• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:12cd070fb707b537e2d7bbca4df1df12' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u4658/156_222_admintion_0.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n วิธีการแอดมิชชั่น    \n</p>\n<p>\n ดังนั้นในปีนี้  อาจารย์แนะแนวในหลายๆ ที่จะแนะนำให้นักเรียนบวกค่าเฟ้อถึง ๑๐ %  ซึ่งก็ไม่เป็นเรื่องที่ดูเกินกว่าเหตุที่คะแนนในปีนี้จะมีโอกาสเพิ่มขึ้นได้สูงมาก  จึงมีผลต่อการเลือกอันดับทั้ง ๔ อันดับของน้องๆ  เพราะต้องคำนวนถึงคะแนนในส่วนตรงนี้ด้วย\n</p>\n<p>\n       สำหรับการเลือกคณะ ๔ อันดับ  พี่หยกก็มีเกณฑ์ในการช่วยพิจารณาง่ายๆ มาฝากกันนะครับ  โปรดใช้วิจารณญาณในการพิจารณาข้อมูลนี้นะครับ\n</p>\n<p>\nอันดับ ๑ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๑๐ เพื่อให้พอลุ้นกับอันดับนี้  แต่ใครที่อยากลองเสี่ยงเลือกคณะในฝันตัวเองก็ไม่ว่ากันนะครับ  สิทธิ์ในการตัดสินใจเป็นของน้องเอง <br />\nอันดับ ๒ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๑๕ เพื่อให้ได้ลุ้นกับอันดับนี้  แต่ใครจะยิ่งมากกว่าได้ก็ยิ่งดี  แต่ใครจะน้อยกว่า +๑๕ ก็ไม่ว่ากันนะครับ <br />\nอันดับ ๓ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๒๐ เพื่อให้ค่อนข้างปลอดภัยกับอันดับนี้  เพื่อสร้างความปลอดภัยจากความเสี่ยงในการเลือกคณะครับ <br />\nอันดับ ๔ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๒๖ เพื่อให้ปลอดภัยกับอันดับนี้  อย่างน้อยเราก็จะได้ปลอดภัยกับการเลือก ๔ อันดับครับ<br />\n       ย้ำว่าวิธีการนี้เป็นวิธีที่เก็บข้อมูลจากสถิติและการพิจารณาส่วนบุคคล  ไม่เชื่อ  ไม่ใช้  ไม่ว่ากันนะครับ\n</p>\n<p>\n       นอกจากนั้นในส่วนของความนิยมในการเลือกคณะ  ปีนี้คณะทางด้านสายศิลป์ค่อนข้างมากแรง  ใครที่ไม่ต้องการแข่งขันสูงแนะนำว่าให้หลีกเลี่ยง  อีกทั้งคณะที่ใช้คะแนนเอเนทน้อย  ใช้โอเนทเยอะ  หรือใช้แต่เพียงโอเนทอย่างเดียวเท่านั้น  ก็เป็นอีกประเภทคณะที่ได้รับความนิยม  นอกจากนั้นใครที่พยายามเลือกมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค  ก็จะมีอัตราการแข่งขันน้อยกว่า  คนที่เลือกแต่มหาวิทยาลัยในส่วนกลาง  ปัจจุบันคุณภาพของมหาวิทยาลัยในต่างจังหวัดก็ไม่ต่างอะไรกับมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ แล้ว  มิหนำซ้ำสภาพแวดล้อมก็น่าอยู่น่าเรียนกว่ามหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ด้วยซ้ำไป\n</p>\n<p>\n       สุดท้ายนี้มหาวิทยาลัยไหน  คณะใดจะดีที่สุด  ก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของน้องๆ เองแล้วนะครับ  เส้นชัยอยู่ไม่ไกล  กำลังใจอยู่ข้างหลัง  ความหวังอยู่แค่เอื้อม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการคิดคะแนนในการคัดเลือก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n     การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง (Admissions) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กำหนดให้พิจารณาคัดเลือกผู้สมัครโดยใช้\n</p>\n<p>\n     1. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีค่าน้ำหนักร้อยละ 10\n</p>\n<p>\n     2. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ( 3 – 5 กลุ่ม )ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 20\n</p>\n<p>\n     3. ผลการสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 35 - 70\n</p>\n<p>\n     4. ผลการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง (A-NET ) และ / หรือวิชาเฉพาะ ไม่เกิน 3 วิชา ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 0 - 35\n</p>\n<p>\n     5. ผลการสอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความพร้อมและความเหมาะสม ก่อนรับเข้าศึกษา ไม่คิดค่าน้ำหนักคะแนน\n</p>\n<p>\n     การกำหนดสัดส่วนค่าน้ำหนักระหว่างคะแนนวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะให้คิดตามที่ คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนดไว้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการคิดคะแนนสอบวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ\n</p>\n<p>\n  \n</p>\n<p>\n       คะแนนทุกวิชาที่นำมาคิดจะต้องผ่านเกณฑ์ที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนดไว้ หากไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ จะ ไม่รับพิจารณา\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     1.  ให้นำคะแนนสอบวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ ของผู้สมัคร คูณกับค่าน้ำหนัก ของ แต่ละวิชาที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนด\n</p>\n<p>\n     2.  นำคะแนนที่คูณกับค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วตามข้อ 1 มารวมกัน จะได้คะแนนรวมวิชา O-NETวิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ\n</p>\n<p>\n     3.  