• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:18b3013a79213def28591511d76bd06e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>                        </span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>          </span></span></b><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ในช่วงยุคกลางตอนปลาย บ้านเมืองสงบ การรุกรานและปล้นสะดมจากศัตรูภายนอกถูกปราบปรามลง<span>  </span>การค้าจึงเริ่มฟื้นตัวขึ้นในยุโรปตะวันตก<span>  </span>โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองเวนิส และเจนัวในอิตาลี และในดินแดนแฟลนเดอร์ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Flanders) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">พ่อค้าเริ่มเดินทางค้าขายระหว่างแหล่งการค้าต่างๆ มีการสร้างถนนหนทางและสะพาน<span>  </span>การค้าทางทะเลก็ก้าวหน้าควบคู่ไปกับการค้าทางบก<span>  </span>มีการตั้งศูนย์กลางการค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเหนือ และทะเลบอลติค<span>  </span>สินค้าต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาในยุโรป เช่น ผ้าไหม ข้าว ผลมะเดื่อ ฝ้าย เครื่องเทศ และสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ<span>  </span>การค้นพบเหมืองทองและเงินในยุโรปภาคกลาง<span>   </span>ในช่วงระยะเวลานี้ทำให้มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ใช้กันอย่างแพร่หลาย<span>  </span>ทำให้การค้าขยายตัวอย่างรวดเร็ว<span>  </span>ความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทำให้บรรดาพ่อค้ามั่งคั่งร่ำรวย มีอำนาจในทางเศรษฐกิจ มีบทบาททางสังคม และสามารถขยายอำนาจของตนสู่การเมือง<span>   </span>การปกครองในระยะต่อมา </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความก้าวหน้าทางการค้าทำให้สภาพทางสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เริ่มเกิดชุมชนเมืองซึ่งประกอบด้วยพ่อค้าและผู้ผลิตสินค้าหัตถกรรม<span>  </span>นอกจากนี้บรรดาชาวนาและทาสติดที่ดิน ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นก็พากันทิ้งที่นาออกมาตั้งหลักแหล่งกันตามชุมชนเมือง<span>  </span>ทำอาชีพต่างๆ เช่น เป็นพ่อค้าขายเนื้อสัตว์ เป็นช่างทำขนมปัง หรือผลิตสินค้าหัตถกรรม<span>  </span>เป็นต้น<span>  </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>ชุมชนดังกล่าวขยายตัวอย่างรวดเร็วตามบริเวณรอบๆ เมืองเก่าซึ่งซบเซาไปในช่วงระยะที่ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ครอบคลุมไปทั่วยุโรป มีตลาดอันเป็นศูนย์กลางของเมืองเหล่านี้เรียกว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">Faubourg<span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่วนตัวเมืองที่เป็นศูนย์กลางเรียก</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> Bourg </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นที่พำนักของชาวเมือง<span>  </span>ส่วนบูร์จัวส์ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(Bourgeois) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หมายถึงคนเมือง หรือผู้อยู่ในเมือง จำนวนพลเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมืองขนาดใหญ่มี </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2-3 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เมือง เช่น เมืองมิลาน เวนิส และปารีส </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีพลเมืองประมาณ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">1 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ถึง </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แสนคน<span>  </span>ด้วยเหตุนี้พวกพ่อค้ารายใหญ่จึงมักมีโอกาสทำการค้าจากการขูดรีด<span>  </span>และแสวงหาผลประโยชน์จากชาวเมือง<span>  </span>เช่น<span>  </span>กำหนดค่าแรงและราคาสินค้าเอง ให้กู้ยืมเงินเพื่อเก็บอัตราดอกเบี้ย<span>  </span>มีบ้านในเมืองไว้ให้เช่า และนำเงินไปซื้อที่ดินตามชนบท<span>  </span>พวกพ่อค้าเหล่านี้รวมกันบริหารเมืองและเรียกเก็บภาษีสูงจากชาวเมือง<span>  </span>ดังนั้นในช่วงระยะเวลาที่เมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว ก็ปรากฏว่ามีการลุกฮือของชาวเมืองที่ยากจนเพื่อต่อต้านชาวเมืองที่มั่งคั่งร่ำรวย</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บรรดาชาวเมือง หรือ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">Bourgeois </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กลายเป็นชนชั้นอีกชนชั้นหนึ่งในสังคม<span>  </span>ชนชั้นนี้มีความเป็นอิสระจะไปไหนมาไหนได้ตามสะดวกไม่ต้องทำงานติดที่ดินหรือขึ้นอยู่กับขุนนางเจ้าที่ดินเหมือนแต่ก่อน กล่าวคือ ชีวิตของชาวเมืองเหล่านี้ขึ้นอยู่กับการค้าเป็นสำคัญ ถึงแม้ชาวเมืองจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น มีความสำคัญขึ้น มีความมั่งคั่งร่ำรวยจากการค้า และมีอิทธิพลอยู่ในเมือง<span>  </span>แต่ยังมีฐานะไม่เท่าเทียมกับชนชั้นขุนนาง ซึ่งยังคงมีฐานะผู้นำทางสังคมอยู่</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>                        </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><span>         </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ถึงแม้ว่าปลายยุโรปสมัยกลางจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ที่ทำให้ยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าไปสู่ระบบใหม่ดังได้กล่าวมาแล้ว<span>  </span>แต่ในช่วงระยะเวลาเดียวกันนั้น ชาวยุโรปก็ต้องประสบกับภัยพิบัติและความยากลำบากในเหตุการณ์ที่สำคัญ </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">2 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประการ<span>  </span>คือ<span>  </span>การเกิดภาวะข้าวยากหมากแพง </span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(The Great Famine) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และเกิดกาฬโรคระบาด</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"> (The Black Death) <span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">การเกิดภาวะข้าวยากหมากแพงในปี ค</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">.</span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ศ</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">. 1315 – 1317 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">เกิดจากภาวะอากาศเลวร้าย การบุกเบิกที่ทำกินใหม่เป็นระยะเวลายาวนานในสมัยกลาง ทำให้เกิดการแห้งแล้งและฝนตก<span> </span>น้ำท่วมจนไม่สามารถเพาะปลูกได้<span>  </span>พืชพันธุ์ธัญญาหารขาดแคลน<span>  </span>คนอดอยากกันทั่วไป มีสถิติระบุว่า </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">10% </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ของคนในแฟลนเดอร์ตายในเวลา </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">6 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">เดือน<span>  </span>เนื่องจากภาวะข้าวยากหมากแพง</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span><o:p></o:p></span> </span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">หลังจากภาวะข้าวยากหมากแพงผ่านไประยะหนึ่ง<span>  </span>เหตุการณ์สำคัญที่นำภัยพิบัติมาสู่ยุโรปตอนปลายสมัยกลางก็เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คือ การเกิดกาฬโรคระบาด </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">(The Black Death) </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ซึ่งคร่าชีวิตชาวยุโรปไปประมาณ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">1 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ใน </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">3 </span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">ของประชากร โรคนี้ระบาดจากเอเชียเข้ามาสู่มณฑล<span>   </span>ไครเมีย ทางใต้ของรัสเซีย แล้วกระจายไปทั่วทวีปยุโรป และหลังจากนั้นก็เกิดขึ้นอีกเป็นระยะๆ จนกระทั่งสิ้นศตวรรษที่ </span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\">14<span>  </span></span><span style=\"color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">โรคระบาดในครั้งนี้มีผลกระทบอันสำคัญ คือ พืชผลที่ปลูกไว้ไม่มีผู้ดูแลเก็บเกี่ยว อาหารขาดแคลน ทำให้ราคาอาหารถีบตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว<span>  </span>การเพาะปลูกถูกทอดทิ้ง<span>  </span>ที่นากลายเป็น<span class=\"MsoPageNumber\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ที่</span></span>รกร้างว่างเปล่า การขาดแคลนแรงงานมีผลกระทบต่อความเสื่อมของระบบคฤหาสน์ด้วย<span>  </span>ทั้งนี้เพราะขุนนางเจ้าของแมนเนอร์ต้องสูญเสียแรงงาน การจ้างแรงงานก็ไม่คุ้มเพราะอัตรา ค่าจ้างค่อนข้างสูง มีผลทำให้ยุโรปขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง</span></span><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></o:p></span> </p>\n', created = 1726826464, expire = 1726912864, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:18b3013a79213def28591511d76bd06e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจยุโรปสมัยกลางตอนปลาย

                       

          ในช่วงยุคกลางตอนปลาย บ้านเมืองสงบ การรุกรานและปล้นสะดมจากศัตรูภายนอกถูกปราบปรามลง  การค้าจึงเริ่มฟื้นตัวขึ้นในยุโรปตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองเวนิส และเจนัวในอิตาลี และในดินแดนแฟลนเดอร์ (Flanders) พ่อค้าเริ่มเดินทางค้าขายระหว่างแหล่งการค้าต่างๆ มีการสร้างถนนหนทางและสะพาน  การค้าทางทะเลก็ก้าวหน้าควบคู่ไปกับการค้าทางบก  มีการตั้งศูนย์กลางการค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเหนือ และทะเลบอลติค  สินค้าต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาในยุโรป เช่น ผ้าไหม ข้าว ผลมะเดื่อ ฝ้าย เครื่องเทศ และสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ  การค้นพบเหมืองทองและเงินในยุโรปภาคกลาง   ในช่วงระยะเวลานี้ทำให้มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ใช้กันอย่างแพร่หลาย  ทำให้การค้าขยายตัวอย่างรวดเร็ว  ความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทำให้บรรดาพ่อค้ามั่งคั่งร่ำรวย มีอำนาจในทางเศรษฐกิจ มีบทบาททางสังคม และสามารถขยายอำนาจของตนสู่การเมือง   การปกครองในระยะต่อมา ความก้าวหน้าทางการค้าทำให้สภาพทางสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เริ่มเกิดชุมชนเมืองซึ่งประกอบด้วยพ่อค้าและผู้ผลิตสินค้าหัตถกรรม  นอกจากนี้บรรดาชาวนาและทาสติดที่ดิน ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นก็พากันทิ้งที่นาออกมาตั้งหลักแหล่งกันตามชุมชนเมือง  ทำอาชีพต่างๆ เช่น เป็นพ่อค้าขายเนื้อสัตว์ เป็นช่างทำขนมปัง หรือผลิตสินค้าหัตถกรรม  เป็นต้น 

