• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8c2b7af0722b196a81832646b13a7d14' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"93\" width=\"247\" src=\"/files/u3818/r3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 205px; height: 93px\" /></strong></span><img height=\"93\" width=\"388\" src=\"/files/u3818/r2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 316px; height: 93px\" /><img height=\"129\" width=\"100\" src=\"/files/u3818/k1_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 100px; height: 92px\" /> <br />\n<strong><marquee><span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"12\" width=\"12\" src=\"/files/u3818/jud1.gif\" border=\"0\" /> เศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต</span><span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"12\" width=\"12\" src=\"/files/u3818/jud1.gif\" border=\"0\" /></span></marquee></strong><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"25\" width=\"212\" src=\"/files/u3818/header.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 218px; height: 30px\" />  <br />\n<img height=\"3\" width=\"459\" src=\"/files/u3818/bar19.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>     <span style=\"color: #0000ff\">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ทรงได้มีมหากรุณาธิคุณอธิบายเพิ่มเติมว่า &quot;...ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงและทำได้เศษหนึ่งส่วนสี่เท่านั้นจะพอนั้น ไม่ได้แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่ แต่เป็นเศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ...<br />\n     จากนั้นได้ทรงขยายความ คำว่า &quot;พอเพียง&quot; เพิ่มเติมต่อไปว่า หมายถึง &quot;พอมีพอกิน&quot;  &quot;...พอมีพอกิน&quot; ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกินก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี...&quot; ทรงเปรียบเทียบคำว่า พอเพียง กับคำว่า Self-Sufficiency ว่า &quot;Self-Sufficiency &quot; นั้น หมายความว่า ผลิตอะไร มีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่นอยู่ได้ด้วยตัวเอง...เป็นไปตามที่เค้าเรียกว่ายืนบนขาตัวเอง... </span><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n</span></strong><strong><span style=\"color: #ff00ff\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/14.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>     <span style=\"color: #0000ff\">เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อแก้ไข ปัญหาความยากจนของเกษตรกร ซึ่งมักประสบปัญหาความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ ทั้งฝนแล้ง น้ำท่วม ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และราคาผลผลิตตกต่ำ ทรงมีพระราชดำริที่จะพัฒนาให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอมี พอกิน พึ่งตนเองได้ และไม่เป็นหนี้สิน<br />\n     ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยต้องประสบปัญหาวิกฤติกาลทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ได้รับผลกระทบทั้งผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม เกิดปัญหาการว่างงาน อย่างรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนได้รับความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า<br />\n     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้รับพระราชทานพระราชดำรัส เศรษฐกิจพอเพียง โดยนำหลักการและวิธีการที่เคยใช้ในภาคเกษตรกรรมมาประยุกต์ใช้ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรทุกสาขาวิชาชีพ ให้แก้ไขปัญหาโดยปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตใหม่ เน้นการดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ พออยู่ พอกิน เดินทางสายกลาง มีความพอดี และสามารถพึ่งพาตนเองได้<br />\nแนวพระราชดำริทั้งหลายดังกล่าวข้างต้นนี้ แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระสติปัญญา ตรากตรำพระวรกาย เพื่อค้นคว้าหาแนวทางการพัฒนาให้พสกนิกรทั้งหลายได้มีความร่มเย็นเป็นสุขสถาพรยั่งยืนนาน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงที่ได้พระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลามากกว่า 50 ปี จึงกล่าวได้ว่าพระราชกรณียกิจของพระองค์นั้นสมควรอย่งยิ่งที่ทวยราษฎรจักได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ตามที่ทรงแนะนำ สั่งสอน อบรมและวางแนวทางไว้เพื่อให้เกิดการอยู่ดีมีสุขโดยถ้วนเช่นกัน โดยการพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขึ้นตอนต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตาหลักวิชาการ <br />\nเพื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้<br />\n</span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">     <span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง</span></strong></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">คือ คำตอบของการอยู่รอด และหนทางสู่ความสุขของคนไทยทุกคนในวันนี้<br />\n3 ห่วง 2 เงื่อนไข<span