• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:014c8dccc10c18afc729c400a0d85d6e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 <span style=\"font-family: book antiqua,palatino\">เวลา</span> 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: xx-large\"><span style=\"color: #ff0000\">*</span>~การ<span style=\"color: #ff0000\">อ่าน</span>ใน<span style=\"color: #ff0000\">ใจ</span>และ<span style=\"color: #ff0000\">การ</span>ย่อความ~<span style=\"color: #ff0000\">*</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">การอ่านเป็นพฤติกรรมการับสารอย่างหนึ่ง  กล่าวคือเป็นการรับรู้เรื่องราวโดยใช้สายตามองดูตัวอักษร  เเล้วสมองก็จะลำดับเป็นถ้อยคำ  ประโยค  เเละ  ข้อความต่างๆเกิดเป็นเรื่องราวตามความรู้ประสบการณ์ของผู้อ่านเเต่ละคน  การอ่านช่วยให้เราสามารถติดตามความเคลื่อนไหว  ความก้าวหน้า  เเละความเปลี่ยนเเปลงทั้งหลายได้ทันต่อเหตุการณ์  ฉะนั้นการอ่านจึงเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตของทุกคนในปัจจุบัน  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Georgia; font-size: x-large\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">การอ่านในใจ คือ การอ่านไม่ออกเสียง<br />\nวิธีการอ่านในใจประกอบด้วย<br />\n๑.  ตั้งสมาธิให้เเน่วเเน่<br />\n๒.  กะช่วงสายตาให้ยาว<br />\n๓.  ไม่อ่านย้อนไปย้อนมา<br />\n๔.  ไม่ออกเสียงเวลาอ่าน  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"> การอ่านในใจเพื่อทำให้ตัวผู้อ่านมีความรู้  ความคิดวิจารณญานเเล้วนำสิ่งเหล่านี้ไปให้ประโยชน์เพื่อก่อให้เกิดความเจริญขึ้นทางด้านร่างกายสติปัญญา  อารมณ์เเละความคิด  ในชีวิตประจำวัน  เราต้องได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างมากมาย  เเละทักษะหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการอ่านในใจที่จะสามารถช่วยนักเรียนให้ใช้เวลาอย่างคุ้มค่าเเละสามารถรับข้อมูลข่าวสารต่างๆในปริมาณมากก็คือ  ทักษะการอ่านเร็ว…  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Georgia; font-size: x-large\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">การอ่านเร็ว คือ การกวาดสายตาอย่างรวดเร็วตามตัวอักษร  เพื่อพิจารณาเนื้อเรื่องอย่างคราวๆ  ว่ากล่าวถึงอะไร  หรือดูชื่อเรื่อง  ชื่อหนังสือ  สารบัญหัวข้อในเล่มเเละข้อความบางตอนเป็นการอ่านที่ใช้เวลาไม่มากนัก<br />\nการฝึกทักษะในการอ่านเร็วมีดังต่อไปนี้<br />\n๑.  ตั้งคำถามว่าต้องอ่านเพื่ออะไร  เช่น  เพื่อการศึกษาค้นคว้า  สำรวจข้อมูลเนื้อเรื่อง  เป็นต้น<br />\n๒.  มีสมาธิในการอ่าน  ควรกำหนดจิตใจให้เเนวเเน่อยู่กับเรื่องที่อ่านเท่านั้น<br />\n๓.  ฝึกวาดสายตาไปตามตัวอักษรอย่างรวดเร็ว  เเละพยายามกำหนดช่วงสายตาให้อยู่ในช่วงสองบรรทัด  สำรวจชื่อเรื่อง  สารบัญ  คำนำ  บทนำ  ก่อนอ่านตัวเล่ม  อ่านเเบบๆคราวๆเพื่อเน้นความเข้าใจเบื้องต้นด้วยความรวดเร็ว  อ่านเเบบค้นหาเฉพาะสิ่งที่ต้องการ  การอ่านทั้งย่อหน้า  อ่านเป็นบทๆ  เป็นต้น<br />\n๔.  ฝึกจับเวลาในการอ่าน  เเล้วพยายามใช้เวลาให้การอ่านให้น้อยลงตามลำดับ<br />\n๕.  เมื่ออ่านข้อความหรือเนื้อเรื่องที่ตนอ่านจบให้ตรวจสอบว่าตนเองรู้เรื่องที่อ่านมากน้อยเพียงใด  โดยคิดทบทวนเรื่องที่อ่าน  หรือตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"><strong>การย่อความ</strong>  คือ  การสรุปเนื้อความให้เหลือสั้นลงกว่าเดิม  มีลักษณะกะทัดรัดเเละได้ใจความสำคัญ  ครบถ้วน  ซึ่งผู้ย่อจะต้องอ่านข้อความให้เข้าใจอย่างเเจ่มเเจ้งอย่างน้อย๑รอบ  เมื่ออ่านรอบสอง  จึงค่อยพยายามเก็บข้อมูลสำคัญ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"> เเนวทางการเขียนข้อความ<br />\n๑.  