• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6088d6fe3e17c33f2165ccfd77a976da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<em><span>ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล </em>\n</p>\n<p><em></em></p>\n<div align=\"center\">\n<hr id=\"null\" />\n</div>\n<p></p>\n<div>\n<div>\n<address>\n<span style=\"font-size: xx-large; color: #3366ff; font-family: andale mono,times\">   <span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: xx-large; color: #3366ff; font-family: andale mono,times\"> \n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"142\" src=\"/files/u4327/btoon01.jpg\" height=\"241\" style=\"width: 109px; height: 169px\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address>\n<span style=\"color: #3366ff\"> <span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: x-large\">สวัสดีครับ</span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: x-large\"><br />\n</span><u>ผมชื่อผมจุก</u></span></span></span> </span></span></span></address>\n</div>\n<p></p></span>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif\">   <span style=\"color: #99cc00\"> </span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #99cc00\">วันนี้ผมขอรับอาสาพาทุกคนไปรู้จักกับ</span> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">คำ </span><span style=\"color: #ff0000\">สั น ธ า น </span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #33cccc\">กันนะครับ ผมคิดว่าคงไม่ยากไปใช่ไหมครับ</span> </span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #33cccc\">ภาษาไทยเป็น</span></span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #33cccc\">ภาษาประจำชาติของพวกเรา</span>ซึ่งพวกเราควรรักษาไว้ให้คงอยู่คู่กับประเทศไทยไปชั่วรุ่นน้องๆของพวกเรานะครับ</span></span></span></span></span> </address>\n<p><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #33cccc\"></span></span></span></span></span></p>\n<address>\n<address>\n\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"370\" src=\"/files/u4327/reply-00000023843.gif\" height=\"42\" />\n</div>\n</address>\n</address>\n<p></p></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #33cccc\">\n<address>\n<address>\n<br />\n<span style=\"color: #ff9900\">    ก่อนที่เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง<span style=\"color: #ff0000\">คำสันธาน</span> </span><span>เราควรทราบถึง</span> <span style=\"color: #cc99ff\">ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง คำ</span> <span style=\"color: #cc99ff\">สั น ธ า น</span> <span style=\"color: #ff9900\">กันก่อนดีไหมครับ</span> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n     </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u4327/etoon42.jpg\" height=\"98\" style=\"width: 94px; height: 101px\" /></address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<br />\n </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n</address>\n</address>\n<address>\n<address>\n   <span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\">คำ สั น ธ า น </span></span><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\">คือ คำที่ทำหน้าที่<span style=\"color: #ff9900\">เชื่อมคำกับคำ</span> </span><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\">เชื่อม<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #00ccff\">ประโยคกับ</span></span><span style=\"color: #00ccff\">ประโยค</span> </span><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\">เชื่อม<span style=\"color: #ff00ff\">ข้อความกับข้อความ</span>หรือเชื่อม<span style=\"color: #3366ff\">ข้อความให้สละสลวย</span></span>  </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n</address>\n</address>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<address>\n<br />\n  \n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"370\" src=\"/files/u4327/reply-00000023843.gif\" height=\"42\" />\n</div>\n</address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">   ต่อไปเราจะไปรู้จักกับ</span> <span style=\"color: #ff00ff\">ห น้ า ที่ ข อ ง คำ สั น ธ า น</span> <span style=\"color: #99ccff\">กันนะครับ</span> </address>\n<address>\n</address>\n</div>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"214\" src=\"/files/u4327/T016.jpg\" height=\"338\" style=\"width: 107px; height: 193px\" /> </address>\n<address>\n<address>\n<br />\n ๑.<span style=\"color: #ff0000\">เชื่อมคำกับคำ</span> อาทิ คำว่า <span style=\"color: #99cc00\">หรือ กับ และ</span> </address>\n</address>\n<address>\n<span style=\"color: #99cc00\">\n<address>\n<br />\n<span style=\"color: #cc99ff\"><u>ตัวอย่างประโยค</u></span></address>\n<p></p></span>\n<address>\n<span style=\"color: #cc99ff\"> </span>      </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff99cc\"></span></address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\">๑.๑</span> <span style=\"color: #3366ff\">เธอชอบมะลิ<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\">หรือ</span></span></span>กุหลาบ</span><br />\n</span><span><br />\n๑.๒ ฉัน<span style=\"color: #cc99ff\">กับ</span>เขากำลังร้องเพลง<br />\n      <br />\n๑.๓ สมบัติปลูกกุหลาบ ซ่อนกลิ่น <span style=\"color: #cc99ff\">และ</span>จำปี<br />\n      <br />\n๑.๔ เด็กชายดำ<span style=\"color: #cc99ff\">กับ</span>เด็กชายแดงเรียนห้องเดียวกัน</span> </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4327/1177221249.gif\" height=\"120\" /> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n</address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<br />\n    </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u4327/995.gif\" height=\"30\" /> </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n</address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n</address>\n</address>\n<address>\n<address>\n       </address>\n</address>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u4327/T021.jpg\" height=\"293\" style=\"width: 121px; height: 177px\" /> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n                                         <br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">๒.</span><span style=\"color: #ff00ff\">เชื่อมข้อความกับข้อความ</span> <span style=\"color: #99cc00\">อาทิ คำว่า เพราะฉะนั้น และ...ด้วย</span></span><span style=\"font-size: medium; color: #99cc00\">เหตุนี้</span> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n</address>\n</address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium\">                                                                   <br />\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><u>ตัวอย่างประโยค<br />\n</u></span></span></span><span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\">                                        </span></span></span></span></address>\n<address>\n<span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\">๒.๑ การส่งเสียงดังในห้องสมุดเป็นการกระทำที่ไม่ดีรบกวนผู้อื่น </span></span></span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">เพราะฉะนั้น</span>จึงต้องมีกฎห้ามส่งเสียงดังติดประกาศไว้\n<p></p></span></span></span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\">๒.