style=\"font-family: Arial; font-size: large\"> </span><span style=\"font-size: small\">จะอยู่ในจิตสำนึกของเรา และนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองอย่างจริงจัง</span></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n  <img height=\"36\" width=\"36\" src=\"/files/u3818/QUASBUTN_0.gif\" border=\"0\" /> <br />\n<img height=\"54\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic-020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 108px; height: 50px\" /><img height=\"54\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic-020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 108px; height: 50px\" /><img height=\"83\" width=\"126\" src=\"/files/u3818/p10_0.jpg\" border=\"0\" /><img height=\"54\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic-020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 108px; height: 50px\" /><img height=\"54\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic-020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 108px; height: 50px\" /> </p>\n<p><img height=\"16\" width=\"482\" src=\"/files/u3818/flowerbar03.gif\" border=\"0\" style=\"width: 552px; height: 16px\" /><br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n<img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\" class=\"menu\"><span style=\"font-size: small\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1</span></a><span style=\"font-size: small\">       </span><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\" class=\"menu\"><span style=\"font-size: small\"> <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" />สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2</span></a><span style=\"font-size: small\">       <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /></span><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\" class=\"menu\"><span style=\"font-size: small\">แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง</span></a></span></strong>  \n</p>\n<p>\nหมดหน้า 1 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 2\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"61\" width=\"315\" src=\"/files/u3818/r6.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 223px; height: 34px\" /> <img height=\"62\" width=\"321\" src=\"/files/u3818/r7.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 196px; height: 34px\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><strong></strong></span><span style=\"color: #ff00ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"3\" width=\"459\" src=\"/files/u3818/bar19.gif\" border=\"0\" /><br />\n<img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/16_0.gif\" border=\"0\" /><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"274\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/11.gif\" border=\"0\" /> </span></strong></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n<strong><img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/15.gif\" border=\"0\" /><br />\n</strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>ก่อนตัดสินใจทำการสิ่งใด ทั้งการงาน และการดำเนินชีวิต ควรพิจารณาถึง 3 ห่วง ดังนี้<br />\n</strong></span>  </span><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ความพอประมาณ</span></span></span></strong><span style=\"color: #000000\"> <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป และไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ความพอดีของแต่ละคน แต่ละครอบครัว แต่ละองค์กรย่อมไม่เหมือนกัน เราต้องประมาณรู้ของเราเองว่า อัตภาพขอ<span style=\"color: #000000\"></span>งเราอยู่ตรงไหน</span>                                <br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ความมีเหตุผล</span></span></strong> <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง  ความคิดทบทวนอย่างรอบคอบ ความพิจารณาจากเหตุทุกอย่างที่เกี่ยวข้องและยังต้องคำนึงถึงผลที่ตามมาด้วย</span>                                                                                                                                                        <br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี</span></span></strong> <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง การรู้จักจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การเตรียมความพร้อม เพื่อรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอันมากที่อยู่เหนือการควบคุมของเรา</span></span>                                  \n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"> <img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/17.gif\" border=\"0\" /><br />\n</span><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">การตัดสินใจและการจะทำอะไรให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน</span></strong><br />\n</span><strong><span style=\"color: #0000ff\">ความรู้</span></strong> <span style=\"color: #ff00ff\">คือ ความรอบรู้ ในสิ่งที่จะทำอย่างถ่องแท้ รอบด้าน และใช้ความรู้ให้เหมาะสมกับกาละเทศะ</span>                                   <br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>คุณธรรม</strong> </span><span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง ความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต รู้จักการแบ่งปัน ไม่โลภและไม่ตระหนี่ เป็นคนเก่งอย่างเดียวไม่พอ ต้องเป็นคนดีด้วย ความเก่งและความดีของเราจะเอื้อประโยชน์แก่ตัวเราและสังคม</span></span></p>\n<p></p></span>      <span style=\"color: #0000ff\">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่างลึกซึ้งและกว้างไกล ได้ทรงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้มีความ &quot; พออยู่พอกิน&quot; และมีความอิสระที่จะอยู่ได้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวิเคราะห์ว่าหากประชาชนพึ่งตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้างประเทศชาติโดยส่วนรวมได้ในที่สุด พระราชดำรัสที่สะท้อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งในตนเองของประชาชนและสามารถทำมาหากินให้พออยู่พอกินได้                                                                                                <br />\n    ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นนี้จึงทำให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนในแนวพระราชดำริของ &quot;เศรษฐกิจพอเพียง&quot; ซึ่งได้ทรงคิดและตระหนักมาช้านาน เพราะหากเราไม่ไปพี่งพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได้ครอบงำความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่มั่นคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังนั้น &quot;เศรษฐกิจพอเพียง&quot; จึงได้สื่อความหมาย ความสำคัญในฐานะเป็นหลักการสังคมที่พึงยึดถือ</span>                                                                                                                                                                                                                              <span style=\"color: #000000\"><img height=\"30\" width=\"330\" src=\"/files/u3818/016.gif\" border=\"0\" /><br />\n</span>\n\n<p>\n</p></div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1</a>   <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2</a>    <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\" class=\"menu\">แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง</a></span></strong> \n</p>\n<p>\nหมดหน้า 2 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 3\n</p>\n<p align=\"center\">\n                    <span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #000080\">  </span> <br />\n<img height=\"63\" width=\"496\" src=\"/files/u3818/24.gif\" border=\"0\" /></strong></span></p>\n<p>\n</p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"185\" width=\"219\" src=\"/files/u3818/untitled5.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 237px; height: 177px\" /><img height=\"163\" width=\"191\" src=\"/files/u3818/untitled4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 237px; height: 177px\" />\n</div>\n<p>\n        <span> <span style=\"color: #ff00ff\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/18.gif\" border=\"0\" /></strong>\n</div>\n<p>\n  <span style=\"color: #0000ff\"> ที่มาแห่งพระราดำริ ทฤษฎีใหม่ แรงดลพระราชหฤทัยในเรื่องนี้เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรในภาคอีสานบริเวณพื้นที่บ้านกุดตอแก่น ตำบลกุกสิมคุ้มใหญ่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อวันที่ 25 พฤษศจิกายน 2535 พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสแก่บรรดาคณะบุคคลต่างๆที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคลในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 4 ธันวาคม 2535 สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ถึงแรงดลพระราชหฤทัยเรื่องการเกษตรทฤษฎีใหม่ว่า ...ถามชาวบ้านที่อยู่ที่นั่นว่า เป็นอย่างไรบ้างปีนี้ เขาบอกว่าเก็บเกี่ยวข้าวได้ แล้วข้าวก็อยู่ตรงนั้นกองไว้ เราก็ไปดูข้าว ข้าวนั้นมีรวงจริงแต่ไม่มีเมล็ดหรือรวงหนึ่งมีสักสองสามเมล็ด ก็หมายความว่า 1 ไร่ คงได้ซักประมาณซักถังเดียวหรือไม่ถึงถังต่อไร่ ถามเขาทำไมเป็นอย่างนี้ เขาบอกว่าไม่มีฝนเขาปลูกกล้าไว้แล้ว เมื่อขึ้นมาปักดำไม่ได้เพราะว่าไม่มีน้ำ ฉะนั้น โครงการที่จะทำมิใช่จะต้องทำโครงการใหญ่โตมากนักจะได้ผล ทำเล็กก็ได้ จึงเกิดความคิดขึ้นมาว่าในที่เช่นนั้น ฝนดีพอสมควร แต่ลงมาไม่ถูกระยะเวลา...ฝนทิ้งช่วง ข้าวก็ไม่ดี...