งนี้มีอายุยืนนานนับไม่ถ้วน สัตว์นรกขุมแรกมีอายุยืนได้ 500 ปี
(1 วันกับ 1 คืนของเมืองนรกเท่ากับ 9 ล้านปีของเมืองมนุษย์) ส่วนสัตว์นรกที่อยู่ขุมถัดไปมีอายุนับทวีคูณจำนวนปี
ของขุมนรกแรก
     นรก 8 ขุมนี้ มีกำแพงเหล็กแดงลุกเป็นไฟอยู่เสมอล้อมเป็นสี่เหลี่ยม พื้นบนและพื้นล่างก็เป็นเหล็กแดงที่ลุกเป็นไฟ กำแพงทั้ง 4 ด้าน ยาวด้านละ 1,000 โยชน์ หนา 9 โยชน์ มีประตูเข้า 4 ประตู ส่วนพื้นบนและพื้นล่างมีความหนา 9 โยชน์ นรกใหญ่แต่ละขุมมีนรกบริวารหรือนรกบ่าวล้อมอยู่ด้านละ 4 ขุม นรกใหญ่ขุมหนึ่งจึงมีนรกบ่าว 16 ขุม นรกใหญ่ 8 ขุม
จึงมีนรกบ่าวทั้งหมด
136 ขุม และก็มีนรกเล็กๆ น้อยๆ อีกจำนวนนับไม่ถ้วน นรกบ่าวทั้ง 16
ขุมรวมเรียกชื่อว่า อุสุทธ
(อุสสทนรก) นรกโลกันต์  
ยมบาล หรือผู้ดูแลนรกเฝ้าประตูนรกไว้ มีพระยายมราชเป็นผู้ทรงธรรมเที่ยงตรงเป็นใหญ่เหนือยมบาลทั้งหลาย หน้าที่ของพระยายมราชคือสอบสวนบุญบาปของมนุษย์ที่ตายไป หากทำบุญก็จะได้ขึ้นสวรรค์ทำบาปก็จะตกนรก    

ติรัจฉานภูมิ
      ติรัจฉานติภูมิ หรือเดรัจฉานติภูมิ คือแดนของเดียรฉาน แปลว่าตามขวางหรือตามเส้นนอนตรงกันข้ามกับคนซึ่งไปตัวตรง ดังนั้นสัตว์เดรัจฉานก็หมายถึงสัตว์ที่ไปไหนมาไหนต้องคว่ำอก  สัตว์ที่เกิดมาในแดนเดรัจฉาน มีเกิดจากไข่ (อัณฑชะ) จากมีรกอันห่อหุ้ม(ชลาพุชะ) จากใบไม้และเหงื่อไคล(สังเสทชะ) เกิดเป็นตัวขึ้นเองและ
โตทันที(อุปปาติกะ) สัตว์เดรัจฉานนั้นมีความเป็นอยู่ 3 ประการ คือ รู้สืบพันธุ์ รู้กิน รู้ตาย เรียกเป็นศัพท์ว่า กามสัญญา อาหารสัญญา และมรณสัญญา ส่วนคนนั้นเพิ่มอีกสัญญาหนึ่งคือ ธธมสัญญา คือรู้จักการทำมาหากิน รู้บาปบุญ หรือ
ตรงกับคำว่าวัฒนธรรมนั้นเอง สัตว์ที่กล่าวในแดนเดรัจฉานหลักๆก็มีดังนี้
   - ราชสีห์ เป็นสัตว์จำพวกเดียวกับสิงโต ไม่มีตัวตนจริงอยู่ในโลกนี้แต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวรรณคดีเท่านั้น -ช้างแก้ว
อาศัยอยู่ที่ถ้ำทองว่ากันว่าพระพุทธเจ้าเคยเสวยพระชาติเคยไปเกิดเป็นช้างนี้อยู่หนึ่งชาติ
   -ปลา ในแดนเดรัจฉานนี้ปลาที่อาศัยอยู่ที่นี้จะมีขนาดใหญ่มาก ตัวที่เล็กสุดก็ยังยาวถึง 75 โยชน์ ตัวที่ใหญ่ก็ยาวถึง
5,000 โยชน์ ปลาที่รู้จักกันดีคือ พญาปลาอานนท์ ซึ่งหนุนชมพูทวีปอยู่
   
