• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:70d1757a652275ac4f503ece6423cddb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ห้ามลบ</b> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcbar1.jpg\" border=\"0\" width=\"302\" height=\"200\" /><img src=\"/files/u4567/bcbar2.jpg\" border=\"0\" width=\"298\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><a href=\"/node/18278?page=0%2C1\" title=\"คอมพิวเตอร์คืออะไร\"><img src=\"/files/u4567/bctext1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><a href=\"/node/18278?page=0%2C2\" title=\"ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctext2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><a href=\"/node/18278?page=0%2C3\" title=\"ประเภทของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctext3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><a href=\"/node/18278?page=0%2C4\" title=\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctext4.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\nหมดหน้า 1 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 2\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcbar1.jpg\" border=\"0\" width=\"302\" height=\"200\" /><img src=\"/files/u4567/bcbar2.jpg\" border=\"0\" width=\"298\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/18278?page=0%2C1\" title=\"คอมพิวเตอร์คืออะไร\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun1.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C2\" title=\"ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun2.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C3\" title=\"ประเภทของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun3.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C4\" title=\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun4.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><img src=\"/files/u4567/bctext1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs1t1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">              คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า  Computare  ซึ่งหมายถึง  การนับหรือการคำนวณ  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน  พ.ศ.  2525  ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า  &quot;เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ  ทำหน้าที่เหมือนสมองกล  ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ  ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์&quot;</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs1p1.jpg\" border=\"0\" width=\"423\" height=\"268\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  1 \n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">               คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล  ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป  นอกจากนี้ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง  โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ  อีกมาก  อาทิเช่น  การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์  การรับส่งข้อมูล  การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ  ได้</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u4567/bcs1t2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">               คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามจะมีลักษณะการทำงานของส่วนต่างๆ  ที่มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ  โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานหลักคือ  Input  Process  และ  output  ซึ่งมีขั้นตอนการทำงานดังภาพที่  2</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><img src=\"/files/u4567/bcs1p2.jpg\" border=\"0\" width=\"457\" height=\"172\" /></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\">ภาพที่  2</span> \n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">               <b>ขั้นตอนที่  1  :  รับข้อมูลเข้า  (Input)</b><br />\nเริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์  ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ  แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป  เช่น  ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์  (Keyboard)  เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง  ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค  (Graphics  Tablet)  โดยมีปากกาชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ  หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม  (Joystick)  สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของการเล่นบนจอภาพ  เป็นต้น<br />\n<b>ขั้นตอนที่  2  :  ประมวลผลข้อมูล  (Process)</b><br />\nเมื่อนำข้อมูลเข้ามาแล้ว  เครื่องจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ  การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง  เช่น  นำข้อมูลมาหาผลรวม  นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม  นำข้อมูลมาหาค่ามากที่สุดหรือน้อยที่สุด  เป็นต้น<br />\n<b>ขั้นตอนที่  3  :  แสดงผลลัพธ์  (Output)</b><br />\nเป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กำหนดไว้  โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ  หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า  &quot;จอมอนิเตอร์&quot;  (Monitor)  หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span></p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u4567/bcs1t3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" /> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">               เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น  4  ประการ  เพื่อทดแทนข้อจำกัดของมนุษย์  เรียกว่า  4  S  special  ดังนี้<br />\n1.  หน่วยเก็บ  (Storage)  หมายถึง  ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานาน  นับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำงานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร์  ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย<br />\n2.  ความเร็ว  (Speed)  หมายถึง  ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล  (Processing  Speed)  โดยใช้เวลาน้อย  เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด  เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญส่วนหนึ่งเช่นกัน<br />\n3.  ความเป็นอัตโนมัติ  (Self  Acting)  หมายถึง  ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ  โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกำหนดโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น<br />\n4.  ความน่าเชื่อถือ  (Sure)  หมายถึง  ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง  ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์  ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง  กล่าวคือ  หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span></p>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bcs1t4.