<br />\n</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">   การเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเป็นจุดเริ่มต้นของหลักการเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการจัดการเรื่องดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็ก นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด   สรุปแนวพระราชดำริได้ ดังนี้                    <br />\nเกษตรกรส่วนใหญ่ถือครองที่ดินที่มีขนาดเล็กเฉลี่ยครอบครัวละ 15 ไร่ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วนเพื่อใช้ในการทำการเกษตรให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าดังนี้</span></span>                                                                                                                              </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><strong>1.พื้นที่สระน้ำ ร้อยละ 30</strong></span> ใช้เลี้ยงปลาและกักเก็บน้ำไว้ใช้ในการอุปโภค </p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.พื้นที่ปลูกพืชไร่ พืชสวน ร้อยละ 30</strong></span> เช่น ปลูกพืชผักสวนครัว กล้วย มะละกอ </p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff\">3.พื้นที่ทำนา ร้อยละ 30 <br />\n</span></strong><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>4.พื้นที่ ที่อยู่อาศัย ร้อยละ 10</strong></span>  ใช้ปลูกบ้าน ลานเอนกประสงค์ใช้เลี้ยง เป็ด ไก่ </p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ประการที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง<br />\n</span></strong><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">1. พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป <br />\n2. พออยู่พอใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้ำถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ำยาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล) <br />\n3. พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด <br />\n&quot; การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง &quot; &quot;เศรษฐกิจพอเพียง&quot; จะสำเร็จได้ด้วย &quot;ความพอดีของตน&quot;</span></p>\n<p><img height=\"94\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/mean-17.jpg\" border=\"0\" /><img height=\"216\" width=\"200\" src=\"/files/u3818/pic-021_0.jpg\" border=\"0\" /><img height=\"97\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic14-03-1.jpg\" border=\"0\" /><br />\n  <img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 244px; height: 47px\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 308px; height: 47px\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1</a>   <a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\" class=\"menu\"> <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" />สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2</a>   <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\" class=\"menu\"> แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง<br />\n</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\nหมดหน้า 3 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 4\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong></strong></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"59\" width=\"367\" src=\"/files/u3818/12.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p> \n</p>\n<p>                 <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /> <img height=\"3\" width=\"459\" src=\"/files/u3818/bar19.gif\" border=\"0\" /> <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /> </p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"80\" width=\"107\" src=\"/files/u3818/a19.gif\" border=\"0\" /><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 32px; height: 50px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 38px; height: 50px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 32px; height: 48px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 30px; height: 36px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 36px; height: 46px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 38px; height: 50px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 48px; height: 70px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 38px; height: 50px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 30px; height: 43px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 34px; height: 50px\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img height=\"56\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/flower006.gif\" border=\"0\" style=\"width: 38px; height: 58px\" /><img height=\"80\" width=\"107\" src=\"/files/u3818/a19.gif\" border=\"0\" /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span></strong></span></span><br />\n<img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/19.gif\" border=\"0\" /></strong> <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ทำการทดลอง