- ครุฑ  อาศัยอยู่ที่ตามฝั่งสระใหญ่ชื่อสิมพลีสระที่ตีนเขาพระสุเมรุหรือสระต้นงิ้ว กว้างได้ 500 โยชน์
พระยาครุฑ
ที่เป็นหัวหน้าตัวโต 50 โยชน์ ปีกยาวอีก 50 โยชน์ ปากยาว 9 โยชน์ ตีนทั้งสองยาว 12 โยชน์ ครุฑกินนาค
เป็นอาหาร และเป็นพาหนะของพระนารายณ์ - นาค หรืองูมีหงอนและมีตีน นาคมีสองชนิด คือ ถลชะ หรือนาคที่เกิด
บนบก และ ชลชะ หรือนาคที่เกิดในน้ำ นาคถลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดานางฟ้าได้แต่บนบก นาคชลชะจะเนรมิตตนเป็นคนหรือเทวดานางฟ้าได้แต่ในน้ำเท่านั้น เรื่องนาคเป็นที่รู้จักกันดีในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือเป็นบรรพบุรุษของชนชาติต่างๆ เช่น เขมร ลาว มอญ - หงส์ อาศัยอยู่ที่ถ้ำทองบนเขาคิชฌกูฏหรือเขายอดนกแร้ง หงส์เป็นพาหนะของพระพรหม  เปรตภูมิ
     - เปรต เป็นผีเลวชนิดหนึ่ง ในไตรภูมิบรรยายรูปร่างของเปรตไว้ว่า เปรตบางชนิดมีตัวใหญ่ ปากเท่ารูเข็ม เปรตบางชนิดก็ตัวผอมไม่มีเนื้อหนังมังสา ตาลึกกลวง และร้องไห้ตลอดเวลา แต่ก็มีเปรตบางชนิดที่ตัวงามเป็นทอง แต่ปากเป็นหมูและเหม็นมาก สรุปรวมๆแล้วก็คือเมื่อตอนเป็นคนแล้วทำบาปอย่างใดเมื่อตายไปก็จะเป็นเปรตตามที่ทำบาปไว้  เปรตนั้นมีโอกาสดีกว่าสัตว์นรก เนื่องจากสามารถออกมาขอบุญกุศลจากการทำบุญของมนุษย์ได้

อสูรกายภูมิ

     - อสูร แปลตรงตัวว่า ผู้ไม่ใช่สุระหรือไม่ใช่พวกเทวดาที่มีพระอินทร์เป็นหัวหน้า เดิมพวกอสูรมีเมืองอยู่บนเขาพระสุเมรุหรือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั่นเอง ภายหลังพวกเทวดาคิดอุบายมอมเหล้าพวกอสูรเมาจนไม่ได้สติ แล้วพวกเทวดาก็ช่วยกันถีบอสูรให้ตกเขาพระสุเมรุดิ่งจมลงใต้ดิน เมื่ออสูรสร่างเมาได้สติแล้วก็สำนึกตัวได้ว่า เป็นเพราะกินเหล้ามากจนเมามายจึงต้องเสียบ้านเมืองให้กับพวกเทวดาจึงเลิกกินเหล้าแล้วไปสร้างเมืองใหม่ใต้บาดาลเรียกว่า อสูรภพ


อสูรภพ
     พวกอสูรกายมีบ้านเมืองเป็นของตนเอง เรียกว่าอสูรภพ อยู่ลึกใต้ดินไป 84,000 โยชน์ เป็นบ้านเมืองงดงามมากเต็มไปด้วยแผ่นทองคำ คือบ้านเมืองของอสูรนี้จะมีเหมือนสวรรค์ของเทวดา เช่น กลางสวรรค์มีต้นปาริชาติ กลางเมืองอสูรก็มีต้นแคฝอย เมืองอสูรมีเมืองใหญ่อยู่ 4 เมืองโดยมีพระยาอสูรปกครองอยู่ทุกเมือง ในบรรดาอสูรมีอยู่ตนหนึ่งมีอำนาจมากชื่อว่า ราหู     อสูรราหูมีหน้าตาหัวหูที่ใหญ่โตมากกว่าเหล่าเทวดาทั้งหลายในสวรรค์ ราหูมีความเกลียดชังพระอาทิตย์และพระจันทร์มาก ในวันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเดือนงามและวันเดือนดับ ราหูจะขึ้นไปนั่งอยู่บนเขายุคนธรอันเป็นทิวเขาทิวแรกที่ล้อมเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดา ราหูจะคอยให้พระอาทิตย์หรือพระจันทร์ผ่านมา เพื่อที่จะคอยอ้าปากอันกว้างใหญ่อมเอาพระจันทร์หรือพระอาทิตย์หายลบไป บางครั้งก็เอานิ้วมือบังไว้บ้าง เอาไว้ใต้คางบ้าง เหตุการณ์เหล่านี้เรียกกันว่า สุริยคราสและจันทรคราสเรื่องราวที่เป็นเหตุทำให้ราหูมีความเกลียดชังพระอาทิตย์และพระจันทร์ก็คือ มีการกวนเกษียรสมุทรของเหล่าบรรดาเทวดาและอสูรเพื่อทำน้ำอมฤต เมื่อกวนสำเร็จแล้วเทวดาก็ไม่ยอมให้เหล่าอสูรกิน
แต่ราหูปลอมเป็นเทวดาเข้าไปกินน้ำอมฤตกับเทวดาด้วย พระอาทิตย์และพระจันทร์เห็นจึงไปฟ้องพระวิษณุว่าราหูปลอมตัวเป็นเทวดามากินน้ำอมฤต พระวิษณุทรงขว้างจักรแก้วไปตัดตัวราหูออกเป็นสองท่อนแต่ราหูไม่ตายเพราะได้กินน้ำอมฤตไปแล้ว ครึ่งตัวท่อนบนจึงเป็นราหูอยู่ แต่ครึ่งตัวท่อนล่างกลายเป็นอสูรอีกตัวหนึ่งชื่อเกตุ


