• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f7a7ab6f987a51e9c70d506377ec78e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<span style=\"color: #ff00ff; font-size: medium\"><span style=\"color: #800000; font-size: medium\">วงดนตรีเชมเบอร์<br />\n</span></span>นิยมใช้บรรเลงที่ห้องโถงที่ไม่ใหญ่มากนักมีชื่อเรียกตามแบบต่างๆกันออกไปจามจำนวนผู้บรรเลงดังนี้ \n<p>\n1.ดูเอ็ต ( duet ) มีผู้แสดงจำนวน 2 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน นักร้อง 2 คน หรือ กีตาร์ 1 คน กับขลุ่ยรีคอร์เดอร์ 1 คน <br />\n2.ทรีโอ ( trio ) มีผู้แสดงจำนวน 3 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน หรือ นักร้องประสานเสียง 3 คน <br />\n3.ควอเต็ต ( quartet ) มีผู้แสดงจำนวน 4 คน เช่น เครื่องสาย 4 ชิ้น คือผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน และ เชลโล 1 คน <br />\n4.ควินเต็ต ( quintet ) มีผู้แสดงจำนวน 5 คน เช่น วงเครื่องทองเหลือง 5 ชิ้น คือ ผู้เล่นทรัมป็ด 2 คน ฮอร์น 1 คน ทรอมโบน 1 คน ทูบา 1 คน <br />\n5.เซ็กเต็ต ( sextet ) มีผู้แสดงจำนวน 6 คน เช่น นักร้องประสานเสียง 6 คน <br />\n6.เซ็ปเต็ต ( septet ) มีผู้แสดงจำนวน 7 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน วิโอลา ฮอร์น คลาริเน็ต บาสซูน เชลโล และ ดับเบิลเบส อย่างละ 1 คน <br />\n7.อ๊อกเต็ต ( octet ) มีผู้แสดงจำนวน 8 คน เช่น ประกอบด้วยผู้เล่น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น อย่างละ 1 คน <br />\n8.โนเน็ต ( nonet ) มีผู้แสดงจำนวน 9 คน ประกอบด้วย วงสตริงควอเต็ต ( 4 คน ) แล้วเพิ่ม ฟลู้ต โอโบ คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น รวมเป็น 9 คน ( เปียโน 1 คน ) <br />\n              เพลงที่ใช้บรรเลงในวงนี้เป็นบทประพันธ์แบบสั้นๆ ต้องการแสดงความโดดเด่น เทคนิคต่างๆ ในการบรรเลงและการประสานเสียงของเครื่องดนตรีที่บรรเลงร่วมกัน ส่วนใหญ่นิยมใช้เครื่องดนตรีปะเภทเครื่องสายเป็นสำคัญ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff; font-size: large\"><strong><span style=\"color: #800000; font-size: medium\">วงแบนด์ (Band)</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n     วงแบนด์เป็นลักษณะของการผสมวงดนตรีอีกประเภทหนึ่งของตะวันตกที่มีเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องเป่าเป็นหลักและมีเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะผสมวงบรรเลงร่วมกัน การผสมวงแบนด์แบ่งตามประเภทได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n<strong>2.1 วงคอนเสิร์ตแบนด์</strong> <br />\nดนตรีที่มีขนาดปานกลางมีผู้นักดนตรีประมาณ 30-45 คน ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม คือ <br />\n- กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind) ได้แก่ แซ็กโซโฟน , บาสซูน , โอโบ , คลาริเนท , ฟลูท และปิคโคโล ( ในบางโอกาสมักใช้ผู้เล่นคนเดียวกัน ) <br />\n- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , เฟรนช์ฮอร์นและคอร์เน็ต <br />\n- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ กลองทิมปานี , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , กิ่ง , มาริมบา , ฉาบ และระฆังราว ( ขึ้นอยู่กับเพลงด้วย ) <br />\nวงคอนเสิร์ตแบนด์มักใช้นั่งบรรเลงเป็นหลัก โดยปกติขณะที่นั่งบรรเลงจะต้องมีผู้อำนวยเพลง (Conductor) คอยควบคุมจังหวะและปรับความสมดุลของเพลงด้วย เพลงที่ใช้บรรเลงมักเป็นเพลงทั่ว ๆ ไปหรือเพลงที่ใช้เฉพาะในงานนั้น ๆ ซึ่งเพลงที่นำมาบรรเลงจะต้องเป็นเพลงที่เขียน