ทฤษฎีใหม่ เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรขึ้น ณ วัดมงคลชัยพัฒนา ตำบลห้วยบง อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี แนวทฤษฎีใหม่ที่กำหนดขึ้นให้แบ่งพื้นที่ครองทางการเกษตรซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วเกษตรกรไทยมีเนื้อที่ดินประมาณ 10 - 15 ไร่ต่อครอบครัวแบ่งออกเป็นสัดส่วน</span>                                              </span></span>\n</p>\n<p>\n <img height=\"105\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/k3.jpg\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/20_0.gif\" border=\"0\" /> </span>\n</p>\n<p>\n                <img height=\"105\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/k2.jpg\" border=\"0\" /><span style=\"color: #0000ff\"> <img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/21.gif\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p>\n <img height=\"105\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/k6.jpg\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"35\" width=\"297\" src=\"/files/u3818/22.gif\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n     <img height=\"104\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/k5.jpg\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"35\" width=\"353\" src=\"/files/u3818/23_0.gif\" border=\"0\" />\n<p>\n</p></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ff00\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">การผลิตตามทฤษฎีใหม่สามารถเป็นต้นแบบการคิดในการผลิตที่ดีได้ ดังนี้ <br />\n</span></strong><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">1. การผลิตนั้นมุ่งใช้เป็นอาหารประจำวันของครอบครัว เพื่อให้มีพอเพียงในการบริโภคตลอดปี เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวันและเพื่อจำหน่าย                                                                                                                                     <br />\n                                                                                                                                    <br />\n2. การผลิตต้องอาศัยปัจจัยในการผลิต ซึ่งจะต้องเตรียมให้พร้อม เช่น การเกษตรต้องมีน้ำ การจัดให้มีและดูแหล่งน้ำ จะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งการผลิต และประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ                                                                                       \n<p> 3 . ปัจจัยประกอบอื่น ๆ ที่จะอำนวยให้การผลิตดำเนินไปด้วยดี และเกิดประโยชน์เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมให้เกิดความ   ยั่งยืนในการผลิต จะต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายทั้ง เกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับเศรษฐกิจการค้า และให้ดำเนินกิจการควบคู่ไปด้วยกันได้</p></span></span>                                                                                                           <br />\n <br />\n<img height=\"85\" width=\"160\" src=\"/files/u3818/SPARROW.gif\" border=\"0\" style=\"width: 48px; height: 24px\" /> <img height=\"36\" width=\"36\" src=\"/files/u3818/QUASBUTN.gif\" border=\"0\" />  <img height=\"64\" width=\"80\" src=\"/files/u3818/SUNUP.gif\" border=\"0\" style=\"width: 135px; height: 64px\" />\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n  <img height=\"24\" width=\"450\" src=\"/files/u3818/m2.gif\" border=\"0\" /> \n<p><strong><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1</a>   <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /> <a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2 </a>   <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\" class=\"menu\">แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง</a><br />\n</span></strong>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\nหมดหน้า 4 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 5\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"44\" width=\"170\" src=\"/files/u3818/r4.jpg\" border=\"0\" /> </p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff\">1.การพึ่งพาตนเองเป็นหลัก</span></strong> <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง การนำทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตให้มากที่สุด เช่น ที่ดิน เครื่องมือทางการเกษตร แรงงานสมาชิกในครอบครัว เพื่อนำมาใช้เพิ่มผลผลิตและสนองความต้องการพื้นฐานอย่างพอประมาณ พอดี ไม่ฟุ้งเฟ้อ โดยพึ่งพาปัจจัยภายนอกที่ตนไม่ได้เป็นเจ้าของให้น้อยที่สุด แต่เน้นการพึ่งพาตนเอง ไม่ให้เป็นภาระของผู้อื่น</span>                                </p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff\">2.