คะแนนเต็มแต่ละวิชามีค่าเท่ากับ 100 คูณกับค่าน้ำหนักของวิชานั้นๆ\n</p>\n<p>\nวิธีการคิดคะแนน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์\n</p>\n<p>\nมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\n</p>\n<p>\n  \n</p>\n<p>\n      คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ กำหนดให้สอบ O-NET 5 วิชา และ วิชาเฉพาะ 1 วิชา คือ วิชา 01 02 03 04 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 8 และวิชา 38 ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 30\n</p>\n<p>\n     สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00, 05 = 87.00, 38 = 70.00\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้\n</p>\n<p>\n         คะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 8 ) = 504 , วิชา 02 ( 75.00 X 8 ) = 600 , วิชา 03 ( 71.00 X 8 ) = 568 , วิชา 04 ( 81.00 X 8 ) = 648 , วิชา 05 ( 87.00 X 8 ) = 696\n</p>\n<p>\n         คะแนนวิชาเฉพาะ วิชา 38 ( 70.00 X 30 ) = 2100\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน O-NET ( 504+600+568+648+696 ) = 3016 คะแนนวิชาเฉพาะ = 2100\n</p>\n<p>\n<br />\nตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะนิติศาสตร์ <br />\nมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <br />\n  \n</p>\n<p>\n      คณะนิติศาสตร์ กำหนดให้สอบ O-NET 3 วิชา และ A-NET 1 วิชา คือ วิชา 01 ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 18 วิชา 02 ให้ ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 19 วิชา 03 ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 18 และวิชา 14 ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 15\n</p>\n<p>\n     สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 14 = 57.00\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้\n</p>\n<p>\nคะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 18 ) = 1134 , วิชา 02 ( 75.00 X 19 ) = 1425 , วิชา 03 ( 71.00 X 18 ) = 1278\n</p>\n<p>\nคะแนน A-NET วิชา 14 ( 57.00 X 15 ) = 855\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน O-NET ( 1134+1425+1278 ) = 3837 คะแนน A-NET = 855\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ\n</p>\n<p>\nมหาวิทยาลัยเชียงใหม่\n</p>\n<p>\n   \n</p>\n<p>\n      คณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ กำหนดให้สอบ O-NET 5 วิชา และ วิชาเฉพาะ 2 วิชา คือวิชา 01 02 03 04 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 7 และวิชา 43 44 แต่ละวิชา ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 17.5\n</p>\n<p>\n      สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00, 05 = 87.00, 43 = 59.00, 44 = 60.00\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด <br />\n     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 7 ) = 441 , วิชา 02 ( 75.00 X 7 ) = 525 , วิชา 03 ( 71.00 X 7 ) = 497 , วิชา 04 ( 81.00 X 7 ) = 567, วิชา 05 ( 87.00 X 7 ) = 609\n</p>\n<p>\n     คะแนนวิชาเฉพาะ วิชา 43 ( 59.00 X 17.5 ) = 1032.50 , วิชา 44 ( 60.00 X 17.5 ) = 1050\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน O-NET ( 441+525+497+567+609 ) = 2639 คะแนนวิชาเฉพาะ ( 1032.50+1050 ) = 2082.50\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ\n</p>\n<p>\n  \n</p>\n<p>\n      ในการคัดเลือก กำหนดให้ใช้ผลการเรียนเฉลี่ยตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (GPAX)ร้อยละ 10 และผลการ เรียนเฉลี่ยตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายแยกตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ร้อยละ 20การคิดคะแนนส่วนนี้ให้คิดเทียบ คะแนนเต็มเป็น 100 คะแนน\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     1.  ให้นำผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) และผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) คูณด้วย 25 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ( คิดโดยเทียบ GPA = 4 มีค่าเท่ากับ 100 คะแนน  ดังนั้น GPA ของผู้สมัครจึงมีค่าเท่ากับ ( GPA ของผู้สมัคร X 100 หารด้วย 4 ) หรือ มีค่าเท่ากับ GPA ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 )\n</p>\n<p>\n     2.  ให้นำผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) และผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ที่แปลงค่าเป็นคะแนน แล้ว คูณกับ ค่าน้ำหนัก ของ GPAX และ GPA กลุ่มสาระตาม ที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนด\n</p>\n<p>\n     3.  