มนุษยภูมิ
     กล่าวถึงฝูงสัตว์อันเกิดในมนุษยภูมิ มีกำเนิดดังนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิสนธิในครรภ์มารดาก็เริ่มก่อตัวเป็นกัลละ กัลละมีรูปร่างโปร่งเหลวเหมือนน้ำหรือเหมือนเมือกตม เป็นคำที่ใช้เฉพาะสิ่งที่ห่อหุ้มก่อกำเนิดเป็นคนเท่านั้น กัลละที่ก่อเป็นตัวเด็กขึ้นมานี้ตามวิทยาศาสตร์กล่าวเรียกว่า 'cell' เมื่อเวลาผ่านไปก็เกิดกลายเป็นตัวเด็กขึ้นนั่งกลางท้องแม่และเอาหลังมาชนท้องแม่ มีสายสะดือเป็นตัวส่งอาหารที่แม่กินเข้าไปให้แก่เด็ก เด็กที่นั่งอยู่กลางท้องแม่นั้นจะนั่งอยู่เวลาประมาณ 8-10 เดือน แล้วจึงคลอดจากท้องแม่บุตรที่เกิดมาในไตรภูมิแบ่งได้เป็น 3 สิ่ง คือ  
             
- อภิชาตบุตร เป็นคนเฉลียวฉลาดมีรูปงามหรือมั่งมียศยิ่งกว่าพ่อแม่
   
             
- อนุชาตบุตร มีเพียงพ่อแม่ 
                               
             
- อวชาติบุตร ด้อยกว่าพ่อแม่
 

ฉกามาพจรภูมิ      ฉกามาพจรภูมิ  คือ ดินแดนสวรรค์ทั้ง 6 ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชิกภูมิ ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตต  วรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกภูมิ เป็นสวรรค์ชั้นแรก สูงจากพื้นโลกได้ 46,000 โยชน์

จาตุมหาราชิกภูมิ

   แปลว่าแดนแห่ง
4 มหาราช สวรรค์ชั้นนี้ตั้งอยู่เหนือเทือกเขายุคนธรอันเป็นเทือกเขาแรกที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ
บนเทือกเขายุคนธรทั้ง 4 ทิศ มีเมืองใหญ่ 4 เมือง เมืองที่อยู่ทางทิศตะวันออกของเขาพระสุเมรุมีท้าวธตรฐเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือคนธรรพ์ (เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง ครึ่งเทวดาครึ่งมนุษย์ เป็นนักดนตรีและชอบผู้หญิง)
เมืองที่อยู่ทางทิศตะวันตกของเขาพระสุเมรุมีท้าววิรูปักษ์เป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือนาค เมืองที่อยู่ทางทิศใต้ของ
เขาพระสุเมรุมีท้าววิรุฬหกเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือพวกกุมภัณฑ์ (เป็นยักษ์จำพวกหนึ่ง มีท้องใหญ่และมีอัณฑะเหมือนหม้อ) เมืองที่อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุมีท้าวไพศรพเป็นเจ้าเมือง เป็นใหญ่เหนือพวกยักษ์ ท้าวมหาราชทั้ง 4 นี้เรียกรวมๆว่า จตุโลกบาลทั้ง 4 คือผู้ดูแลรักษาโลกทั้ง 4 ทิศสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 สูงจากสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกภูมิได้ 46,000 โยชน์ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้นตั้งอยู่เหนือจอมเขาพระสุเมรุ มีนครไตรตรึงส์อยู่ตรงกลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นเมืองของพระอินทร์ผู้เป็นใหญ่แก่เทวดาทั้งหลาย เมืองพระอินทร์กว้างได้ 8,000,000 วา มีปรางค์ปราสาทแก้ว มีกำแพงแก้ว มีประตูทองประดับด้วยแก้ว 7 ประการ เมื่อเปิดประตูจะได้ยินเสียงดนตรีไพเราะ กลางนครไตรตรึงส์นี้มีไพชยนต์วิมานหรือปราสาทที่ประทับของพระอินทร์ สูง 25,600,000 วา ประดับด้วยสัตตพิพิธรัตนะหรือแก้ว 7 ประการที่งดงามมาก ไพชยนต์วิมานนั้นประกอบด้วยเชิงชั้นชาลา 100 ชาลา แต่ละชาลามีวิมานได้ 700 วิมาน วิมานหนึ่งมีนางอัปสร 7 คน นอกจากพระอินทร์ที่เป็นเจ้าสวรรค์ชั้นดาวดึงส์แล้ว ยังมีเทวดาอีก 32 พระองค์ครองเมือง 32 เมือง  อยู่รอบนครไตรตรึงส์นี้ทิศละ 8 องค์    - ทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีสวนขวัญชื่อ นันทอุทยาน มีต้นไม้ดอกไม้วิเศษ เป็นที่เล่นสนุกของเหล่าเทวดาทั้งหลาย ใกล้อุทยานมีสระใหญ่ชื่อ นันทาโบกขรณี และจุลนันทาโบกขรณี น้ำในสระทั้งสองนี้ใสงามดังแก้วอินทนิล ริมฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว 2 แผ่น ชื่อ นันทาปริถิปาสาณ และจุลนันทาปาริถิปาสาณ เป็นแผ่นศิลาที่มีรัศมีรุ่งเรือง   - ทิศใต้ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ ผรุสกวัน แปลว่าสวนมะปราง มีสระใหญ่ชื่อภัทราโบกขรณี และสุภัทราโบรขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว 2 แผ่น ชื่อภัทราปริถิปาสาณ และสุภัทราปริถิปาสาณ   - ทิศตะวันตกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ จิตรลดาวัน แปลว่างามไปด้วยไม้เถา มีสระใหญ่ชื่อจิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบรขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว 2 แผ่น ชื่อจิตรปปาสาณ และจุลจิตรปาสาณ  

- ทิศเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อ สักกวัน มีสระใหญ่ชื่อธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ที่ฝั่งสระทั้งสองมีศิลาแก้ว 2 แผ่น ชื่อธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปริถิปาสาณ   - ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีอุทยานชื่อบุณฑริกวัน มีไม้ทองหลางใหญ่ชื่อ ปาริชาติกัลปพฤกษ์ ใต้ต้นกัลปพฤกษ์มีแท่นศิลาแก้วชื่อ บัณฑุกัมพล เป็นแท่นสีแดงเข้มดังดอกชบาและอ่อนดังฟูกผ้า ใกล้กันมีศาลาสุธรรมเทพสภาเป็นที่ประชุมและฟังธรรมของเทวดา

   - ทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีเจดีย์จุฬามณี เป็นเจดีย์ประดับด้วยทองและแก้ว 7 ประการ มีกำแพงทอง 4 ด้าน ประดับด้วยธงประฏาก (ธงเป็นผืนห้อยยาวลงมาอย่างธงจรเข้) ธงไชย และกลดชุมสาย (กลดทำด้วยผ้าตาดทองมีสายห้อยเป็นระย้าอยู่รอบๆ) มีเทวดาประโคมดนตรีถวายพระเจดีย์อยู่เสมอ พระอินทร์ก็เสด็จมายังเจดีย์จุฬามณีนี้บ่อยๆสวรรค์ชั้นยามา เป็นสวรรค์ชั้นที่ 3 อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ 84,000 โยชน์ มีพระยาสยามเทวราชครองอยู่ สวรรค์ชั้นนี้สูงกว่าวิถีการโคจรของพระอาทิตย์ แต่ก็ไม่มืดเนื่องจากรัศมีแก้วและรัศมีตัวเทวดาส่องสว่างอยู่เสมอสวรรค์ชั้นดุสิต เป็นสวรรค์ชั้นที่ 4
อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นยามา
168,000 โยชน์ มีพระยาสันดุสิตเทวราช 
พระโพธิสัตว์ซึ่งจะเสด็จลงมาตรัสเป็นพระพุทธเจ้า
มีพระศรีอาริย์โพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสเป็นพระพุทธเจ้าใน
ภายภาคหน้าสวรรค์ชั้นนิมมานรดี  เป็นสวรรค์ชั้นที่ 5 อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นดุสิต 336,000 โยชน์สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตี  เป็นสวรรค์ชั้นที่ 6 อยู่สูงจากสวรรค์ชั้นนิมมานรดี 672,000 โยชน์ มีพระยาปรนิมมิตวสวัตตีครองอยู่


พรหมโลก  
อยู่เหนือสวรรค์ชั้นสูงสุด มี 2 ประเภท คือ รูปพรหม (รูปาวจร)  มี 16 ชั้น และอรูปพรหม (อรูปาวจร) มี 4 ชั้น    

สร้างโดย: 
อาจารย์จิราวรรณ สังวรปทานสกุล

มะเหงมีรายเลย

ห่วยว่ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์