          ชุมชนดังกล่าวขยายตัวอย่างรวดเร็วตามบริเวณรอบๆ เมืองเก่าซึ่งซบเซาไปในช่วงระยะที่ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ครอบคลุมไปทั่วยุโรป มีตลาดอันเป็นศูนย์กลางของเมืองเหล่านี้เรียกว่า Faubourg  ส่วนตัวเมืองที่เป็นศูนย์กลางเรียก Bourg เป็นที่พำนักของชาวเมือง  ส่วนบูร์จัวส์ (Bourgeois) หมายถึงคนเมือง หรือผู้อยู่ในเมือง จำนวนพลเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมืองขนาดใหญ่มี 2-3 เมือง เช่น เมืองมิลาน เวนิส และปารีส  มีพลเมืองประมาณ 1 ถึง 2 แสนคน  ด้วยเหตุนี้พวกพ่อค้ารายใหญ่จึงมักมีโอกาสทำการค้าจากการขูดรีด  และแสวงหาผลประโยชน์จากชาวเมือง  เช่น  กำหนดค่าแรงและราคาสินค้าเอง ให้กู้ยืมเงินเพื่อเก็บอัตราดอกเบี้ย  มีบ้านในเมืองไว้ให้เช่า และนำเงินไปซื้อที่ดินตามชนบท  พวกพ่อค้าเหล่านี้รวมกันบริหารเมืองและเรียกเก็บภาษีสูงจากชาวเมือง  ดังนั้นในช่วงระยะเวลาที่เมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว ก็ปรากฏว่ามีการลุกฮือของชาวเมืองที่ยากจนเพื่อต่อต้านชาวเมืองที่มั่งคั่งร่ำรวย  บรรดาชาวเมือง หรือ Bourgeois กลายเป็นชนชั้นอีกชนชั้นหนึ่งในสังคม  ชนชั้นนี้มีความเป็นอิสระจะไปไหนมาไหนได้ตามสะดวกไม่ต้องทำงานติดที่ดินหรือขึ้นอยู่กับขุนนางเจ้าที่ดินเหมือนแต่ก่อน กล่าวคือ ชีวิตของชาวเมืองเหล่านี้ขึ้นอยู่กับการค้าเป็นสำคัญ ถึงแม้ชาวเมืองจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น มีความสำคัญขึ้น มีความมั่งคั่งร่ำรวยจากการค้า และมีอิทธิพลอยู่ในเมือง  แต่ยังมีฐานะไม่เท่าเทียมกับชนชั้นขุนนาง ซึ่งยังคงมีฐานะผู้นำทางสังคมอยู่                        

         ถึงแม้ว่าปลายยุโรปสมัยกลางจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ที่ทำให้ยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าไปสู่ระบบใหม่ดังได้กล่าวมาแล้ว  แต่ในช่วงระยะเวลาเดียวกันนั้น ชาวยุโรปก็ต้องประสบกับภัยพิบัติและความยากลำบากในเหตุการณ์ที่สำคัญ 2 ประการ  คือ  การเกิดภาวะข้าวยากหมากแพง (The Great Famine) และเกิดกาฬโรคระบาด (The Black Death) การเกิดภาวะข้าวยากหมากแพงในปี ค.. 1315 – 1317 เกิดจากภาวะอากาศเลวร้าย การบุกเบิกที่ทำกินใหม่เป็นระยะเวลายาวนานในสมัยกลาง ทำให้เกิดการแห้งแล้งและฝนตก น้ำท่วมจนไม่สามารถเพาะปลูกได้  พืชพันธุ์ธัญญาหารขาดแคลน  คนอดอยากกันทั่วไป มีสถิติระบุว่า 10% ของคนในแฟลนเดอร์ตายในเวลา 6 เดือน  เนื่องจากภาวะข้าวยากหมากแพง หลังจากภาวะข้าวยากหมากแพงผ่านไประยะหนึ่ง  เหตุการณ์สำคัญที่นำภัยพิบัติมาสู่ยุโรปตอนปลายสมัยกลางก็เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คือ การเกิดกาฬโรคระบาด (The Black Death) ซึ่งคร่าชีวิตชาวยุโรปไปประมาณ 1 ใน 3 ของประชากร โรคนี้ระบาดจากเอเชียเข้ามาสู่มณฑล   ไครเมีย ทางใต้ของรัสเซีย แล้วกระจายไปทั่วทวีปยุโรป และหลังจากนั้นก็เกิดขึ้นอีกเป็นระยะๆ จนกระทั่งสิ้นศตวรรษที่ 14  โรคระบาดในครั้งนี้มีผลกระทบอันสำคัญ คือ พืชผลที่ปลูกไว้ไม่มีผู้ดูแลเก็บเกี่ยว อาหารขาดแคลน ทำให้ราคาอาหารถีบตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว  การเพาะปลูกถูกทอดทิ้ง  ที่นากลายเป็นที่รกร้างว่างเปล่า การขาดแคลนแรงงานมีผลกระทบต่อความเสื่อมของระบบคฤหาสน์ด้วย  ทั้งนี้เพราะขุนนางเจ้าของแมนเนอร์ต้องสูญเสียแรงงาน การจ้างแรงงานก็ไม่คุ้มเพราะอัตรา ค่าจ้างค่อนข้างสูง มีผลทำให้ยุโรปขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง

สร้างโดย: 
น.ส.อันฤดี นาคะเวทิน ชั้น ม.6/3 เลขที่ 20 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
รูปภาพของ silavacharee

ตรวจแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 498 คน กำลังออนไลน์