๒ คนเราต้องการอาหาร เสื้อผ้า </span></span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\">เครื่องนุ่งห่ม</span></span></span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\">ที่อยู่อาศัย</span></span></span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">และ</span></span></span><span style=\"color: #ff9900\">ยารักษาโรค</span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ด้วยเหตุนี้</span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\">เรา</span></span></span></span></span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff9900\">จึงจำเป็นต้องประกอบอาชีพเพื่อให้ได้</span></span></span></span><span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff9900\">เงินมาซื้อ</span></span></span></span><span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff9900\">สิ่งจำเป็นเหล่านี้</span></span></span> <br />\n<span style=\"font-size: medium; color: #ff9900\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></address>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></p>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4327/6981868gif.gif\" height=\"120\" /> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u4327/995.gif\" height=\"30\" />\n</div>\n</address>\n</address>\n<p></p></span></span>\n<address>\n<address>\n</address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\">      </span><span style=\"font-size: medium\">\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4327/HVfSq3960544-01.jpg\" height=\"100\" /> </address>\n</div>\n<div>\n<address>\n<br />\n<span style=\"color: #cc99ff\">๓.<span style=\"color: #ff6600\">เชื่อมประโยคกับประโยค</span> อาทิ คำว่า แต่ เพราะ จึง แต่ </span></address>\n</div>\n<p></p></span></address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\">      <br />\n<u>ตัวอย่างประโยค</u> </span></address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\">                                                          </span></address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\">๓.๑ พี่สวย<span style=\"color: #cc99ff\">แต่</span>น้องขี้เหร่</span></span></span></address>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\"></span></span></span></p>\n<address>\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">๓.๒ เขาเกียจคร้าน<span style=\"color: #cc99ff\">จึงสอบตก</span></span></span></address>\n<p></p></address></span></span></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\"><span style=\"color: #cc99ff\">\n<address>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">๓.๓ น้องไปโรงเรียนไม่ได้<span style=\"color: #cc99ff\">เพราะ</span>ไม่สบาย</span></address>\n<p></p></span></span>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\"><br />\n</span><span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">๓.๔ เธอชอบกินอาหารจืด<span style=\"color: #cc99ff\">แต่</span>ผมชอบอาหารรสจัด</span><span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">  <br />\n</span></address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/files/u4327/th_MixDiary_cat_4_0.gif\" height=\"110\" /> </p></address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address>\n<br />\n<span style=\"color: #33cccc\">       </span> </address>\n</div>\n<p></p></span>\n<div align=\"center\">\n<address>\n</address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u4327/995.gif\" height=\"30\" /> </address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<br />\n  </address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"197\" src=\"/files/u4327/T042.jpg\" height=\"267\" style=\"width: 111px; height: 165px\" /> </address>\n</div>\n<div>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium\">  <br />\n  <span style=\"color: #ff99cc\">๔. <span style=\"color: #ff00ff\">เชื่อมข้อความให้สละสลวย</span>  อาทิ คำว่า ก็</span></span> \n<p> <span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><u>ตัวอย่างประโยค</u></span></span></span> </p></address>\n</div>\n<div>\n<address>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\">๔.๑ เรา<span style=\"color: #ff99cc\">ก็</span>เป็นคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน<br />\n</span></span></address>\n</div>\n<div>\n<address>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: medium\">                    <br />\n๔.๒ คนเรา<span style=\"color: #ff99cc\">ก็</span><span style=\"color: #ff6600\">ต้อง</span>มีผิดพลาดบ้างเป็นธรรมดา</span> </span></address>\n</div>\n</address>\n<p></p></span></span></address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span></address>\n</address>\n<p><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span><span style=\"color: #ff6600\"></span><span style=\"color: #ff6600\"></span></p>\n<address>\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"78\" src=\"/files/u4327/th_MixDiary_cat_6.gif\" height=\"110\" /> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<u></u><u>\n<div align=\"center\">\n<address style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"370\" src=\"/files/u4327/reply-00000023843.gif\" height=\"42\" /> </address>\n<address style=\"text-align: center\">\n</address>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<address>\n<span style=\"color: #ff9900\"></span></address>\n</div>\n<p></p></u></address>\n</address>\n<p></p>\n<address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff9900\">    </span></address>\n<address>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\">             ต่อจากนี้ผมจุกจะพาน้องๆไปรู้จักกับ <span style=\"color: #cc99ff\">ช นิ ด ข อ ง คำ สั น ธ า น </span>กันนะครับ</span></span> </address>\n</address>\n<address>\n<address>\n<span style=\"font-size: medium\"></span></address>\n</address>\n<p>\n</p></div>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium; font-family: arial,helvetica,sans-serif\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n      \n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u4327/T018.jpg\" height=\"282\" style=\"width: 138px; height: 172px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><em>  </em></span><span style=\"color: #ff0000\"><em><span style=\"font-size: medium\">คำสันธานมี ๓ ชนิดคือ</span> </em></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"></span><span style=\"color: #99cc00\"><em><span style=\"font-size: medium\">๑.เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน ได้แก่คำว่า กับ , และ , ทั้ง...และ , ทั้ง...ก็ , </span><span style=\"font-size: medium\">ครั้น...ก็ , ครั้น...จึง , พอ...ก็ ฯลฯ</span> </em></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><em>   <br />\n</em><span style=\"color: #99ccff\"><em><u>ตัวอย่างประโยค<br />\n</u><br />\n๑.๑ ฉันชอบทั้งหมา<span style=\"color: #99cc00\">และ</span>แมวนั่นแหละ   <br />\n</em></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\"><em><span style=\"font-size: medium\">      <br />\n๑.๒ <span style=\"color: #99cc00\">ครั้น</span>ได้เวลาเธอ<span style=\"color: #99cc00\">จึง</span>ออกไปพูดบนเวที</span> </em></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\"><em>๑.