อ่านเนื้อเรื่องที่จะย่อให้เข้าใจ  โดยอ่านมากกว่า๒รอบก็ได้<br />\n๒.  เมื่อเข้าใจเรื่องเเล้ว  จึงจับใจความสำคัญทีละย่อหน้า  เพราะในหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสำคัญเพียงข้อเดียวเเล้วตัดบทความที่เป็นส่วนประกอบต่างๆออกไป  คงไว้เเต่ส่วนที่เป็นสาระสำคัญ<br />\n๓.  นำใจความสำคัญเเต่ละย่อหน้ามาเขียนใหม่ด้วยภาษาของตนเอง  โดยคำนึงถึงสิ่งต่างๆดังนี้<br />\n  (๑)  ต้องมีคำนำย่อความตามรูปแบบของข้อเขียน<br />\n  (๒)  เปลี่ยนสรรพนามบุรุษที่ ๑ เเละบุรุษที่ ๒ ให้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓<br />\n  (๓)  ไม่ใช้อักษรย่อ<br />\n  (๔)  ถ้ามีคำราชาศัพท์ให้คงไว้ไม่ต้องเเปลเป็นคำสามัญ<br />\n  (๕)  ไม่ใช้เครื่องหมาต่างๆในข้อความที่ย่อ<br />\n  (๖)  เขียนเนื้อเรื่องที่ย่อเเล้วเป็นย่อหน้าเดียว  มีความยาวประมาณ ๑  ใน  ๓ หรือ ๑ ใน  ๔ของเนื้อเรื่องเดิม  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาระสำคัญในเรื่อง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">รูปแบบของการขึ้นต้นย่อความ<br />\n๑. ถ้าเรื่องนั้นเป็นความเรียงร้อยแก้ว เช่น นิทาน ตำนาน นวนิยาย เรื่องสั้น บท <br />\nความ เรียงความ ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">ย่อ (นิทาน, นวนิยาย, เรื่องสั้น, บทความ ฯลฯ) เรื่อง... ของ... จาก... ความว่า..............................................................</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span></p>\n<p>\n<br />\n๒. ถ้าเรื่องนั้นเป็นประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง ฯลฯ <br />\nย่อ (ประกาศ, ระเบียบ, คำสั่ง ฯลฯ) <br />\nเรื่อง... ของ... แก่... ลงวันที่... ความว่า..............................\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"><br />\n๓. ถ้าเรื่องนั้นเป็นจดหมาย <br />\nย่อ (จดหมาย, สาส์น, หนังสือราชการ ฯลฯ) ฉบับที่ ...<br />\nของ... ถึง... ลงวันที่... ความว่า......................................</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span></p>\n<p>\n<br />\n๔. ถ้าเรื่องนั้นเป็นรายงาน คำปราศรัย สุนทรพจน์ โอวาท คำกล่าวเปิด ฯลฯ <br />\nย่อ (รายงาน, คำปราศรัย, สุนทรพจน์, โอวาท ฯลฯ) <br />\nของ... ให้... แก่... เนื่องในโอกาส... ณ... เมื่อวันที่... ความว่า.........................................................\n</p>\n<p><span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span></p>\n<p>\n<br />\n๕. ถ้าเรื่องนั้นเป็นคำสอน คำบรรยาย ปาฐกถา ถ้อยแถลง ฯลฯ <br />\nย่อ (ปาฐกถา, คำบรรยาย ฯลฯ) ของ... เรื่อง... ให้ ...<br />\nแก่... ณ... เมื่อวันที่... ความว่า.......................................<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\">๖. ถ้าเรื่องนั้นเป็นร้อยกรอง <br />\nย่อ (กลอนสุภาพ, โคลงสี่สุภาพ ฯลฯ) เรื่อง... ตอน... ความว่า ...............................................................</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Georgia; font-size: x-large\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Georgia; font-size: x-large\">*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span>*<span style=\"color: #ff0000\">-</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span><span style=\"font-family: georgia,palatino; font-size: x-large\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1714283243, expire = 1714369643, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:014c8dccc10c18afc729c400a0d85d6e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การอ่านในใจเเละการย่อข้อความ