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" /></span> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">               จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ  ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก  ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ  การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ  เช่น  พิมพ์จดหมาย  รายงาน  เอกสารต่างๆ  ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล  (word  processing)  นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ  อีกหลายด้าน  ดังต่อไปนี้<br />\nงานธุรกิจ  เช่น  บริษัท  ร้านค้า  ห้างสรรพสินค้า  ตลอดจนโรงงานต่างๆ  ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี  งานประมวลคำ  และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม  นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม  ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต  และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ  เช่น  โรงงานประกอบรถยนต์  ซึ่งทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ  หรืองานธนาคาร  ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ  (ATM)  และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน  และการโอนเงินระหว่างบัญชี  เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย<br />\nงานวิทยาศาสตร์  การแพทย์และงานสาธารณสุข  สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน  เช่น  งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี  วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ  หรืองานทะเบียน  การเงิน  สถิติ  และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้  ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม  และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น <br />\nงานคมนาคมและสื่อสาร  ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทางจะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา  ที่นั่ง  ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้  ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ  อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร  เช่น  ไฟสัญญาณจราจรและการจราจรทางอากาศ  หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร  ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน<br />\nงานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม  สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ  หรือ  จำลองสภาวการณ์ต่างๆ  เช่น  การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว  โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง  รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ  เช่น  คนงาน  เครื่องมือ  ผลการทำงาน<br />\nงานราชการ  เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด  โดยมีการใช้หลายรูปแบบ  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ  เช่น  กระทรวงศึกษาธิการมีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์,  กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ ,  กรมสรรพากรใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี  เป็นต้น<br />\nการศึกษา  ได้แก่  การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน  ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน  CAI  หรืองานด้านทะเบียน  ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน  การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/18278\" title=\"กลับไปหน้าเมนู\"><img src=\"/files/u4567/bctextback.jpg\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"106\" /></a></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bciconback.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /></span> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<p>\nหมดหน้า 2 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 3\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcbar1.jpg\" border=\"0\" width=\"302\" height=\"200\" /><img src=\"/files/u4567/bcbar2.jpg\" border=\"0\" width=\"298\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/18278?page=0%2C1\" title=\"คอมพิวเตอร์คืออะไร\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun1.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C2\" title=\"ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun2.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C3\" title=\"ประเภทของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun3.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C4\" title=\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun4.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><img src=\"/files/u4567/bctext2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำนวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจากเครื่องมือในการคำนวณเครื่องแรกคือ  &quot;ลูกคิด&quot;  (Abacus)  ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน  เมื่อประมาณ  2,000-3,000  ปีมาแล้ว\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p1.jpg\" border=\"0\" width=\"204\" height=\"246\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  3 \n</div>\n<p>\nจนกระทั่งในปี  พ.ศ.  2376  นักคณิตศาสต์ชาวอังกฤษชื่อ  ชาร์ล  แบบเบจ  (Charles  Babbage)  ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์  (Analytical  Engine)  สามารถคำนวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่นต่างๆ  ทางคณิตศาสตร์  การทำงานของเครื่องนี้แบ่งเป็น  3  ส่วน  คือ  ส่วนเก็บข้อมูล  ส่วนคำนวณ  และส่วนควบคุม  ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้ำหมุนฟันเฟือง  มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู  คำนวณได้โดยอัตโนมัติ  และเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ  ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ  หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นำมาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่  เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nหลังจากนั้นเป็นต้นมา  ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมายหลายขนาด  ทำให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง  โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น  5  ยุค  ดังนี้\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs2t1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nเป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคำนวณ  โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต  (Mauchly  and  Eckert)  ได้นำแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า  ENIAC  (Electronic  Numericial  Integrator  and  Calculator)  ซึ่งต่อมาได้ทำการปรับปรุงการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น  และได้ประดิษฐ์เครื่อง  UNIVAC  (Universal  Automatic  Computer)  ขึ้นเพื่อใช้ในการสำรวจสำมะโนประชากรประจำปี  จึงนับได้ว่า  UNIVAC  เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ  ซึ่งนับเป็นการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง  เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศในการควบคุมการทำงานของเครื่อง  ซึ่งทำงานได้อย่างรวดเร็ว  แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง  ยุคแรกของคอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p2.jpg\" border=\"0\" width=\"279\" height=\"198\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  4 \n</div>\n<p>\nลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่  1  คือ  ใช้อุปกรณ์หลอดสุญญากาศ  (Vacuum  Tube)  เป็นส่วนประกอบหลัก  ทำให้ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่  ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง  ทำงานด้วยภาษาเครื่อง  (Machine  Language)  เท่านั้น  เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์  (Assembly / Symbolic  Language)  ขึ้นใช้งาน\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs2t2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nมีการนำทรานซิสเตอร์มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทำให้เครื่องมีขนาดเล็กลง  และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มีความรวดเร็วและแม่นยำมากยิ่งขึ้น  