๓ <span style=\"color: #99cc00\">พอ</span>พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าฝูงนก<span style=\"color: #99cc00\">ก็</span>บินกลับรัง<br />\n</em></span>\n</p>\n<p>\n<em><span style=\"color: #99ccff\">๑.๔ หนุ๋ย<span style=\"color: #99cc00\">และ</span>หนิงเป็นนักกีฬาทที่มีความสามรถมาก</span> </em>\n</p>\n<p></p>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<em>     <img border=\"0\" width=\"130\" src=\"/files/u4327/7133865gif.gif\" height=\"130\" /> </em>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u4327/995.gif\" height=\"30\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u4327/T037.jpg\" height=\"204\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #99cc00\">๒.</span>เชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คำว่า แต่ , แต่ว่า , แต่ทวา , ถึง...ก็ , กว่า...ก็ ฯลฯ</span> </em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #99cc00\"><u>ตัวอย่างประโยค</u></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #99cc00\"><u><br />\n</u></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #ff6600\"> </span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #ff6600\">๒.๑ เธอไม่สวย<span style=\"color: #00ccff\">แต่ว่า</span>นิสัยดี</span> </em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><br />\n</em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #ff6600\">๒.๒ เขาอยากรวย<span style=\"color: #00ccff\">แต่</span>ใช้เงินฟุ่มเฟือย</span> </em></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"color: #ff6600\">๒.๓ <span style=\"color: #00ccff\">กว่า</span>ตำรวจจะมาถึงคนร้าย<span style=\"color: #00ccff\">ก็</span>หนีไปแล้ว</span> </em></span>\n</p>\n<p><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></em></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n๒.๔ <span style=\"color: #00ccff\">ถึง</span>ฝนจะตกหนัก<span style=\"color: #00ccff\">แต่</span>ฉัน<span style=\"color: #00ccff\">ก็</span>เดินฝ่าสายฝนมาได้\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4327/6981870gif.gif\" height=\"120\" /></span></span> </em>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"><em></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: medium\"><em></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em></em></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: medium\"><em></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u4327/995.gif\" height=\"30\" /> </em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<em></em></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"136\" src=\"/files/u4327/T004.jpg\" height=\"120\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\">๓.</span><span style=\"color: #ff00ff\">เชื่อมใจความที่ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คำว่า หรือ , หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนั้น , มิฉะนั้นก็ , ไม่...ก็ ฯลฯ </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><em><u>ตัวอย่างประโยค<br />\n</u></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><em>๓.๑ <span style=\"color: #ff00ff\">ไม่</span>เธอ<span style=\"color: #ff00ff\">ก็</span>ฉันต้องจ่ายเงิน <br />\n</em></span><span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><em></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><em>๓.๒ คุณจะทานข้าว<span style=\"color: #ff00ff\">หรือ</span>ขนมปัง</em></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><em>๓.๓ ลูกต้องทำการบ้าน<span style=\"color: #ff00ff\">หรือไม่ก็</span>ช่วยแม่กวาดบ้าน </em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><em><br />\n๓.๔ เรา<span style=\"color: #ff00ff\">ต้อง</span>เลิกทะเลาะกัน<span style=\"color: #ff00ff\">มิฉะนั้น</span>งาน<span style=\"color: #ff00ff\">จะ</span>ไม่สำเร็จ <br />\n</em></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<em><span style=\"font-size: medium; color: #cc99ff\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4327/1177220251.gif\" height=\"120\" /></span>  </em>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<em><img border=\"0\" width=\"370\" src=\"/files/u4327/reply-00000023843.gif\" height=\"42\" /> </em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<em><span style=\"font-size: medium\"></span></em></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u4327/ac00000257_b.jpg\" height=\"348\" style=\"width: 255px; height: 297px\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #33cccc\">ต่อไปเราไปทำ<span style=\"color: #ff6600\">แบบฝึกหัด</span>เรื่อง <span style=\"color: #cc99ff\">คำ สั น ธ า น </span><span style=\"color: #33cccc\">เพื่อประเมินตนเอง</span><span style=\"color: #33cccc\">กันนะครับ</span></span> \n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\">๑. <span style=\"color: #ff9900\">คำ สั น ธ า น</span> มี<span style=\"color: #99cc00\">ความหมาย</span>ว่าอย่างไร</span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับข้อความหรือเชื่อมข้อความให้สละสลวย</span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\">****************</span></span></span></span>  </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff\">๒.<span style=\"color: #99cc00\">หน้าที่</span>ของ <span style=\"color: #ff6600\">คำ สั น ธ า น <span style=\"color: #3366ff\">มีอะไรบ้าง</span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย ๑.เชื่อมคำกับคำ</span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">๒.เชื่อมข้อความกับข้อความ</span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">๓.เชื่อมประโยคกับประโยค</span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">๔.เชื่อมข้อความให้สละสลวย</span></span></em><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: medium; color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n</span></span></em></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: medium; color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span></span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\"></span><em><span style=\"font-size: medium\"> <span style=\"font-size: medium; color: #339966\">๓. <span style=\"color: #ff9900\">&quot; <span style=\"color: #3366ff\">เธอชอบมะลิ<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\">หรือ</span></span></span>กุหลาบ &quot; <span style=\"color: #339966\">คำสันธานในประโยคนี้<span style=\"color: #3366ff\">ทำหน้าที่</span>อย่างไร</span></span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium\">เฉลย เชื่อมคำกับคำ</span></span></span></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\">๔.</span> <span style=\"color: #ff0000\">&quot; การส่งเสียงดังในห้องสมุดเป็นการกระทำที่ไม่ดีรบกวนผู้อื่น </span></span></em></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">เพราะฉะนั้น</span>จึงต้องมีกฎห้ามส่งเสียงดังติดประกาศไว้ &quot;</span></span></span></span></span></span></span> </span></em><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\">คำสันธานในประโยคนี้</span></span><span style=\"color: #ff9900\">ทำหน้าที่</span><span style=\"color: #33cccc\">อย่างไร</span></span></span></span></span></span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย เชื่อมข้อความกับข้อความ</span></span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #3366ff\"><span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff00ff\">๕.