การพึ่งพากันเองเป็นหลัก</span></strong> <span style=\"color: #ff00ff\">หมายถึง การรวมกลุ่มซึ่งกันและกันของชาวบ้าน เช่น การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การร่วมมือกันทำงานสินค้าหัตถกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีชาวบ้านหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ครอบครัวมีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และส่งผลให้ท้องถิ่นหรือชุมชนมีความเข้มแข็งตามมาในที่สุด</span></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3.มีหลักการจัดการที่ดี</strong></span> <span style=\"color: #ff00ff\">การดำเนินชีวิตในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จะต้องมีหลักการบริหารและการจัดการที่ดี เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย โดยนำความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์มาใช้บริหารและจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า เช่น มีที่ดินจำกัดแต่สมารถนำมาใช้เพิมผลผลิตและเพิมรายได้ให้แก่ครอบครัวได้อย่างเต็มที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองคืออะไร</span> <br />\n</span></strong>&quot;เศรษฐกิจพอเพียง&quot;เป็นหลักปรัชญาที่ใช้ในการดำเนินชีวิตให้อยู่รอดตามกระแสพระราชดำริของพระบาท- <br />\nสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งการจะดำเนินชีวิตให้อยู่รอดในภาวะวิกฤติของประเทศเช่นนี้ จะต้องมีหลักปฏิบัติที่ทำให้เกิดความ <br />\nเป็นจริงขึ้นมาให้ได้ คำว่า &quot;เกษตรทฤษฎีใหม่&quot; ได้ถูกกำหนดขึ้นมาเพื้อใช้เป็นหลักปฏิบัติที่มีรากฐานมาจากปรัชญา <br />\n&quot;เศรษฐกิจพอเพียง&quot;อันเป็นที่มาของแนวคิดและยุทธศาสตร์&quot;เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง&quot; ของกระทรวง <br />\nมหาดไทย ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือและกระบวนกาพัฒนาความคิด ทัศนคติ พฤติกรรม และระบบการผลิตในการดำรงชีวิตของชุมชน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span> <strong><span style=\"color: #0000ff\">ความหมายของเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง แบ่งออกเป็น 2 นัย คือ <br />\n</span></strong><span style=\"color: #ff00ff\">1. ความหมายเชิงวิชาการ หมายถึง การผลิต การแปรรูป การค้า และการบริหาร ที่ผู้อยู่ในกระบวนการมุ่งหวังผล <br />\nกำไรในรูปตัวเงิน แต่ในขณะเกียวกันก็ตระหนักถึงคาวมพึงพอใจ ที่แม้ว่าจะได้เงินเล็กน้อยแต่ตนเองและครอบครัว และชุมชน ดำรงอยู่อย่างรู้รักสามัคคี มั่นคงปลอดภัย <br />\n2. ความหมายเชิงปฎิบัติหมายถึง การผลิตการแปรรูป การบริโภค การค้า และการบริหาร ที่เป็นการตัดสินใจดำเนิน <br />\nการของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง<br />\n</span></strong><span style=\"color: #ff00ff\">จากแนวทางทฤษฎีใหม่ กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดยุทธศาสตร์ <br />\nการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป็นนโยบายหลัก 5 ประการ และกิจกรรมหลัก 9 ประการคือ <br />\n1. ยึดชุมชนเป็นหลัก โดยเริ่มจากการส่งเสริมการผลิตขั้นพื้นฐานตามแนวทฤษฎีใหม่ขึ้นที่ 1 เป็นการทำการเกษตรผสมผสาน และเป็นการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลัก <br />\n2. การรวมกลุ่มจะใช้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือ โดยเริ่มที่กองทุนชุมชน และนำทุนไปใช้ในกิจกรรมการแปรรูป <br />\nผลผลิต หรือกลุ่มอาชีพ และมีร้านค้า หรือสหกรณ์ดำเนินการค้า การซื้อและการขาย <br />\n3. ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายของกลุ่มขึ้น และจัดทำผังองค์กรเครือข่าย และส่งเสริมการรเรียนรู้กระบวนการที่ประสบผลสำเร็จ <br />\n4. จัดให้มีตลาดนัดชุมชนหรือลานค้าชุมชนในทุกอำเภอ เพื่อให้เกษตรกรหรือกลุ่มอาชีพนำผลผลิตออกจำหน่าย <br />\n5. จัดให้มีการประชุมประชาคมเศรษฐกิจหรือเวทีประชาชน เป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นปรึกษาหารือ ในลักษณะ <br />\n&quot;คิดเอง ทำเอง&quot; ระหว่าง &quot;เพื่อน&quot; ด้วยกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>กิจกรรมเกษตรชุมชน <br />\n</strong></span><span style=\"color: #ff00ff\">1. การเกษตรผสมผสาน (ทฤษฎีใหม่) <br />\n2. การจัดลานค้าชุมชนหรือตลาดนัดชุมชน <br />\n3. การสร้างเครือข่ายร้านค้าชุมชน <br />\n4. การพัฒนากลุ่มอาชีพ <br />\n5. การทำผังเครือข่ายองค์กรชุมชน <br />\n6. การพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน <br />\n7. การจัดทำประชาคมอำเภอ <br />\n8. จัดตั้งศูนย์บริการด้านการเกษตร <br />\n9. ดำเนินการกลุ่มออมทรัพย์ และจัดทุนหมุนเวียนในชนบท </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">    <span style=\"color: #0000ff\">แนวคิดโดยองค์รวมของหลักการตามทฤษฎีใหม่เป็นหัวใจของการพัฒนาได้แก่ การวามสมดุลระหว่างแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจระบบตลาด การปรับเปลี่ยนแนวคิดของระบบราชการในเรื่องการพัฒนาท้องถิ่น โดยต้องฟังความต้องการของชุมชน การมองการพัฒนาสังคมที่ไม่แยกส่วนแยกด้านว่าด้านใดสำคัญกว่าด้านใค แต่พยายามมองการพัฒนาสังคมเป็นองค์รวมที่มีมิติหลายๆ อย่างปะปนกันหลักการทฤษฎีใหม่เป็นการผสมผสานการจัดการแบบท้องถิ่นกับภูมิปัญญาดั้งเดิมที่มีอยู่และเทคนิควิธีทางวิชาการสมัยใหม่ ลักษณะสำคัญของหลักทฤษฎีใหม่ คือ มีความยืดหยุ่นสามารถปรับให้เข้ากับแต่ละสภาพแวดล้อมได้<br />\n    การเกษตรผสมผสานเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้เกษตรกรผู้มีที่ดินขนาดเล็กรู้จักการผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเองได้ตามแนวทางทฤษฎีใหม่โดยภาครัฐจะต้องเข้าไปช่วยเหลือ สนับสนุนให้เกษตรกรมีการจัดแปลงไร่-นาให้มีความเหมาะสมและมีสระน้ำในแปลงไร่ - นา รวมทั้งมีการบริหารที่ดินให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพตลอดจนประหยัดที่สุด</span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"206\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/0014-06-3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 150px; height: 85px\" /><img height=\"54\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/pic-020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 150px; height: 51px\" /><img height=\"50\" width=\"100\" src=\"/files/u3818/dd03_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 119px; height: 50px\" /> <img height=\"151\" width=\"150\" src=\"/files/u3818/0014-06-4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 150px; height: 84px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 244px; height: 47px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" border=\"0\" /> </p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1</a>    <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\" class=\"menu\">สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2</a>   <a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\" class=\"menu\"> <img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" />แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง</a></span></strong>\n</p>\n<p></p>\n<p>\nหมดหน้า 5 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 6\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"127\" width=\"374\" src=\"/files/u3818/welcome2.gif\" border=\"0\" /><img height=\"288\" width=\"261\" src=\"/files/u3818/3_1.gif\" border=\"0\" style=\"width: 89px; height: 161px\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"67\" width=\"67\" src=\"/files/u3818/t1.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"48\" width=\"400\" src=\"/files/u3818/t.gif\" border=\"0\" /></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\"><span style=\"color: #0000ff\">สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ชุดที่ 1</span></a></span></span></strong><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: medium\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: medium\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\"><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /></span></span><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit2.html\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ชุดที่ 2</span></strong> </span></a><br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: medium\"><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit1.html\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a><img height=\"6\" width=\"9\" src=\"/files/u3818/jud.gif\" border=\"0\" /></span></span><a target=\"_blank\" href=\"http://www.nwp.ac.th/krusit/test.html\"><span style=\"color: #0000ff\">แบบทดสอบความรู้เศรษฐกิจพอเพียง</span></a></span></strong></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/ROSE-Y.gif\" border=\"0\" style=\"width: 34px; height: 45px\" /><img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" border=\"0\" style=\"width: 269px; height: 47px\" /><img height=\"47\" width=\"300\" src=\"/files/u3818/Jua_4_10.gif\" border=\"0\" style=\"width: 241px; height: 47px\" /><img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u3818/ROSE-Y.gif\" border=\"0\" style=\"width: 34px; height: 45px\" /><br />\n<img height=\"16\" width=\"482\" src=\"/files/u3818/flowerbar03.gif\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n', created = 1714731072, expire = 1714817472, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8c2b7af0722b196a81832646b13a7d14' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต

รูปภาพของ krusit

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


 

 
เศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต

 

     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ทรงได้มีมหากรุณาธิคุณอธิบายเพิ่มเติมว่า "...ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงและทำได้เศษหนึ่งส่วนสี่เท่านั้นจะพอนั้น ไม่ได้แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่ แต่เป็นเศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ...