ขึ้นมาเพื่อใช้กับวงคอนเสิร์ตแบนด์โดยเฉพาะเท่านั้น เพราะในการเรียบเรียงเสียงประสานนั้นผู้ที่ เรียบเรียง ฯ จะทราบจำนวนและเป็นผู้กำหนดเครื่องดนตรีเอง หากนำเพลงที่เรียบเรียงให้วงที่มีจำนวนนักดนตรีมากมาให้วงที่มีนักดนตรีน้อยเล่นอาจทำให้ทำนองหลักของเพลงขาดหายไปก็เป็นไปได้เนื่องจากจำนวนนัก<br />\n<strong>2.2. วงแตรวง (Brass Band) <br />\n</strong>      เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบในการเดินแถวของทหาร การสวนสนาม พิธีแห่ต่าง ๆ และใช้บรรเลงประกอบในงานกีฬา ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ <br />\n- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , บาริโทน , เฟรนช์ฮอร์นและคอร์เน็ต <br />\n- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , ในขณะใช้เดินแถวนั้นวงแตรวงจะต้องมีคทากรหรือดรัมเมเยอร์ (Drum Major) เดินถือไม้คทานำหน้าแถวเพื่อทำหน้าที่ให้สัญญาณต่าง ๆ นอกจากนี้วงแตรวงยังถือว่าเป็นต้นแบบของดนตรีแจ๊ส\n</p>\n<p>\n<strong>2.3 วงโยธวาทิต (Military Band)</strong> <br />\n      คำว่า &quot; โยธวาทิต &quot; ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง &quot; วงดนตรีที่บรรเลงโดยทหาร ซึ่งมาจากคำว่า โยธ แปลว่า ทหาร รวมกับคำว่า วาทิต แปลว่า ดนตรี หรือผู้บรรเลงดนตรี &quot; วงโยธวาทิตเป็นวงดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกับวงคอนเสิร์ตแบนด์ทุกประการเพียงแต่เรียกชื่อต่างกันเท่านั้น กล่าวคือ ในขณะที่วงโยธวาทิตใช้ประกอบการเดินแถวสวนสนามหรือแสดงการแปรแถวกลางแจ้งเราเรียกว่าการ &quot; แสดงดนตรีสนาม &quot; (Display) แต่เมื่อวงโยธวาทิตบรรเลงโดยการนั่งบรรเลงเราเรียกว่า &quot; คอนเสิร์ตแบนด์ &quot; (Concert Band) สำหรับการใช้งานนั้นคล้ายกับวงแตรวง ยกเว้นเครื่องดนตรีที่ประกอบในวงโยธทิตนั้นประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม คือ - กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind) ได้แก่ แซ็กโซโฟน , บาสซูน , โอโบ , คลาริเนท , ฟลูท และปิคโคโล ( ในบางโอกาสมักใช้ผู้เล่นคนเดียวกัน ) <br />\n- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , คอร์เน็ตและเฟรนช์ฮอร์น <br />\n- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , ฉาบ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff; font-size: large\"><strong><span style=\"color: #800000; font-size: medium\">วงออร์เคสตรา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>1) วงออร์เคสตราสมัยบาโรก (Baroque Orchestra)</strong></span> <br />\n          เป็นวงออร์เคสตราสมัยแรก ๆ ของดนตรีประเภทคลาสสิก มาตรฐานของการจัดวงไม่มี ความแน่นอนนัก ลักษณะการจัดวงโดยทั่วไปจะให้ไวโอลินหนึ่ง (First Violins) อยู่ทางซ้ายมือ ของผู้อำนวยเพลง (Conductor) และให้ไวโอลินที่สอง (Second Violins) อยู่ทางขวามือ วิโอลา และเชลโลอยู่ตรงกลางส่วนดับเบิลเบสอยู่แถวหลังสุดของวง สำหรับเครื่องเป่าลมไม้ (Woodwinds Instruments) อยู่หลังกลุ่มไวโอลินที่หนึ่ง เครื่องเป่าทองเหลือง (Brass Instruments) อยู่ด้านหลังขวา เครื่องประกอบจังหวะ (Percussion) อยู่หลังสุดของวง นอกจากนี้ อาจจะมีฮาร์ปสิคอร์ดเล่นเป็นแนวเบส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการผู้ประพันธ์เพลงและสถานที่ ที่ใช้ในการแสดงโดยทั่วไปมักมีจำนวนผู้เล่นประมา<br />\n<strong>2) วงออร์เคสตราสมัยคลาสสิก (Classical Orchestra) <br />\n</strong>          นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเริ่มมีแบบแผนมากขึ้นบทเพลงที่เขียนขึ้นก็ ้องการใช้ในวงที่มีจำนวนเครื่องดนตรีที่มากขึ้น