</span><span style=\"color: #339966\"> &quot; พี่สวย<span style=\"color: #cc99ff\">แต่</span>น้องขี้เหร่ &quot;</span><span style=\"color: #99cc00\"> </span><span style=\"color: #ff00ff\">คำสันธานในประโยคนี้</span><span style=\"color: #3366ff\">ทำหน้าที่</span><span style=\"color: #ff00ff\">อย่างไร</span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย เชื่อมประโยคกับประโยค</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span></span>  </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span><span style=\"color: #3366ff\"><span><span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\">๖. <span style=\"color: #99cc00\">&quot; คนเรา<span style=\"color: #ff99cc\">ก็</span><span style=\"color: #ff6600\">ต้อง</span>มีผิดพลาดบ้างเป็นธรรมดา &quot;</span> คำสันธานในประโยคนี้<span style=\"color: #3366ff\">ทำหน้าที่</span>อย่างไร</span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span><span style=\"color: #3366ff\"><span><span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\">เฉลย เชื่อมข้อความให้สละสลวย</span> </span></em></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span><span style=\"color: #3366ff\"><span><span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></em></p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\">๗. <span style=\"color: #33cccc\">&quot; ฉันชอบทั้งหมา<span style=\"color: #99cc00\">และ</span>แมวนั่นแหละ &quot;</span>  คำสันธานในประโยคนี้<span style=\"color: #cc99ff\">มีคำว่าอะไร</span>บ้าง</span> \n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย ทั้ง...และ</span></span></span></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\"><span><span><span style=\"color: #3366ff\"><span><span style=\"font-size: medium; color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #cc99ff\">๘.</span> </span></span></span></span></span></span></span></span> &quot; เธอไม่สวย<span style=\"color: #00ccff\">แต่ว่า</span>นิสัยดี  &quot; <span style=\"color: #cc99ff\">คำสันธานในประโยคนี้</span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\">มีคำว่าอะไร</span></span><span style=\"color: #cc99ff\">บ้าง</span></span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เฉลย แต่ว่า</span> </span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span><span style=\"font-size: medium; color: #3366ff\">๙.  <span style=\"color: #ff00ff\">&quot; </span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ไม่</span>เธอ<span style=\"color: #ff00ff\">ก็</span>ฉันต้องจ่ายเงิน &quot;</span> คำสันธานในประโยคนี้<span style=\"color: #cc99ff\">มี<span style=\"color: #33cccc\">คำว่าอะไร</span></span>บ้าง</span></span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium\"></span></span></span></span></span></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #000000\">เ<span style=\"color: #000000\">ฉลย ไม่...ก็</span></span></span></span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\">*******************</span> </span></em>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: medium; color: #ff6600\"><em><span style=\"font-size: medium\"></span></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #ff6600\"><em><span style=\"font-size: medium\"></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">   <span style=\"color: #008080\">  <u>แบบฝึกที่ ๒</u></span>                </span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">         <span style=\"color: #339966\"> คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว<br />\n    </span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #339966\">๑. คำว่า “ให้” ในข้อใดทำหน้าที่เหมือนคำสันธาน<br />\n        ก. วิชัยให้เงินแก่ลูก<br />\n        ข. ครูสอนให้เด็กเป็นคนดี<br />\n        ค. คุณพ่อสอนเทนนิสให้ฉัน<br />\n        ง. ครูคือผู้ให้ความรู้</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\">     ๒. คำสันธานในข้อใดวางอยู่หน้าประโยค<br />\n        ก. ทั้ง ๆ ที่ฉันรู้ว่าเขาร้ายกาจก็ยังรักเขา<br />\n        ข. เขาทำงานหนักจึงสร้างตัวขึ้นได้<br />\n        ค. เขาจะเป็นคนดีก็ตาม คนร้ายก็ตาม ลูกอย่าไปคบหาเขา<br />\n        ง. โปรดอย่าถามว่าฉันเป็นใครและฉันรักใคร</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">    <span style=\"color: #ff00ff\"> ๓. คำสันธานในข้อใดวางตำแหน่งในประโยคแตกต่างจากข้ออื่น<br />\n        ก. เมื่อเธอผิดหวังจงระลึกถึงฉัน<br />\n        ข. ถ้าไม่ไว้ใจกันจงไปเสียดีกว่า<br />\n        ค. ระหว่างที่โรงเรียนไม่สอนเธอควรอ่านหนังสือ<br />\n        ง. จงลุกขึ้นมาสู้ต่อมิฉะนั้นจะกลายเป็นคนขี้ขลาด</span><br />\n<span style=\"color: #ff0000\">    <br />\n     ๔. คำสันธานมีหน้าที่อย่างไร<br />\n        ก. เชื่อมคำให้มีความหมายชัดเจนขึ้น<br />\n        ข. เชื่อมคำหรือกลุ่มคำเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำหรือกลุ่มคำนั้น<br />\n        ค. เชื่อมคำ,กลุ่มคำ หรือประโยคและประโยคให้รวมเป็นประโยคเดียวกัน<br />\n        ง. เชื่อมประโยคต่างชนิดกันให้เป็นประโยคเดียวกัน</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #3366ff\">     ๕. “เสือแกว่นไม่ทำใครก่อน แต่คราวนี้เสือมันถูกลบลายเสือ มันต้องล้างแค้น….” ข้อความดังกล่าวมีคำใดเป็นคำสันธาน<br />\n        ก. แต่<br />\n        ข. คราวนี้<br />\n        ค. ต้อง<br />\n        ง. ถูก</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\">    ๖. ประโยคในข้อใดมีคำสันธาน<br />\n        ก. อ้ายเสริมเอ็งกะข้ามาสู้กันด้วยเกียรติยศของผู้ชายสู้กันด้วยหมัด<br />\n        ข. เสือแกว่นจะสู้เสือด้วยมือเปล่า<br />\n        ค. ยืนขึ้นมาอ้ายเสริม<br />\n        ง. ถ้าเอ็งเป็นลูกผู้ชาย เอ็งต้องยืนขึ้นสู้กับข้า</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #00ff00\">     ๗. ประโยคในข้อใดไม่มีคำสันธาน<br />\n        ก. พระอภัยมณีและศรีสุวรรณเป็นโอรสของท้าวสุทัศน์<br />\n        ข. สององค์ไปศึกษาวิชา ณ สำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์<br />\n        ค. เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็กลับไปบ้านเมือง<br />\n        ง. แต่ท้าวสุทัศน์ไม่พอพระทัย</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"> <span style=\"color: #ff0000\">    ๘</span><span style=\"color: #ff0000\">. “พลายประกายมาศกินแต่หวีหนึ่ง ๆ ไม่กินนิ่งอยู่ นายช้างป้อนเป็นหลายครั้งแล้ว <br />\n         ก็มิอ้าปากออกรับ” ข้อความนี้แบ่งออกได้เป็นกี่ประโยค<br />\n            ก. ห้าประโยค<br />\n            ข. หกประโยค<br />\n            ค. เจ็ดประโยค<br />\n            ง. แปดประโยค</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">   <span style=\"color: #ff00ff\">  ๙. ควรใช้สันธานในข้อใดเชื่อมประโยคต่อไปนี้ให้มีความคล้อยตามกัน<br />\n        “….ทำการบ้านเสร็จ ฉัน…รู้สึกโล่งใจ”<br />\n            ก. เมื่อ….จึง<br />\n            ข. เพราะ….จึง<br />\n            ค. พอ….ก็<br />\n            ง. แล้ว…ก็</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #339966\">     ๑๐. “คุณแม่ไปฟังเทศน์ที่วัด….