นำค่าคะแนน GPA กลุ่มสาระ ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้ว มารวมกัน จะได้คะแนนรวม GPA กลุ่มสาระ\n</p>\n<p>\n     4.  คะแนนเต็ม GPAX เท่ากับ 100 X 10 = 1000 คะแนนเต็ม GPA กลุ่มสาระแต่ละกลุ่ม เท่ากับ 100 คูณด้วย ค่าน้ำหนักของกลุ่มสาระนั้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์\n</p>\n<p>\nสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์\n</p>\n<p>\nมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n     คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มสาระภาษาไทย (21) , สังคม (22) , ภาษาต่างประเทศ (23) , คณิตศาสตร์ (24) , วิทยาศาสตร์ (25) ) โดยคิดค่าน้ำหนัก กลุ่มสาระ 21 = 2.5, 22 = 2.5, 23 = 5, 24 = 5, 25 = 5\n</p>\n<p>\n     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,23 = 3.33, 24 = 2.69 , 25 = 3.65\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด <br />\n     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50, สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25 , คณิตศาสตร์ ( 2.69 X 25 ) = 67.25, วิทยาศาสตร์ ( 3.65 X 25 ) = 91.25\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 2.5 ) = 193.75 , สังคม ( 68.00 X 2.5 ) = 170.00 , ภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 5 ) = 416.25, คณิตศาสตร์ ( 67.25 X 5 ) = 336.25 , วิทยาศาสตร์ ( 91.25 X 5 ) = 456.25\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 193.75+170.00+416.25+336.25+456.25 ) = 1572.50\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ\n</p>\n<p>\nมหาวิทยาลัยเชียงใหม่\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\n     คณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 3 กลุ่ม คือ ภาษาไทย (21) , สังคม (22) ,ภาษาต่างประเทศ (23) โดยคิดค่าน้ำหนักกลุ่มสาระ 21 = 6, 22 = 6, 23 = 8\n</p>\n<p>\n     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,และ 23 = 3.33\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ ประกอบด้วยกลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50 , กลุ่มสาระ สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 6 ) = 465.00 , สังคม ( 68.00 X 6 ) = 408.00 , กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 8 ) = 666.00\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 465.00+ 408.00+666.00 ) = 1539\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะนิติศาสตร์\n</p>\n<p>\nมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์\n</p>\n<p>\n   \n</p>\n<p>\n     คณะนิติศาสตร์ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 3 กลุ่ม คือภาษาไทย (21) , สังคม (22) , ภาษาต่างประเทศ (23) โดยคิดค่าน้ำหนักกลุ่มสาระ 21 = 7, 22 = 6, 23 = 7\n</p>\n<p>\n     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,และ 23 = 3.33\n</p>\n<p>\n     วิธีคิด\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ ประกอบด้วยกลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50 , กลุ่มสาระ สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 7 ) = 542.50 , กลุ่มสาระสังคม( 68.00 X 6 ) = 408.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 7 ) = 582.75\n</p>\n<p>\n     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้\n</p>\n<p>\n     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50\n</p>\n<p>\n     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 542.50+ 408.00+582.75 ) = 1533.25\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการคิดคะแนนรวม\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\n     คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน GPA กลุ่มสาระ + คะแนน O-NET + คะแนน A-NET และ / หรือ คะแนนวิชาเฉพาะ\n</p>\n<p>\n     ตัวอย่าง\n</p>\n<p>\n     สมมุติผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , GPA กลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 , 23 = 3.33 , 24 = 2.69 , 25 = 3.65 , คะแนน O-NET วิชา 01 = 63.00 , 02 = 75.00 , 03 = 71.00 , 04 = 81.00 , 05 = 87.00 ,\n</p>\n<p>\n     คะแนน A-NET วิชา 14 = 57.00 , คะแนนวิชาเฉพาะ 38 = 70.00 , 43 = 59.00, 44 = 60.00\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726825115, expire = 1726911515, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:12cd070fb707b537e2d7bbca4df1df12' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิธีการแอดมิชชั่น