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


*~การอ่านในใจและการย่อความ~*

การอ่านเป็นพฤติกรรมการับสารอย่างหนึ่ง  กล่าวคือเป็นการรับรู้เรื่องราวโดยใช้สายตามองดูตัวอักษร  เเล้วสมองก็จะลำดับเป็นถ้อยคำ  ประโยค  เเละ  ข้อความต่างๆเกิดเป็นเรื่องราวตามความรู้ประสบการณ์ของผู้อ่านเเต่ละคน  การอ่านช่วยให้เราสามารถติดตามความเคลื่อนไหว  ความก้าวหน้า  เเละความเปลี่ยนเเปลงทั้งหลายได้ทันต่อเหตุการณ์  ฉะนั้นการอ่านจึงเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตของทุกคนในปัจจุบัน 

การอ่านในใจ คือ การอ่านไม่ออกเสียง
วิธีการอ่านในใจประกอบด้วย
๑.  ตั้งสมาธิให้เเน่วเเน่
๒.  กะช่วงสายตาให้ยาว
๓.  ไม่อ่านย้อนไปย้อนมา
๔.  ไม่ออกเสียงเวลาอ่าน 

 การอ่านในใจเพื่อทำให้ตัวผู้อ่านมีความรู้  ความคิดวิจารณญานเเล้วนำสิ่งเหล่านี้ไปให้ประโยชน์เพื่อก่อให้เกิดความเจริญขึ้นทางด้านร่างกายสติปัญญา  อารมณ์เเละความคิด  ในชีวิตประจำวัน  เราต้องได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างมากมาย  เเละทักษะหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการอ่านในใจที่จะสามารถช่วยนักเรียนให้ใช้เวลาอย่างคุ้มค่าเเละสามารถรับข้อมูลข่าวสารต่างๆในปริมาณมากก็คือ  ทักษะการอ่านเร็ว… 

การอ่านเร็ว คือ การกวาดสายตาอย่างรวดเร็วตามตัวอักษร  เพื่อพิจารณาเนื้อเรื่องอย่างคราวๆ  ว่ากล่าวถึงอะไร  หรือดูชื่อเรื่อง  ชื่อหนังสือ  สารบัญหัวข้อในเล่มเเละข้อความบางตอนเป็นการอ่านที่ใช้เวลาไม่มากนัก
การฝึกทักษะในการอ่านเร็วมีดังต่อไปนี้
๑.  ตั้งคำถามว่าต้องอ่านเพื่ออะไร  เช่น  เพื่อการศึกษาค้นคว้า  สำรวจข้อมูลเนื้อเรื่อง  เป็นต้น
๒.  มีสมาธิในการอ่าน  ควรกำหนดจิตใจให้เเนวเเน่อยู่กับเรื่องที่อ่านเท่านั้น
๓.  ฝึกวาดสายตาไปตามตัวอักษรอย่างรวดเร็ว  เเละพยายามกำหนดช่วงสายตาให้อยู่ในช่วงสองบรรทัด  สำรวจชื่อเรื่อง  สารบัญ  คำนำ  บทนำ  ก่อนอ่านตัวเล่ม  อ่านเเบบๆคราวๆเพื่อเน้นความเข้าใจเบื้องต้นด้วยความรวดเร็ว  อ่านเเบบค้นหาเฉพาะสิ่งที่ต้องการ  การอ่านทั้งย่อหน้า  อ่านเป็นบทๆ  เป็นต้น
๔.  ฝึกจับเวลาในการอ่าน  เเล้วพยายามใช้เวลาให้การอ่านให้น้อยลงตามลำดับ
๕.  เมื่ออ่านข้อความหรือเนื้อเรื่องที่ตนอ่านจบให้ตรวจสอบว่าตนเองรู้เรื่องที่อ่านมากน้อยเพียงใด  โดยคิดทบทวนเรื่องที่อ่าน  หรือตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน

การย่อความ  คือ  การสรุปเนื้อความให้เหลือสั้นลงกว่าเดิม  มีลักษณะกะทัดรัดเเละได้ใจความสำคัญ  ครบถ้วน  ซึ่งผู้ย่อจะต้องอ่านข้อความให้เข้าใจอย่างเเจ่มเเจ้งอย่างน้อย๑รอบ  เมื่ออ่านรอบสอง  จึงค่อยพยายามเก็บข้อมูลสำคัญ

 เเนวทางการเขียนข้อความ
๑.  อ่านเนื้อเรื่องที่จะย่อให้เข้าใจ  โดยอ่านมากกว่า๒รอบก็ได้
๒.  เมื่อเข้าใจเรื่องเเล้ว  จึงจับใจความสำคัญทีละย่อหน้า  เพราะในหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสำคัญเพียงข้อเดียวเเล้วตัดบทความที่เป็นส่วนประกอบต่างๆออกไป  คงไว้เเต่ส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
๓.  นำใจความสำคัญเเต่ละย่อหน้ามาเขียนใหม่ด้วยภาษาของตนเอง  โดยคำนึงถึงสิ่งต่างๆดังนี้
  (๑)  ต้องมีคำนำย่อความตามรูปแบบของข้อเขียน
  (๒)  เปลี่ยนสรรพนามบุรุษที่ ๑ เเละบุรุษที่ ๒ ให้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓
  (๓)  ไม่ใช้อักษรย่อ
  (๔)  ถ้ามีคำราชาศัพท์ให้คงไว้ไม่ต้องเเปลเป็นคำสามัญ
  (๕)  ไม่ใช้เครื่องหมาต่างๆในข้อความที่ย่อ
  (๖)  เขียนเนื้อเรื่องที่ย่อเเล้วเป็นย่อหน้าเดียว  มีความยาวประมาณ ๑  ใน  ๓ หรือ ๑ ใน  ๔ของเนื้อเรื่องเดิม  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาระสำคัญในเรื่อง

รูปแบบของการขึ้นต้นย่อความ
๑. ถ้าเรื่องนั้นเป็นความเรียงร้อยแก้ว เช่น นิทาน ตำนาน นวนิยาย เรื่องสั้น บท
ความ เรียงความ ฯลฯ

ย่อ (นิทาน, นวนิยาย, เรื่องสั้น, บทความ ฯลฯ) เรื่อง... ของ... จาก... ความว่า..............................................................


๒. ถ้าเรื่องนั้นเป็นประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง ฯลฯ
ย่อ (ประกาศ, ระเบียบ, คำสั่ง ฯลฯ)
เรื่อง... ของ... แก่... ลงวันที่... ความว่า..............................


๓. ถ้าเรื่องนั้นเป็นจดหมาย
ย่อ (จดหมาย, สาส์น, หนังสือราชการ ฯลฯ) ฉบับที่ ...
ของ... ถึง... ลงวันที่... ความว่า......................................


๔. ถ้าเรื่องนั้นเป็นรายงาน คำปราศรัย สุนทรพจน์ โอวาท คำกล่าวเปิด ฯลฯ
ย่อ (รายงาน, คำปราศรัย, สุนทรพจน์, โอวาท ฯลฯ)
ของ... ให้... แก่... เนื่องในโอกาส... ณ... เมื่อวันที่... ความว่า.........................................................


๕. ถ้าเรื่องนั้นเป็นคำสอน คำบรรยาย ปาฐกถา ถ้อยแถลง ฯลฯ
ย่อ (ปาฐกถา, คำบรรยาย ฯลฯ) ของ... เรื่อง... ให้ ...
แก่... ณ... เมื่อวันที่... ความว่า.......................................

๖. ถ้าเรื่องนั้นเป็นร้อยกรอง
ย่อ (กลอนสุภาพ, โคลงสี่สุภาพ ฯลฯ) เรื่อง... ตอน... ความว่า ...............................................................

*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-*-

 

สร้างโดย: 
To_k

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 574 คน กำลังออนไลน์