คุณพ่อไปเล่นกอล์ฟ” ควรเติมสันธานในข้อใดลงในข้อความข้างต้นจึงจะได้ใจความสละสลวย<br />\n            ก. และ<br />\n            ข. ส่วน<br />\n            ค. จึง<br />\n            ง. หรือ</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600\">     ๑๑. “เธอจะซื้อตั๋วชั้นที่หนึ่งหรือชั้นที่สอง” ประโยคนี้มีคำใดเป็นสันธาน<br />\n            ก. จะ<br />\n            ข. ที่<br />\n            ค. ชั้นที่<br />\n            ง. หรือ</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">   <span style=\"color: #008080\"> ๑๒. ประโยคในข้อใดละคำสันธานที่ใช้เชื่อมประโยคไว้<br />\n            ก. พี่ทำการบ้านน้องดูโทรทัศน์<br />\n            ข. พี่ดูน้องทำการบ้าน<br />\n            ค. น้องให้พี่ทำการบ้าน<br />\n            ง. น้องดูโทรทัศน์ก่อนทำการบ้าน</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">  <span style=\"color: #99cc00\">   ๑๓. ข้อใดไม่มีคำสันธานเชื่อมประโยค<br />\n            ก. นกน้อยทำรังน้อยแต่พอตัว<br />\n            ข. เขาขี้เกียจแต่กลับได้ดี<br />\n            ค. เขาง้อเธอแต่เธอไม่สนใจ<br />\n            ง. ฉันบอกแล้วแต่เขาไม่เชื่อ</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"> <span style=\"color: #ff00ff\">    ๑๔. ข้อใดมีคำสันธานแสดงความคล้อยตาม<br />\n            ก. คุณพ่อทำงานเพื่อลูก ๆ<br />\n            ข. พ่อและลูกทำงานอยู่หลังบ้าน<br />\n            ค. ลูก ๆ ทำงานให้พ่อชื่นใจ<br />\n            ง. พ่อดุลูกที่ไม่ยอมทำงาน</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">  <span style=\"color: #3366ff\">   ๑๕.</span><span style=\"color: #3366ff\"> ข้อใดมีคำสันธานแสดงความขัดแย้ง<br />\n            ก. แต่ช้าแต่เขาแห่ยายมา<br />\n            ข. เขาค้อบาดเจ็บแต่เขาทรายปลอดภัย<br />\n            ค. แต่ก่อนแต่ไรเธอไม่สนใจ<br />\n            ง. เขามาโรงเรียนแต่เช้า</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"> <span style=\"color: #ffcc00\">    </span><span style=\"color: #339966\">๑๖.</span><span style=\"color: #339966\"> ข้อใดมีคำสันธานแสดงความหมายให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง<br />\n            ก. เธอคิดดีแล้วหรือ<br />\n            ข. อิเหนาหรือจะมาตามด้วยความรัก<br />\n            ค. หรือว่าทางโรงเรียนจะผ่อนผันให้<br />\n            ง. บิดาหรือมารดาของนักเรียนมาประชุมแทนนักเรียนก็ได้</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">   <span style=\"color: #99ccff\">  </span><span style=\"color: #99cc00\">๑๗. ข้อ</span><span style=\"color: #99cc00\">ใดมีคำสันธานแสดงความเป็นเหตุผล<br />\n            ก. นกเขาขันเสียงเพราะ<br />\n            ข. พี่พูดเพราะกว่าน้อง<br />\n            ค. เพราะขยันเขาจึงประสบความสำเร็จ<br />\n            ง. เพราะอะไรคนไทยจึงไม่มีวินัย</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">    <span style=\"color: #ff9900\"> ๑๘.</span><span style=\"color: #ff9900\"> คำสันธานในข้อใดทำให้เนื้อความในประโยคคล้อยตามกัน<br />\n            ก. ถึงแม้พี่จะขี้เมาก็ไม่เคยใจร้ายกับน้องเสียที<br />\n            ข. หญิงสาวอย่างเธอควรยิ้มเสียบ้างหรืออย่างน้อยอย่าทำหน้าตาบูดบึ้ง<br />\n            ค. เมื่อพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปสัตว์กลางคืนก็เริ่มออกหาเหยื่ออีกหนหนึ่ง<br />\n            ง. ตาแก่คนนี้ถ้าไม่เป็นคนบ้าก็ต้องเป็นคนเมาแน่</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\">     ๑๙.คำสันธานที่ใช้เชื่อมประโยคที่ขัดแย้งกันปรากฏในข้อใด<br />\n            ก. ด้วยเหตุที่ประเทศเรายังขาดงบประมาณดังนั้นการพัฒนาประเทศจึงไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร<br />\n            ข. ผู้ชายหรือผู้หญิงก็มีสิทธิเท่าเทียมกันแล้วขณะนี้<br />\n            ค. ถ้าฉันสบายดีฉันจะไม่นอนซมอย่างนี้ดอก<br />\n            ง. ถึงเขาจะชมฉัน ฉันก็ไม่ยินดี</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">     <span style=\"color: #ff99cc\">๒๐. </span><span style=\"color: #ff99cc\">คำสันธานในข้อใดใช้เชื่อมประโยคที่เป็นเหตุเป็นผลกัน<br />\n            ก. ครั้นเขากลับถึงบ้านเขาจึงเอาเอกสารออกมาตรวจสอบ<br />\n            ข. เพราะดอกบานเช้าจะบานในตอนเช้าจึงมีชื่อเช่นนั้น<br />\n            ค. เมื่อเขาโตขึ้นเขาจึงเข้าใจผู้คนได้ดีขึ้น<br />\n            ง. พอพระอาทิตย์ตกดินค้างคาวจึงออกหากิน</span></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">       <span style=\"color: #33cccc\">  </span><u><span style=\"color: #33cccc\">เฉลย</span></u></span></em></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">ข้อ ๑     ค</span></span></em></span></p>\n<p>ข้อ ๒     ก \n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\"></span></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">ข้อ ๓    ก<br />\n               <br />\n</span></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">ข้อ ๔    ค<br />\n               <br />\n</span></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">ข้อ ๕    ค<br />\n               <br />\nข้อ ๖    ค<br />\n               <br />\nข้อ ๗    ข<br />\n               <br />\n</span></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">ข้อ ๘    ก<br />\n               <br />\nข้อ ๙    ค<br />\n</span></span></em></span><span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">               <br />\nข้อ ๑๐  ข </span></span></em></span></p>\n<p>ข้อ ๑๑  ง<br />\n               <br />\nข้อ ๑๒  ข<br />\n               <br />\nข้อ ๑๓  ค<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\">               <br />\nข้อ ๑๔  ค<br />\n               <br />\nข้อ ๑๕  ค<br />\n               <br />\nข้อ ๑๖  ข<br />\n               <br />\nข้อ ๑๗  ง<br />\n               <br />\nข้อ ๑๘  ข<br />\n               <br />\nข้อ ๑๙  ค<br />\n               <br />\nข้อ ๒๐  ง    </span>   <br />\n                        </span></em></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><em><span style=\"font-size: medium\">                                  </span></em><span style=\"color: #ff0000\"><em><span style=\"font-size: medium\">ขอขอบพระคุณทุกท่านที่เข้ามาชมและขอให้ได้รับความรู้</span></em></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><em><span style=\"font-size: medium\">                              ผู้จัดทำ</span></em></span></span></p>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">  <span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\">ขอขอบพระคุณรูปภาพสวยๆจาก </span></span></span><a href=\"http://thachapol.multiply.com/\"><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">http://thachapol.multiply.com/</span></span></a><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ขอขอบพระคุณแบบฝึกหัดตอนที ๒ จาก </span><a href=\"http://209.85.175.132/search?q=cache:y2lUUrLF734J:203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index9.htm+%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;hl=th&amp;ct=clnk&amp;cd=3&amp;gl=th \"><span style=\"color: #ff00ff\">http://209.85.175.132/search?q=cache:y2lUUrLF734J:203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index9.htm+%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;hl=th&amp;ct=clnk&amp;cd=3&amp;gl=th</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span></span></a></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">เฉลย </span><a href=\"http://203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index10.htm\"><span style=\"color: #ff00ff\">http://203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index10.htm</span></a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">เนื้อหาจาก เอกสารการเรียนภาไทยชั้น ม. ๑</span></span></span>\n</p>\n', created = 1714316427, expire = 1714402827, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6088d6fe3e17c33f2165ccfd77a976da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำสันธาน

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


   
 สวัสดีครับ
ผมชื่อผมจุก

    วันนี้ผมขอรับอาสาพาทุกคนไปรู้จักกับ คำ สั น ธ า น กันนะครับ ผมคิดว่าคงไม่ยากไปใช่ไหมครับ ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติของพวกเราซึ่งพวกเราควรรักษาไว้ให้คงอยู่คู่กับประเทศไทยไปชั่วรุ่นน้องๆของพวกเรานะครับ


    ก่อนที่เราจะไปเรียนรู้กันเรื่องคำสันธาน เราควรทราบถึง ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง คำ สั น ธ า น กันก่อนดีไหมครับ
    

 
   คำ สั น ธ า น คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับข้อความหรือเชื่อมข้อความให้สละสลวย 


 

   ต่อไปเราจะไปรู้จักกับ ห น้ า ที่ ข อ ง คำ สั น ธ า น กันนะครับ

 ๑.เชื่อมคำกับคำ อาทิ คำว่า หรือ กับ และ

ตัวอย่างประโยค

      
๑.๑ เธอชอบมะลิหรือกุหลาบ

๑.๒ ฉันกับเขากำลังร้องเพลง
     
๑.๓ สมบัติปลูกกุหลาบ ซ่อนกลิ่น และจำปี
      
๑.๔ เด็กชายดำกับเด็กชายแดงเรียนห้องเดียวกัน

   
      
                                         
๒.เชื่อมข้อความกับข้อความ อาทิ คำว่า เพราะฉะนั้น และ...ด้วยเหตุนี้
                                                                   
ตัวอย่างประโยค
                                        
๒.๑ การส่งเสียงดังในห้องสมุดเป็นการกระทำที่ไม่ดีรบกวนผู้อื่น เพราะฉะนั้นจึงต้องมีกฎห้ามส่งเสียงดังติดประกาศไว้

๒.๒ คนเราต้องการอาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคด้วยเหตุนี้เราจึงจำเป็นต้องประกอบอาชีพเพื่อให้ได้เงินมาซื้อสิ่งจำเป็นเหล่านี้


     

๓.เชื่อมประโยคกับประโยค อาทิ คำว่า แต่ เพราะ จึง แต่

     
ตัวอย่างประโยค
                                                          
๓.๑ พี่สวยแต่น้องขี้เหร่


๓.๒ เขาเกียจคร้านจึงสอบตก


๓.๓ น้องไปโรงเรียนไม่ได้เพราะไม่สบาย


๓.๔ เธอชอบกินอาหารจืดแต่ผมชอบอาหารรสจัด 


       


 
  
  ๔. เชื่อมข้อความให้สละสลวย  อาทิ คำว่า ก็
 

 ตัวอย่างประโยค


๔.๑ เราก็เป็นคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน
                   
๔.๒ คนเราก็ต้องมีผิดพลาดบ้างเป็นธรรมดา

   
             ต่อจากนี้ผมจุกจะพาน้องๆไปรู้จักกับ ช นิ ด ข อ ง คำ สั น ธ า น กันนะครับ

      

  คำสันธานมี ๓ ชนิดคือ

๑.เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน ได้แก่คำว่า กับ , และ , ทั้ง...และ , ทั้ง...ก็ , ครั้น...ก็ , ครั้น...จึง , พอ...ก็ ฯลฯ

  
ตัวอย่างประโยค

๑.๑ ฉันชอบทั้งหมาและแมวนั่นแหละ  

      
๑.๒ ครั้นได้เวลาเธอจึงออกไปพูดบนเวที


๑.๓ พอพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าฝูงนกก็บินกลับรัง

๑.๔ หนุ๋ยและหนิงเป็นนักกีฬาทที่มีความสามรถมาก

    

 

 

๒.เชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คำว่า แต่ , แต่ว่า , แต่ทวา , ถึง...ก็ , กว่า...ก็ ฯลฯ

ตัวอย่างประโยค
 

๒.๑ เธอไม่สวยแต่ว่านิสัยดี


๒.๒ เขาอยากรวยแต่ใช้เงินฟุ่มเฟือย

๒.๓ กว่าตำรวจจะมาถึงคนร้ายก็หนีไปแล้ว


๒.๔ ถึงฝนจะตกหนักแต่ฉันก็เดินฝ่าสายฝนมาได้


๓.เชื่อมใจความที่ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คำว่า หรือ , หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนั้น , มิฉะนั้นก็ , ไม่...ก็ ฯลฯ