นอกจากนี้ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์  เช่น  ภาษาฟอร์แทน  (FORTRAN)  จึงทำให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสำหรับใช้กับเครื่อง\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p3.jpg\" border=\"0\" width=\"223\" height=\"246\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  5 \n</div>\n<p>\nลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่  2  ใช้อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์  (Transistor)  ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนำ  (Semi - Conductor)  เป็นอุปกรณ์หลักแทนหลอดสุญญากาศ  เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว  มีประสิทธิภาพในการทำงานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด  ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก  ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย  ความร้อนต่ำ  ทำงานเร็ว  และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น  เก็บข้อมูลได้โดยใช้ส่วนความจำวงแหวนแม่เหล็ก  (Magnetic  Core)  มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่ง  ประมาณหนึ่งในพันของวินาที  (Millisecond  :  mS)  สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น  เนื่องจากทำงานด้วยภาษาสัญลักษณ์  (Assembly  Language)  เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง  (High  Level  Language)  ขึ้นใช้งานในยุคนี้\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs2t3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง  5  ปี  เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม  (Integrated - Circuit)  หรือเรียกกันย่อๆ  ว่า  &quot;ไอซี&quot;  (IC)  ซึ่งไอซีนี้ทำให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ  สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป  (chip)  เล็กๆ  เพียงแผ่นเดียว  จึงมีการนำเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p4.jpg\" border=\"0\" width=\"335\" height=\"213\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  6 \n</div>\n<p>\nนอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล  (Data  Base  Management  Systems  :  DBMS)  และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานร่วมกันได้หลายๆ  งานในเวลาเดียวกัน  และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ  คน  พร้อมๆ  กัน  (Time  Sharing)<br />\nลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่  3  คือใช้อุปกรณ์วงจรรวม  (Integrated  Circuit  :  IC)  หรือ  ไอซีและวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่  (Large  Scale  Integration  :  LSI)  เป็นอุปกรณ์หลัก  ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่งประมาณหนึ่งในล้านของวินาที  (Microsecond  :  mS)  (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่  1  ประมาณ  1,000  เท่า)  ทำงานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs2t4.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nเป็นยุคที่นำสารกึ่งตัวนำมาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก  (Very  Large  Scale  Integrated  :  VLSI)  ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ  วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน  และมีการประดิษฐ์ไมโครโพรเซสเซอร์  (Microprocessor)  ขึ้น  ทำให้เครื่องมีขนาดเล็ก  ราคาถูกลง  และมีความสามารถในการทำงานสูงและรวดเร็วมาก  จึงทำให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล  (Personal  Computer)  ถือกำเนิดขึ้นมาในยุคนี้\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p5.jpg\" border=\"0\" width=\"140\" height=\"112\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  7 \n</div>\n<p>\nลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่  4  คือใช้อุปกรณ์วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่  (Large  Scale  Integration  :  LSI)  และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่มาก  (Very  Large  Scale  Integration  :  VLSI)  เป็นอุปกรณ์หลัก  มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคำสั่งประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที  (Nanosecond  :  nS)  และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคำสั่งประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที  (Picosecond  :  pS)\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs2t5.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nในยุคนี้ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์  และความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน  มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก  (Portable  Computer)  ขึ้นใช้งานในยุคนี้  โครงการพัฒนาอุปกรณ์  VLSI  ให้ใช้งานง่าย  และมีความสามารถสูงขึ้น  รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์  (Artificial  Intelligence  :  AI)  เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้  โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs2p6.jpg\" border=\"0\" width=\"460\" height=\"343\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\nภาพที่  8   \n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: black\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/18278\" title=\"กลับไปหน้าเมนู\"><img src=\"/files/u4567/bctextback.jpg\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"106\" /></a></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bciconback.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\nหมดหน้า 3 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 4\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcbar1.jpg\" border=\"0\" width=\"302\" height=\"200\" /><img src=\"/files/u4567/bcbar2.jpg\" border=\"0\" width=\"298\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/18278?page=0%2C1\" title=\"คอมพิวเตอร์คืออะไร\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun1.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C2\" title=\"ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun2.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C3\" title=\"ประเภทของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun3.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C4\" title=\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun4.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><img src=\"/files/u4567/bctext3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" /> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\nจากประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมาก  ทำให้ปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้  การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น  สามารถจำแนกออกได้เป็น  3  กลุ่มหลัก  ดังนี้\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs3t1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nจำแนกได้เป็น  3  ประเภท  คือ<br />\n1.  คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก  (Analog  Computer)  หมายถึง  เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด  (Measuring Principle)  ทำงานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง  (Continuous  Data)  แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า  Analog  Signal  เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัทม์และเข็มชี้  เช่น  การวัดค่าความยาว  โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด  การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว  นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของ  Analog  Computer  ที่ใช้การประมวลผลแบบเป็นขั้นตอน  เช่น  เครื่องวัดปริมาณการใช้น้ำด้วยมาตรวัดน้ำ  ที่เปลี่ยนการไหลของน้ำให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ  อุปกรณ์วัดความเร็วของรถยนต์ในลักษณะเข็มชี้  หรือเครื่องตรวจคลื่นสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ  เป็นต้น<br />\n2.  คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล  (Digital Computer)  ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ  ไปนั่นเอง  เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ  ทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง  (Discrete Data)  ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า  หรือ  Digital  Signal  อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ  (Counter)  ภายใต้ระบบฐานเวลา  (Clock  Time)  มาตรฐาน  ทำให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ  ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง  เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตำแหน่ง  เป็นต้น  เนื่องจาก  Digital  Computer  ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า  (มนุษย์สัมผัสไม่ได้)  ทำให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง  จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า  (Analog Signal)  เป็นสัญญาณไฟฟ้า  (Digital Signal)  เสียก่อน  เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น  Analog  Signal  เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ต่อไป  โดยส่วนประกอบสำคัญที่เรียกว่า ตัวเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล  (Converter)  คอยทำหน้าที่ในการเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณข้อมูลระหว่าง  Digital  Signal  กับ  Analog  Signal<br />\n3.  คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม  (Hybrid  Computer)  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำงานแบบผสมผสาน  ระหว่าง  Analog Computer  และ  Digital  Computer  โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ  โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศที่ใช้  Analog  Computer  ควบคุมการหมุนของตัวยาน  และใช้  Digital  Computer  ในการคำนวณระยะทาง  เป็นต้น  การทำงานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้  ยังคงจำเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ  (Converter)  เช่นเดิม\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs3t2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nจำแนกได้เป็น  2  ประเภท  คือ<br />\n1.  เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ  (Special  Purpose  Computer)  หมายถึง  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม  ให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ  (Inflexible)  โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม  หรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร  คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟท์  หรือคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์  เป็นต้น<br />\n2.  เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์  (General  Purpose  Computer)  หมายถึง  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทำงาน  (Flexible)  โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ  ได้โดยสะดวก  โดยระบบจะทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา  และเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอะไร  ก็เพียงแต่ออกคำสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใช้งาน  โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้  เช่น  ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี  และในขณะหนึ่งก็สามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้  เป็นต้น\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs3t3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nจำแนกออกได้เป็น  4  ชนิด  โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล  และความเร็วในการประมวลผลเป็นหลัก  ดังนี้<br />\n1.  ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์  (Super  Computer)  หมายถึง  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด  โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน  และต้องการความเร็วสูง  เช่น  งานวิจัยขีปนาวุธ  งานโครงการอวกาศสหรัฐ  (NASA)  งานสื่อสารดาวเทียม  หรืองานพยากรณ์อากาศ  เป็นต้น<br />\n2.  เมนเฟรมคอมพิวเตอร์  (Mainframe  Computer)  หมายถึง  เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำและความเร็วน้อยลง  สามารถใช้ข้อมูลและคำสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล  (Family)  เดียวกันได้  โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ  นอกจากนั้นยังสามารถทำงานในระบบเครือข่าย  (Network)  ได้เป็นอย่างดี  โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่าเครื่องปลายทาง  (Terminal)  จำนวนมากได้  สามารถทำงานได้พร้อมกันหลายงาน  (Multi Tasking)  และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน  (Multi  User)  ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่  มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาท  ตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ  คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้  ATM  และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง<br />\n3.  มินิคอมพิวเตอร์  (Mini  Computer)  มักใช้ในงานธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง  ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง  เรียกว่าเครื่องมินิคอมพิวเตอร์  โดยมีลักษณะพิเศษในการทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้  มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิดแข็ง  (Harddisk)  ในการเก็บรักษาข้อมูล  สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว  หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ได้แก่  กรม  กอง  มหาวิทยาลัย  ห้างสรรพสินค้า  โรงแรม  โรงพยาบาล  และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ<br />\n4.  ไมโครคอมพิวเตอร์  (Micro  Computer)  หมายถึง  เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก  มีส่วนของหน่วยความจำและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด  สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียวจึงมักถูกเรียกว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล  (Personal  Computer  :  PC)  ปัจจุบันไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมาก  อาจเท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน  นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก  ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก  ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน  ตลอดจนตามโรงเรียน  สถานศึกษา  และบ้านเรือน  บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่ายจนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรกคือ  บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/18278\" title=\"กลับไปหน้าเมนู\"><img src=\"/files/u4567/bctextback.jpg\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"106\" /></a></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bciconback.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\nหมดหน้า 4 </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>เริ่มหน้า 5 \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcbar1.jpg\" border=\"0\" width=\"302\" height=\"200\" /><img src=\"/files/u4567/bcbar2.jpg\" border=\"0\" width=\"298\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/18278?page=0%2C1\" title=\"คอมพิวเตอร์คืออะไร\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun1.