     จากนั้นได้ทรงขยายความ คำว่า "พอเพียง" เพิ่มเติมต่อไปว่า หมายถึง "พอมีพอกิน"  "...พอมีพอกิน" ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกินก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี..." ทรงเปรียบเทียบคำว่า พอเพียง กับคำว่า Self-Sufficiency ว่า "Self-Sufficiency " นั้น หมายความว่า ผลิตอะไร มีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่นอยู่ได้ด้วยตัวเอง...เป็นไปตามที่เค้าเรียกว่ายืนบนขาตัวเอง...

     เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อแก้ไข ปัญหาความยากจนของเกษตรกร ซึ่งมักประสบปัญหาความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ ทั้งฝนแล้ง น้ำท่วม ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และราคาผลผลิตตกต่ำ ทรงมีพระราชดำริที่จะพัฒนาให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอมี พอกิน พึ่งตนเองได้ และไม่เป็นหนี้สิน
     ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยต้องประสบปัญหาวิกฤติกาลทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ได้รับผลกระทบทั้งผู้ประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคเกษตรกรรม เกิดปัญหาการว่างงาน อย่างรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนได้รับความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า
     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้รับพระราชทานพระราชดำรัส เศรษฐกิจพอเพียง โดยนำหลักการและวิธีการที่เคยใช้ในภาคเกษตรกรรมมาประยุกต์ใช้ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรทุกสาขาวิชาชีพ ให้แก้ไขปัญหาโดยปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตใหม่ เน้นการดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ พออยู่ พอกิน เดินทางสายกลาง มีความพอดี และสามารถพึ่งพาตนเองได้
แนวพระราชดำริทั้งหลายดังกล่าวข้างต้นนี้ แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระสติปัญญา ตรากตรำพระวรกาย เพื่อค้นคว้าหาแนวทางการพัฒนาให้พสกนิกรทั้งหลายได้มีความร่มเย็นเป็นสุขสถาพรยั่งยืนนาน นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงที่ได้พระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลามากกว่า 50 ปี จึงกล่าวได้ว่าพระราชกรณียกิจของพระองค์นั้นสมควรอย่งยิ่งที่ทวยราษฎรจักได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ตามที่ทรงแนะนำ สั่งสอน อบรมและวางแนวทางไว้เพื่อให้เกิดการอยู่ดีมีสุขโดยถ้วนเช่นกัน โดยการพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขึ้นตอนต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตาหลักวิชาการ
เพื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้
     หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ คำตอบของการอยู่รอด และหนทางสู่ความสุขของคนไทยทุกคนในวันนี้
3 ห่วง 2 เงื่อนไข จะอยู่ในจิตสำนึกของเรา และนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองอย่างจริงจัง

  
 



สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 1        สื่อการเรียนการสอน ชุดที่ 2       แบบทดสอบเศรษฐกิจพอเพียง
  

หมดหน้า 1

สร้างโดย: 
ครูสิทธิ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 513 คน กำลังออนไลน์