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


 

 วิธีการแอดมิชชั่น    

 ดังนั้นในปีนี้  อาจารย์แนะแนวในหลายๆ ที่จะแนะนำให้นักเรียนบวกค่าเฟ้อถึง ๑๐ %  ซึ่งก็ไม่เป็นเรื่องที่ดูเกินกว่าเหตุที่คะแนนในปีนี้จะมีโอกาสเพิ่มขึ้นได้สูงมาก  จึงมีผลต่อการเลือกอันดับทั้ง ๔ อันดับของน้องๆ  เพราะต้องคำนวนถึงคะแนนในส่วนตรงนี้ด้วย

       สำหรับการเลือกคณะ ๔ อันดับ  พี่หยกก็มีเกณฑ์ในการช่วยพิจารณาง่ายๆ มาฝากกันนะครับ  โปรดใช้วิจารณญาณในการพิจารณาข้อมูลนี้นะครับ

อันดับ ๑ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๑๐ เพื่อให้พอลุ้นกับอันดับนี้  แต่ใครที่อยากลองเสี่ยงเลือกคณะในฝันตัวเองก็ไม่ว่ากันนะครับ  สิทธิ์ในการตัดสินใจเป็นของน้องเอง
อันดับ ๒ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๑๕ เพื่อให้ได้ลุ้นกับอันดับนี้  แต่ใครจะยิ่งมากกว่าได้ก็ยิ่งดี  แต่ใครจะน้อยกว่า +๑๕ ก็ไม่ว่ากันนะครับ
อันดับ ๓ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๒๐ เพื่อให้ค่อนข้างปลอดภัยกับอันดับนี้  เพื่อสร้างความปลอดภัยจากความเสี่ยงในการเลือกคณะครับ
อันดับ ๔ คะแนนของเราควรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำอย่างน้อย +๒๖ เพื่อให้ปลอดภัยกับอันดับนี้  อย่างน้อยเราก็จะได้ปลอดภัยกับการเลือก ๔ อันดับครับ
       ย้ำว่าวิธีการนี้เป็นวิธีที่เก็บข้อมูลจากสถิติและการพิจารณาส่วนบุคคล  ไม่เชื่อ  ไม่ใช้  ไม่ว่ากันนะครับ