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C2\" title=\"ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun2.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C3\" title=\"ประเภทของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun3.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>  <a href=\"/node/18278?page=0%2C4\" title=\"องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์\"><img src=\"/files/u4567/bctextrun4.gif\" border=\"0\" width=\"150\" height=\"40\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" /> \n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><img src=\"/files/u4567/bctext4.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"80\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcspace.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"25\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nในความเป็นจริงแล้ว ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้น จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทำงานประสานงานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs4t1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nหมายถึง  อุปกรณ์ต่างๆ  ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้  (รูปธรรม)  เช่น  จอภาพ  คีย์บอร์ด  เครื่องพิมพ์  เมาส์  เป็นต้น  ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ  ตามลักษณะการทำงานได้  4  หน่วย  คือ  หน่วยรับข้อมูล  (Input  Unit)  หน่วยประมวลผลกลาง  (Central  Processing  Unit  :  CPU)  หน่วยแสดงผล  (Output  Unit)  หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง  (Secondary  Storage)  โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน  ดังภาพที่  9 \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u4567/bcs4p1.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"398\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพที่  9\n</div>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs4t2.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nหมายถึง  ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง  (นามธรรม)  เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน  ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์  ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย  ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น<br />\n1.  ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ  (System  Software)  คือ  ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป  ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด  เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง  และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน  ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ  DOS,  Windows,  Unix,  Linux  รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง  เช่น  ภาษา  Basic,  Fortran,  Pascal,  Cobol,  C  เป็นต้น  นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ  เช่น  Norton’s  Utilities  ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน<br />\n2.  ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application  Software)  คือ  ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำห้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ  ตามที่ผู้ใช้ต้องการ  ไม่ว่าจะด้านเอกสาร  บัญชี  การจัดเก็บข้อมูล  เป็นต้น  ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น  2  ประเภท  คือ<br />\n2.1  ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน  คือ  โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ  บางที่เรียกว่า  User’s  Program  เช่น  โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน  โปรแกรมระบบเช่าซื้อ  โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง  เป็นต้น  ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข  หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ  หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้  ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม  (Modifications)  ในบางส่วนของโปรแกรมได้  เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้  และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา<br />\n2.3  ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ  ทั่วไป  โดยผู้ใช้คนอื่นๆ  สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้  แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง  หรือแก้ไขโปรแกรมได้  ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง  ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา  แรงงาน  และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม  นอกจากนี้ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ  ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม  ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง  ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่  MS-Office,  Lotus,  Adobe  Photoshop,  SPSS,  Internet  Explorer  และเกมส์ต่างๆ  เป็นต้น\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs4t3.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nหมายถึง  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  สามารถใช้งาน  สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ  แบ่งออกได้  4  ระดับ  ดังนี้<br />\n1.  ผู้จัดการระบบ  (System  Manager)  คือ  ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน<br />\n2.  นักวิเคราะห์ระบบ  (System  Analyst)  คือ  ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม  ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน  เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน<br />\n3.  โปรแกรมเมอร์  (Programmer)  คือ  ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้  โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้<br />\n4.  ผู้ใช้  (User)  คือ  ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป  ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง  และวิธีการใช้งานโปรแกรม  เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u4567/bcs4t4.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"60\" />\n</p>\n<p>\nข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์  เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์  พร้อมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา  ข้อมูลที่สามารถนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้มี  5  ประเภท  คือ  ข้อมูลตัวเลข  (Numeric  Data)  ข้อมูลตัวอักษร  (Text  Data)  ข้อมูลเสียง  (Audio  Data)  ข้อมูลภาพ  (Images  Data)  และข้อมูลภาพเคลื่อนไหว  (Video  Data)\n</p>\n<p><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bcicon.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/18278\" title=\"กลับไปหน้าเมนู\"><img src=\"/files/u4567/bctextback.jpg\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"106\" /></a></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><img src=\"/files/u4567/bciconback.jpg\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"106\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</p>\n', created = 1714262250, expire = 1714348650, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:70d1757a652275ac4f503ece6423cddb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

รูปภาพของ narumon

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


 

หมดหน้า 1

สร้างโดย: 
นางสาวนฤมล แสงพรหม

ฮิ ฮิ

อาจารย์น่ารักดีครับ....เป็นกำลังใจให้ครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 403 คน กำลังออนไลน์