ลักษณะการจัดวงโดยทั่วไปมีเครื่องดนตรีครบทั้ง 4 กลุ่ม ่วนจำนวนของเครื่องดนตรีแต่ละประเภทนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของวงและบทเพลงที่บรรเลง เนื่องจากว่าผู้ประพันธ์เพลงมักกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเองซึ่งประกอบด้วยเครื่อง ดนตรีดังนี้\n</p>\n<p>\n   กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลา เชลโลและดับเบิลเบส\n</p>\n<p>\n   กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต โอโบ คลาริเนตและบาสซูน\n</p>\n<p>\n   กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ เฟรนช์ฮอร์น ทรัมเปต และ<br />\nทรอมโบน (บางโอกาส)\n</p>\n<p>\n   กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี <br />\n(บางครั้งอาจมีเครื่องประกอบจังหวะอื่นประกอบในบางโอกาส)\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>3) วงออร์เคสตราสมัยโรแมนติก ( Romantic Orchestra)</strong> <br />\n          จากต้นสมัยบาโรกจนกระทั่งถึงปลายสมัยคลาสสิกผู้ประพันธ์เพลงต่างก็มีอิสระหลุดพ้นจากการครอบงำในด้านความคิดจึงส่งผลให้ผลงานที่แต่งขึ้นในสมัยนี้มีความสวยสดงดงามทำให้<br />\nพัฒนาการของวงออร์เคสตรามาถึงจุดที่เป็นมาตรฐาน เนื่องจากมีการใช้สีสันของเครื่องดนตรีที่แตก ต่างกันมาใช้ในการแต่งเพลงจึงมีความหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มจำนวนเครื่องดนตรีเข้า ไปเพื่อรองรับความคิดดังกล่าว เพื่อคุณภาพของเสียงที่แสดงพลังอำนาจของวงออร์เคสตราอย่าง แท้จริงจึงทำให้วงออร์เคสตราในสมัยนี้มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วย\n</p>\n<p>\n  กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลาเชลโลและ<br />\nดับเบิลเบส <br />\n  กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต โอโบ คลาริเนตและบาสซูน\n</p>\n<p>\n  กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ ทรัมเปต ทรอมโบน ทูบาและ <br />\nเฟรนช์ฮอร์น <br />\n  กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี <br />\nสำหรับจำนวนของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง อีกเช่นกัน แต่ส่วนใหญ่แล้ววงออร์เคสตราในสมัยโรแมนติกนึ้มักประกอบด้วยผู้เล่นทั้งหมดกว่า 80 คน ในบางครั้งมีการใช้เครื่องดนตรีอื่นเข้าร่วมด้วยเช่น ฮาร์ป           นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะเข้าไปอีกเพื่อเพิ่มสีสัน ของเพลงและความยิ่งใหญ่เช่น กิ่ง (Triangle) ฉาบ (Cymbals) กลองเล็ก (Side Drum)<br />\nกลองใหญ่ (Bass Drum) และ ระฆังราว (Chimes)\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>4) วงออร์เคสตราสมัยศตวรรษที่ 20 ( The Twentieth Century Orchestra)</strong> <br />\n          เนื่องจากความเจริญในทุก ๆ ด้านของสมัยนี้จึงทำให้ขนาดของวงออร์เคสตรามีความแตก ต่างกันออกไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจรวมถึงความเจริญทางด้านเทคโนโลยีได้มีการผลิต เครื่องดนตรีที่ใช้ไฟฟ้าที่เราเรียกว่า “ซินธิไซเซอร์” (Synthesizer) ซึ่งสามารถปรับแต่งเสียงเครื่อง ดนตรีได้เกือบทุกชนิด บางครั้งนำเข้ามาบรรเลงร่วมกับวงออร์เคสตรา จึงทำให้วงออร์เคสตราใน สมัยนี้มีหลายขนาด โดยปกติมักแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ วงออร์เคสตราขนาดเล็กมักประกอบด้วย <br />\nผู้เล่นไม่เกิน 60 คน และวงออร์เคสตราขนาดใหญ่มักประกอบด้วยผู้เล่นประมาณ 80 -100 คน ซึ่งจำนวนเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ประพันธ์เพลงเช่นกันส่วนใหญ่ กลุ่มเครื่องสายจะเป็นอัตราส่วน 