       นอกจากนั้นในส่วนของความนิยมในการเลือกคณะ  ปีนี้คณะทางด้านสายศิลป์ค่อนข้างมากแรง  ใครที่ไม่ต้องการแข่งขันสูงแนะนำว่าให้หลีกเลี่ยง  อีกทั้งคณะที่ใช้คะแนนเอเนทน้อย  ใช้โอเนทเยอะ  หรือใช้แต่เพียงโอเนทอย่างเดียวเท่านั้น  ก็เป็นอีกประเภทคณะที่ได้รับความนิยม  นอกจากนั้นใครที่พยายามเลือกมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค  ก็จะมีอัตราการแข่งขันน้อยกว่า  คนที่เลือกแต่มหาวิทยาลัยในส่วนกลาง  ปัจจุบันคุณภาพของมหาวิทยาลัยในต่างจังหวัดก็ไม่ต่างอะไรกับมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ แล้ว  มิหนำซ้ำสภาพแวดล้อมก็น่าอยู่น่าเรียนกว่ามหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ด้วยซ้ำไป

       สุดท้ายนี้มหาวิทยาลัยไหน  คณะใดจะดีที่สุด  ก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของน้องๆ เองแล้วนะครับ  เส้นชัยอยู่ไม่ไกล  กำลังใจอยู่ข้างหลัง  ความหวังอยู่แค่เอื้อม

 

การคิดคะแนนในการคัดเลือก

 

     การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง (Admissions) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กำหนดให้พิจารณาคัดเลือกผู้สมัครโดยใช้

     1. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีค่าน้ำหนักร้อยละ 10

     2. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ( 3 – 5 กลุ่ม )ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 20

     3. ผลการสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 35 - 70

     4. ผลการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง (A-NET ) และ / หรือวิชาเฉพาะ ไม่เกิน 3 วิชา ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 0 - 35

     5. ผลการสอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความพร้อมและความเหมาะสม ก่อนรับเข้าศึกษา ไม่คิดค่าน้ำหนักคะแนน

     การกำหนดสัดส่วนค่าน้ำหนักระหว่างคะแนนวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะให้คิดตามที่ คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนดไว้

 

การคิดคะแนนสอบวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ

  

       คะแนนทุกวิชาที่นำมาคิดจะต้องผ่านเกณฑ์ที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนดไว้ หากไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ จะ ไม่รับพิจารณา

     วิธีคิด

     1.  ให้นำคะแนนสอบวิชา O-NET วิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ ของผู้สมัคร คูณกับค่าน้ำหนัก ของ แต่ละวิชาที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนด

     2.  นำคะแนนที่คูณกับค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วตามข้อ 1 มารวมกัน จะได้คะแนนรวมวิชา O-NETวิชา A-NET และ / หรือวิชาเฉพาะ

     3.  คะแนนเต็มแต่ละวิชามีค่าเท่ากับ 100 คูณกับค่าน้ำหนักของวิชานั้นๆ

วิธีการคิดคะแนน

 

ตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  

      คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ กำหนดให้สอบ O-NET 5 วิชา และ วิชาเฉพาะ 1 วิชา คือ วิชา 01 02 03 04 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 8 และวิชา 38 ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 30

     สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00, 05 = 87.00, 38 = 70.00

     วิธีคิด

     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้

         คะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 8 ) = 504 , วิชา 02 ( 75.00 X 8 ) = 600 , วิชา 03 ( 71.00 X 8 ) = 568 , วิชา 04 ( 81.00 X 8 ) = 648 , วิชา 05 ( 87.00 X 8 ) = 696

         คะแนนวิชาเฉพาะ วิชา 38 ( 70.00 X 30 ) = 2100

     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน O-NET ( 504+600+568+648+696 ) = 3016 คะแนนวิชาเฉพาะ = 2100


ตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  

      คณะนิติศาสตร์ กำหนดให้สอบ O-NET 3 วิชา และ A-NET 1 วิชา คือ วิชา 01 ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 18 วิชา 02 ให้ ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 19 วิชา 03 ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 18 และวิชา 14 ให้ค่าน้ำหนักร้อยละ 15

     สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 14 = 57.00

     วิธีคิด

     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้

คะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 18 ) = 1134 , วิชา 02 ( 75.00 X 19 ) = 1425 , วิชา 03 ( 71.00 X 18 ) = 1278

คะแนน A-NET วิชา 14 ( 57.00 X 15 ) = 855

     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน O-NET ( 1134+1425+1278 ) = 3837 คะแนน A-NET = 855

 

ตัวอย่างการคิดคะแนนในคณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

   

      คณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ กำหนดให้สอบ O-NET 5 วิชา และ วิชาเฉพาะ 2 วิชา คือวิชา 01 02 03 04 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 7 และวิชา 43 44 แต่ละวิชา ให้ค่าน้ำหนัก ร้อยละ 17.5

      สมมุติให้ผู้สมัครได้คะแนนวิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00, 05 = 87.00, 43 = 59.00, 44 = 60.00

     วิธีคิด
     ขั้นที่ 1 นำคะแนนของผู้สมัครคูณกับค่าน้ำหนักแต่ละวิชา ดังนี้

     คะแนน O-NET วิชา 01 ( 63.00 X 7 ) = 441 , วิชา 02 ( 75.00 X 7 ) = 525 , วิชา 03 ( 71.00 X 7 ) = 497 , วิชา 04 ( 81.00 X 7 ) = 567, วิชา 05 ( 87.00 X 7 ) = 609

     คะแนนวิชาเฉพาะ วิชา 43 ( 59.00 X 17.5 ) = 1032.50 , วิชา 44 ( 60.00 X 17.5 ) = 1050

     ขั้นที่ 2 นำคะแนนที่คูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกัน จะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน O-NET ( 441+525+497+567+609 ) = 2639 คะแนนวิชาเฉพาะ ( 1032.50+1050 ) = 2082.50

 

การคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ

  

      ในการคัดเลือก กำหนดให้ใช้ผลการเรียนเฉลี่ยตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (GPAX)ร้อยละ 10 และผลการ เรียนเฉลี่ยตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายแยกตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ร้อยละ 20การคิดคะแนนส่วนนี้ให้คิดเทียบ คะแนนเต็มเป็น 100 คะแนน

     วิธีคิด

     1.  ให้นำผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) และผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) คูณด้วย 25 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ( คิดโดยเทียบ GPA = 4 มีค่าเท่ากับ 100 คะแนน  ดังนั้น GPA ของผู้สมัครจึงมีค่าเท่ากับ ( GPA ของผู้สมัคร X 100 หารด้วย 4 ) หรือ มีค่าเท่ากับ GPA ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 )

     2.  ให้นำผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) และผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ที่แปลงค่าเป็นคะแนน แล้ว คูณกับ ค่าน้ำหนัก ของ GPAX และ GPA กลุ่มสาระตาม ที่คณะ / ประเภทวิชานั้นๆ กำหนด

     3.  นำค่าคะแนน GPA กลุ่มสาระ ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้ว มารวมกัน จะได้คะแนนรวม GPA กลุ่มสาระ

     4.  คะแนนเต็ม GPAX เท่ากับ 100 X 10 = 1000 คะแนนเต็ม GPA กลุ่มสาระแต่ละกลุ่ม เท่ากับ 100 คูณด้วย ค่าน้ำหนักของกลุ่มสาระนั้น

 

ตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

     คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มสาระภาษาไทย (21) , สังคม (22) , ภาษาต่างประเทศ (23) , คณิตศาสตร์ (24) , วิทยาศาสตร์ (25) ) โดยคิดค่าน้ำหนัก กลุ่มสาระ 21 = 2.5, 22 = 2.5, 23 = 5, 24 = 5, 25 = 5

