• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:29ff2bcfa06b3e3eedee9864d1957ce0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ผะหมี</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผะหมี เป็นการละเล่นทายปริศนาอย่างหนึ่ง คำว่า ผะหมี มาจากภาษาจีน ผะ หรือ พะ แปลว่า ตี ส่วน หมี หรือ มี้ แปลว่า ความมืด ดังนั้นคำว่า ผะหมี จึงแปลว่า การตีความมืดให้หายไป หรือการทำให้ปริศนาหรือความสงสัยหมดสิ้นไปนั่นเอง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผะหมี เข้าใจว่าเดิมเป็นการละเล่นในหมู่ชาวจีนมาก่อน ซึ่งถือเป็นการเล่นประลองปัญญาและฝึกสมองในหมู่นักปราชญ์และกวีชาวจีน ภายหลังคนไทยได้นับมาประยุกต์ถามปริศนาแบบไทย โดยปริศนาที่ใช้ถามจะเขียนด้วยคำประพันธ์ไทยเช่น โคลง ฉันท์ กาพย์หรือกลอน และคำตอบของปริศนา (หรือเรียกว่าธง) จะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเล่นปริศนาผะหมี รุ่งเรืองมากในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการเล่นอย่างแพร่หลายในกรุงเทพมหานคร ภายหลังการเล่นผะหมี แพร่ไปยังจังหวัดต่างๆ เช่น ชลบุรี ราชบุรี สมุทรปราการ โดยในจังหวัดชลบุรีจะเรียก ผะหมี ว่า โจ๊ก</p>\n<p><strong>การทายปริศนา</strong><br /> ปริศนาผะหมีมีหลายลักษณะดังนี้</p>\n<p>&nbsp; 1.&nbsp; ปริศนาผะหมีภาพ เป็นการใช้ภาพตั้งเป็นปริศนา เช่น ในภาพมีรูปปลาอยู่สองตัว คำตอบคือปลาทู (สองภาษาอังกฤษว่าทู)เป็นต้น<br /> &nbsp; 2.&nbsp; ปริศนาผะหมีคำตัดต่อ คำตอบของปริศนาจะมีการเพิ่มหรือตัดคำ หรือสลับตัวอักษร เช่น ขนม (ตัดตัวหน้า)=นม (ตัดตัวหลัง)=ขน เป็นต้น <br /> &nbsp; 3.&nbsp; ปริศนาผะหมีคำเดี่ยว เป็นปริศนาผะหมีที่ธงหรือคำตอบของปริศนาเป็นคำๆ เดียว เช่น ก๊ก กุ๊ก เก๊ก กั๊ก เป็นต้น <br /> &nbsp; 4.&nbsp; ปริศนาผะหมีคำผัน คำตอบของปริศนาจะผันตามเสียงวรรณยุกต์ เช่น ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า เป็นต้น <br /> &nbsp; 5.&nbsp; ปริศนาผะหมีพ้องหน้า คำตอบของปริศนาจะพ้องคำหน้ากัน เช่น แม่น้ำ แม่ทัพ แม่มด แม่บ้าน เป็นต้น <br /> &nbsp; 6.&nbsp; ปริศนาผะหมีพ้องกลาง คำตอบของปริศนานั้นคำกลางจะพ้องกัน เช่น นกสองหัว หมาสองราง ข้าสองเจ้า บ่าวสองนาย เป็นต้น <br /> &nbsp; 7.&nbsp; ปริศนาผะหมีพ้องหลัง คำตอบของปริศนาจะพ้องคำหลังกัน เช่น แม่น้ำ ลูกน้ำ ม้าน้ำ ตาน้ำ เป็นต้น <br /> &nbsp; 8.&nbsp; ปริศนาผะหมีลูกโซ่ คำตอบจะมีความเกี่ยวเนื่องกับคำตอบก่อนหน้า เช่น ก.ไก่ ไก่ฟ้า ฟ้าแลบ แลบลิ้น ลิ้นชัก เป็นต้น <br /> &nbsp; 9.&nbsp; ปริศนาผะหมีคำผวน คำตอบของปริศนาจะเป็นคำผวน เช่น กากินขี้หมู (ผวนเป็น)กูกินขี้หมา เป็นต้น <br /> &nbsp; 10.ปริศนาผะหมีสุภาษิต คำพังเพย คำตอบเมื่อนำมารวมกันแล้วจะเป็นสำนวนโวหารต่างๆ เช่น จับ ปลา สอง มือ ; เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นต้น</p>\n', created = 1715751846, expire = 1715838246, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:29ff2bcfa06b3e3eedee9864d1957ce0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผะหมี

รูปภาพของ sss28261

ผะหมี

          ผะหมี เป็นการละเล่นทายปริศนาอย่างหนึ่ง คำว่า ผะหมี มาจากภาษาจีน ผะ หรือ พะ แปลว่า ตี ส่วน หมี หรือ มี้ แปลว่า ความมืด ดังนั้นคำว่า ผะหมี จึงแปลว่า การตีความมืดให้หายไป หรือการทำให้ปริศนาหรือความสงสัยหมดสิ้นไปนั่นเอง

          ผะหมี เข้าใจว่าเดิมเป็นการละเล่นในหมู่ชาวจีนมาก่อน ซึ่งถือเป็นการเล่นประลองปัญญาและฝึกสมองในหมู่นักปราชญ์และกวีชาวจีน ภายหลังคนไทยได้นับมาประยุกต์ถามปริศนาแบบไทย โดยปริศนาที่ใช้ถามจะเขียนด้วยคำประพันธ์ไทยเช่น โคลง ฉันท์ กาพย์หรือกลอน และคำตอบของปริศนา (หรือเรียกว่าธง) จะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ

          การเล่นปริศนาผะหมี รุ่งเรืองมากในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการเล่นอย่างแพร่หลายในกรุงเทพมหานคร ภายหลังการเล่นผะหมี แพร่ไปยังจังหวัดต่างๆ เช่น ชลบุรี ราชบุรี สมุทรปราการ โดยในจังหวัดชลบุรีจะเรียก ผะหมี ว่า โจ๊ก

การทายปริศนา
ปริศนาผะหมีมีหลายลักษณะดังนี้

  1.  ปริศนาผะหมีภาพ เป็นการใช้ภาพตั้งเป็นปริศนา เช่น ในภาพมีรูปปลาอยู่สองตัว คำตอบคือปลาทู (สองภาษาอังกฤษว่าทู)เป็นต้น
  2.  ปริศนาผะหมีคำตัดต่อ คำตอบของปริศนาจะมีการเพิ่มหรือตัดคำ หรือสลับตัวอักษร เช่น ขนม (ตัดตัวหน้า)=นม (ตัดตัวหลัง)=ขน เป็นต้น
  3.  ปริศนาผะหมีคำเดี่ยว เป็นปริศนาผะหมีที่ธงหรือคำตอบของปริศนาเป็นคำๆ เดียว เช่น ก๊ก กุ๊ก เก๊ก กั๊ก เป็นต้น
  4.  ปริศนาผะหมีคำผัน คำตอบของปริศนาจะผันตามเสียงวรรณยุกต์ เช่น ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า เป็นต้น
  5.  ปริศนาผะหมีพ้องหน้า คำตอบของปริศนาจะพ้องคำหน้ากัน เช่น แม่น้ำ แม่ทัพ แม่มด แม่บ้าน เป็นต้น
  6.  ปริศนาผะหมีพ้องกลาง คำตอบของปริศนานั้นคำกลางจะพ้องกัน เช่น นกสองหัว หมาสองราง ข้าสองเจ้า บ่าวสองนาย เป็นต้น
  7.  ปริศนาผะหมีพ้องหลัง คำตอบของปริศนาจะพ้องคำหลังกัน เช่น แม่น้ำ ลูกน้ำ ม้าน้ำ ตาน้ำ เป็นต้น
  8.  ปริศนาผะหมีลูกโซ่ คำตอบจะมีความเกี่ยวเนื่องกับคำตอบก่อนหน้า เช่น ก.ไก่ ไก่ฟ้า ฟ้าแลบ แลบลิ้น ลิ้นชัก เป็นต้น
  9.  ปริศนาผะหมีคำผวน คำตอบของปริศนาจะเป็นคำผวน เช่น กากินขี้หมู (ผวนเป็น)กูกินขี้หมา เป็นต้น
  10.ปริศนาผะหมีสุภาษิต คำพังเพย คำตอบเมื่อนำมารวมกันแล้วจะเป็นสำนวนโวหารต่างๆ เช่น จับ ปลา สอง มือ ; เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นต้น

สร้างโดย: 
sss28261

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 291 คน กำลังออนไลน์