ตัวอย่างประโยค

๓.๑ ไม่เธอก็ฉันต้องจ่ายเงิน

๓.๒ คุณจะทานข้าวหรือขนมปัง

๓.๓ ลูกต้องทำการบ้านหรือไม่ก็ช่วยแม่กวาดบ้าน


๓.๔ เราต้องเลิกทะเลาะกันมิฉะนั้นงานจะไม่สำเร็จ

 


ต่อไปเราไปทำแบบฝึกหัดเรื่อง คำ สั น ธ า น เพื่อประเมินตนเองกันนะครับ

๑. คำ สั น ธ า น มีความหมายว่าอย่างไร

เฉลย คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับข้อความหรือเชื่อมข้อความให้สละสลวย

**************** 

๒.หน้าที่ของ คำ สั น ธ า น มีอะไรบ้าง

เฉลย ๑.เชื่อมคำกับคำ

๒.เชื่อมข้อความกับข้อความ

๓.เชื่อมประโยคกับประโยค

๔.เชื่อมข้อความให้สละสลวย

*******************

 ๓. " เธอชอบมะลิหรือกุหลาบ " คำสันธานในประโยคนี้ทำหน้าที่อย่างไร

เฉลย เชื่อมคำกับคำ

*******************

๔. " การส่งเสียงดังในห้องสมุดเป็นการกระทำที่ไม่ดีรบกวนผู้อื่น

เพราะฉะนั้นจึงต้องมีกฎห้ามส่งเสียงดังติดประกาศไว้ " คำสันธานในประโยคนี้ทำหน้าที่อย่างไร

เฉลย เชื่อมข้อความกับข้อความ

*******************

๕. " พี่สวยแต่น้องขี้เหร่ " คำสันธานในประโยคนี้ทำหน้าที่อย่างไร

เฉลย เชื่อมประโยคกับประโยค

******************* 

๖. " คนเราก็ต้องมีผิดพลาดบ้างเป็นธรรมดา " คำสันธานในประโยคนี้ทำหน้าที่อย่างไร

เฉลย เชื่อมข้อความให้สละสลวย 

*******************

๗. " ฉันชอบทั้งหมาและแมวนั่นแหละ "  คำสันธานในประโยคนี้มีคำว่าอะไรบ้าง

เฉลย ทั้ง...และ

*******************

๘.  " เธอไม่สวยแต่ว่านิสัยดี  " คำสันธานในประโยคนี้มีคำว่าอะไรบ้าง

เฉลย แต่ว่า 

*******************

๙.  " ไม่เธอก็ฉันต้องจ่ายเงิน " คำสันธานในประโยคนี้มีคำว่าอะไรบ้าง

ฉลย ไม่...ก็

*******************

     แบบฝึกที่ ๒                

          คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
   

๑. คำว่า “ให้” ในข้อใดทำหน้าที่เหมือนคำสันธาน
        ก. วิชัยให้เงินแก่ลูก
        ข. ครูสอนให้เด็กเป็นคนดี
        ค. คุณพ่อสอนเทนนิสให้ฉัน
        ง. ครูคือผู้ให้ความรู้

     ๒. คำสันธานในข้อใดวางอยู่หน้าประโยค
        ก. ทั้ง ๆ ที่ฉันรู้ว่าเขาร้ายกาจก็ยังรักเขา
        ข. เขาทำงานหนักจึงสร้างตัวขึ้นได้
        ค. เขาจะเป็นคนดีก็ตาม คนร้ายก็ตาม ลูกอย่าไปคบหาเขา
        ง. โปรดอย่าถามว่าฉันเป็นใครและฉันรักใคร

     ๓. คำสันธานในข้อใดวางตำแหน่งในประโยคแตกต่างจากข้ออื่น
        ก. เมื่อเธอผิดหวังจงระลึกถึงฉัน
        ข. ถ้าไม่ไว้ใจกันจงไปเสียดีกว่า
        ค. ระหว่างที่โรงเรียนไม่สอนเธอควรอ่านหนังสือ
        ง. จงลุกขึ้นมาสู้ต่อมิฉะนั้นจะกลายเป็นคนขี้ขลาด

    
     ๔. คำสันธานมีหน้าที่อย่างไร
        ก. เชื่อมคำให้มีความหมายชัดเจนขึ้น
        ข. เชื่อมคำหรือกลุ่มคำเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำหรือกลุ่มคำนั้น
        ค. เชื่อมคำ,กลุ่มคำ หรือประโยคและประโยคให้รวมเป็นประโยคเดียวกัน
        ง. เชื่อมประโยคต่างชนิดกันให้เป็นประโยคเดียวกัน

     ๕. “เสือแกว่นไม่ทำใครก่อน แต่คราวนี้เสือมันถูกลบลายเสือ มันต้องล้างแค้น….” ข้อความดังกล่าวมีคำใดเป็นคำสันธาน
        ก. แต่
        ข. คราวนี้
        ค. ต้อง
        ง. ถูก

    ๖. ประโยคในข้อใดมีคำสันธาน
        ก. อ้ายเสริมเอ็งกะข้ามาสู้กันด้วยเกียรติยศของผู้ชายสู้กันด้วยหมัด
        ข. เสือแกว่นจะสู้เสือด้วยมือเปล่า
        ค. ยืนขึ้นมาอ้ายเสริม
        ง. ถ้าเอ็งเป็นลูกผู้ชาย เอ็งต้องยืนขึ้นสู้กับข้า

     ๗. ประโยคในข้อใดไม่มีคำสันธาน
        ก. พระอภัยมณีและศรีสุวรรณเป็นโอรสของท้าวสุทัศน์
        ข. สององค์ไปศึกษาวิชา ณ สำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์
        ค. เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็กลับไปบ้านเมือง
        ง. แต่ท้าวสุทัศน์ไม่พอพระทัย

     ๘. “พลายประกายมาศกินแต่หวีหนึ่ง ๆ ไม่กินนิ่งอยู่ นายช้างป้อนเป็นหลายครั้งแล้ว
         ก็มิอ้าปากออกรับ” ข้อความนี้แบ่งออกได้เป็นกี่ประโยค
            ก. ห้าประโยค
            ข. หกประโยค
            ค. เจ็ดประโยค
            ง. แปดประโยค