     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,23 = 3.33, 24 = 2.69 , 25 = 3.65

     วิธีคิด
     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50, สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25 , คณิตศาสตร์ ( 2.69 X 25 ) = 67.25, วิทยาศาสตร์ ( 3.65 X 25 ) = 91.25

     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 2.5 ) = 193.75 , สังคม ( 68.00 X 2.5 ) = 170.00 , ภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 5 ) = 416.25, คณิตศาสตร์ ( 67.25 X 5 ) = 336.25 , วิทยาศาสตร์ ( 91.25 X 5 ) = 456.25

     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 193.75+170.00+416.25+336.25+456.25 ) = 1572.50

 

ตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    

     คณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาการออกแบบ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 3 กลุ่ม คือ ภาษาไทย (21) , สังคม (22) ,ภาษาต่างประเทศ (23) โดยคิดค่าน้ำหนักกลุ่มสาระ 21 = 6, 22 = 6, 23 = 8

     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,และ 23 = 3.33

     วิธีคิด

     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ ประกอบด้วยกลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50 , กลุ่มสาระ สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25

     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 6 ) = 465.00 , สังคม ( 68.00 X 6 ) = 408.00 , กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 8 ) = 666.00

     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 465.00+ 408.00+666.00 ) = 1539

 

ตัวอย่างการคิดคะแนน GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ในคณะนิติศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

   

     คณะนิติศาสตร์ กำหนดให้ใช้ GPA กลุ่มสาระ 3 กลุ่ม คือภาษาไทย (21) , สังคม (22) , ภาษาต่างประเทศ (23) โดยคิดค่าน้ำหนักกลุ่มสาระ 21 = 7, 22 = 6, 23 = 7

     สมมุติให้ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , ผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 ,และ 23 = 3.33

     วิธีคิด

     ขั้นที่ 1 นำค่า GPAX และ GPA กลุ่มสาระ ของผู้สมัคร คูณด้วย 25 จะได้คะแนนดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 2.93 X 25 ) = 73.25

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ ประกอบด้วยกลุ่มสาระภาษาไทย ( 3.10 X 25 ) = 77.50 , กลุ่มสาระ สังคม ( 2.72 X 25 ) = 68.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 3.33 X 25 ) = 83.25

     ขั้นที่ 2 นำคะแนน GPAX และ คะแนน GPA กลุ่มสาระ คูณด้วยค่าน้ำหนักตามที่คณะ / ประเภทวิชากำหนด ดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) ( 73.25 X 10 ) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ กลุ่มสาระภาษาไทย ( 77.50 X 7 ) = 542.50 , กลุ่มสาระสังคม( 68.00 X 6 ) = 408.00 , กลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ ( 83.25 X 7 ) = 582.75

     ขั้นที่ 3 นำค่า GPA ที่แปลงเป็นคะแนนและคูณด้วยค่าน้ำหนักเรียบร้อยแล้วมารวมกันจะได้คะแนนรวมดังนี้

     คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 732.50

     คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยตามกลุ่มสาระ (GPA กลุ่มสาระ ) ( 542.50+ 408.00+582.75 ) = 1533.25

 

การคิดคะแนนรวม

    

     คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน GPA กลุ่มสาระ + คะแนน O-NET + คะแนน A-NET และ / หรือ คะแนนวิชาเฉพาะ

     ตัวอย่าง

     สมมุติผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย ( GPAX ) = 2.93 , GPA กลุ่มสาระ 21 = 3.10 , 22 = 2.72 , 23 = 3.33 , 24 = 2.69 , 25 = 3.65 , คะแนน O-NET วิชา 01 = 63.00 , 02 = 75.00 , 03 = 71.00 , 04 = 81.00 , 05 = 87.00 ,

     คะแนน A-NET วิชา 14 = 57.00 , คะแนนวิชาเฉพาะ 38 = 70.00 , 43 = 59.00, 44 = 60.00

 

สร้างโดย: 
พะยอม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 551 คน กำลังออนไลน์