     ๙. ควรใช้สันธานในข้อใดเชื่อมประโยคต่อไปนี้ให้มีความคล้อยตามกัน
        “….ทำการบ้านเสร็จ ฉัน…รู้สึกโล่งใจ”
            ก. เมื่อ….จึง
            ข. เพราะ….จึง
            ค. พอ….ก็
            ง. แล้ว…ก็

     ๑๐. “คุณแม่ไปฟังเทศน์ที่วัด….คุณพ่อไปเล่นกอล์ฟ” ควรเติมสันธานในข้อใดลงในข้อความข้างต้นจึงจะได้ใจความสละสลวย
            ก. และ
            ข. ส่วน
            ค. จึง
            ง. หรือ

     ๑๑. “เธอจะซื้อตั๋วชั้นที่หนึ่งหรือชั้นที่สอง” ประโยคนี้มีคำใดเป็นสันธาน
            ก. จะ
            ข. ที่
            ค. ชั้นที่
            ง. หรือ

    ๑๒. ประโยคในข้อใดละคำสันธานที่ใช้เชื่อมประโยคไว้
            ก. พี่ทำการบ้านน้องดูโทรทัศน์
            ข. พี่ดูน้องทำการบ้าน
            ค. น้องให้พี่ทำการบ้าน
            ง. น้องดูโทรทัศน์ก่อนทำการบ้าน

     ๑๓. ข้อใดไม่มีคำสันธานเชื่อมประโยค
            ก. นกน้อยทำรังน้อยแต่พอตัว
            ข. เขาขี้เกียจแต่กลับได้ดี
            ค. เขาง้อเธอแต่เธอไม่สนใจ
            ง. ฉันบอกแล้วแต่เขาไม่เชื่อ

     ๑๔. ข้อใดมีคำสันธานแสดงความคล้อยตาม
            ก. คุณพ่อทำงานเพื่อลูก ๆ
            ข. พ่อและลูกทำงานอยู่หลังบ้าน
            ค. ลูก ๆ ทำงานให้พ่อชื่นใจ
            ง. พ่อดุลูกที่ไม่ยอมทำงาน

     ๑๕. ข้อใดมีคำสันธานแสดงความขัดแย้ง
            ก. แต่ช้าแต่เขาแห่ยายมา
            ข. เขาค้อบาดเจ็บแต่เขาทรายปลอดภัย
            ค. แต่ก่อนแต่ไรเธอไม่สนใจ
            ง. เขามาโรงเรียนแต่เช้า

     ๑๖. ข้อใดมีคำสันธานแสดงความหมายให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
            ก. เธอคิดดีแล้วหรือ
            ข. อิเหนาหรือจะมาตามด้วยความรัก
            ค. หรือว่าทางโรงเรียนจะผ่อนผันให้
            ง. บิดาหรือมารดาของนักเรียนมาประชุมแทนนักเรียนก็ได้

     ๑๗. ข้อใดมีคำสันธานแสดงความเป็นเหตุผล
            ก. นกเขาขันเสียงเพราะ
            ข. พี่พูดเพราะกว่าน้อง
            ค. เพราะขยันเขาจึงประสบความสำเร็จ
            ง. เพราะอะไรคนไทยจึงไม่มีวินัย

     ๑๘. คำสันธานในข้อใดทำให้เนื้อความในประโยคคล้อยตามกัน
            ก. ถึงแม้พี่จะขี้เมาก็ไม่เคยใจร้ายกับน้องเสียที
            ข. หญิงสาวอย่างเธอควรยิ้มเสียบ้างหรืออย่างน้อยอย่าทำหน้าตาบูดบึ้ง
            ค. เมื่อพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปสัตว์กลางคืนก็เริ่มออกหาเหยื่ออีกหนหนึ่ง
            ง. ตาแก่คนนี้ถ้าไม่เป็นคนบ้าก็ต้องเป็นคนเมาแน่

     ๑๙.คำสันธานที่ใช้เชื่อมประโยคที่ขัดแย้งกันปรากฏในข้อใด
            ก. ด้วยเหตุที่ประเทศเรายังขาดงบประมาณดังนั้นการพัฒนาประเทศจึงไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร
            ข. ผู้ชายหรือผู้หญิงก็มีสิทธิเท่าเทียมกันแล้วขณะนี้
            ค. ถ้าฉันสบายดีฉันจะไม่นอนซมอย่างนี้ดอก
            ง. ถึงเขาจะชมฉัน ฉันก็ไม่ยินดี

     ๒๐. คำสันธานในข้อใดใช้เชื่อมประโยคที่เป็นเหตุเป็นผลกัน
            ก. ครั้นเขากลับถึงบ้านเขาจึงเอาเอกสารออกมาตรวจสอบ
            ข. เพราะดอกบานเช้าจะบานในตอนเช้าจึงมีชื่อเช่นนั้น
            ค. เมื่อเขาโตขึ้นเขาจึงเข้าใจผู้คนได้ดีขึ้น
            ง. พอพระอาทิตย์ตกดินค้างคาวจึงออกหากิน

         เฉลย

ข้อ ๑     ค

ข้อ ๒     ก

ข้อ ๓    ก
               
ข้อ ๔    ค
               
ข้อ ๕    ค
               
ข้อ ๖    ค
               
ข้อ ๗    ข
               
ข้อ ๘    ก
               
ข้อ ๙    ค
               
ข้อ ๑๐  ข 

ข้อ ๑๑  ง
              
ข้อ ๑๒  ข
              
ข้อ ๑๓  ค
              
ข้อ ๑๔  ค
              
ข้อ ๑๕  ค
               
ข้อ ๑๖  ข
              
ข้อ ๑๗  ง
              
ข้อ ๑๘  ข
              
ข้อ ๑๙  ค
               
ข้อ ๒๐  ง    
   
                       

                                  ขอขอบพระคุณทุกท่านที่เข้ามาชมและขอให้ได้รับความรู้

                              ผู้จัดทำ

  

 ขอขอบพระคุณรูปภาพสวยๆจาก http://thachapol.multiply.com/

ขอขอบพระคุณแบบฝึกหัดตอนที ๒ จาก http://209.85.175.132/search?q=cache:y2lUUrLF734J:203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index9.htm+%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99&hl=th&ct=clnk&cd=3&gl=th  

เฉลย http://203.172.208.244/web/stu01/site3_1/index10.htm

เนื้อหาจาก เอกสารการเรียนภาไทยชั้น ม. ๑

สร้างโดย: 
วันเพ็ญ ตีระกิจวัฒนา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 369 คน กำลังออนไลน์