1 ใน 4 ของผู้เล่นทั้งหมด ส่วนเครื่องอื่น ๆ ก็แล้วแต่ความ เหมาะสมและความสมดุล ประกอบด้วยเครื่องดนตรีดังนี้\n</p>\n<p>\n  กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลาเชลโลและ ดับเบิลเบส <br />\n  กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต พิคโคโล โอโบ คลาริเนตเบสคลาริเนตและบาสซูน <br />\n  กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ ทรัมเปต ทรอมโบน ทูบา และ <br />\nเฟรนช์ฮอร์น <br />\n  กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี\n</p>\n<p>\n          นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเครื่องดนตรีที่นำมาบรรเลงร่วมในวงออร์เคสตราในสมัยนี้ประกอบด้วย ฮาร์ป เปียโนและออร์แกน (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทเพลงนั้น ๆ ) ส่วนในกลุ่มของเครื่องประกอบจังหวะที่ เพิ่มเข้ามาด้วยเหตุผลเดียวกัน ประกอบด้วย กลองทิมปานี กลองเล็ก กลองใหญ่ ฉาบ กิ่ง ระฆังราว ฆ้อง ไซโลโฟนและวู้ดบล๊อค\n</p>\n<p>\nจากข้างต้นที่กล่าวมาเกี่ยวกับขนาดของวงออร์เคสตรานั้นได้กำหนดจำนวนของผู้เล่นพอ สรุปได้ดังนี้<br />\n- วงออร์เคสตราขนาดเล็ก (Small Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 40-60 คน<br />\n- วงออร์เคสตราขนาดกลาง (Medium Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 60-80 คน<br />\n- วงออร์เคสตราขนาดใหญ่ (Full Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 80-100 คน\n</p>\n<p>\nขนาดของวงออร์เคสตร้าจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กนั้นให้ถือเอากลุ่มเครื่องสายเป็น หลักสำคัญ ในการจัดขนาดของวง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong><span style=\"color: #000000\">วงซิมโฟนิคแบนด์  หรือ คอนเสิร์ตแบนด์  (Symphonic band or Concert band)</span></strong>เป็นวงดนตรีที่มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี  4 กลุ่ม  คือ  เครื่องลมไม้   เครื่องทองเหลือง  เครื่องประกอบจังหวะ  และเครื่องสายบางชิ้น โดยกลุ่มเครื่องเป่าเป็นหลักของวง  บรรเลง  แบบนั่งบรรเลงที่เรียกว่า  คอนเสิร์ต  มีผู้อำนวยเพลง (Conductor)  ถือไม้เล็ก ๆ  เรียกว่า ไม้บางตอง (Barton)  ยืนบนแท่งเล็กๆกำกับ  การบรรเลงเล่นเพลงจำพวกเดียวกันกับวงออร์เคสตร้า สถานที่แสดงเป็นคอนเสิร์ตฮอลล์(Concert Hall) หรือ ออดิทอเรียม  (Auditorium)\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>วงมาร์ชชิ่งแบนด์ หรือ วงโยธวาทิต  (Marching band or Military  band)</strong>   ประกอบด้วย เครื่องดนตรี 3 กลุ่ม  คือ เครื่องลมไม้  เครื่องทองเหลือง  และเครื่องประกอบจังหวะ   เป็นวงที่คนไทยรู้จักดีในชื่อ      วงโยธวาทิต เนื่องจากถือกำเนิดในเหล่ากรมกองทหารมาก่อน   แต่ปัจจุบันแพร่หลายในสถานศึกษาทั่วไป  โดยที่ยังนิยมเรียกชื่อว่า วงโยธวาทิตเช่นเดิม ปกติแล้วใช้ในการนำขบวนพาเหรด\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>วงแตรวง  (BrassBand)</strong>เป็นวงดนตรีที่เหมาะสำหรับบรรเลงกลางแจ้งเช่นเดียวกับวงโยธวาทิต เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 2 กลุ่ม  คือ กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง  และกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ    เล่นเพลงได้หลายรูปแบบ  เช่นเดียวกับวงซิมโฟนิคแบนด์  และ  วงโยธวาทิต    โดยใช้เครื่องทองเหลืองแทนแนวของเครื่องลมไม้\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>วงแจ๊ส ( Jazz  Band)</strong>เป็นวงดนตรีที่เกิดขึ้นจากการผสมกันระหว่างดนตรียุโรปและอาฟริกาเป็นวงดนตรีที่กำเนินขึ้นที่นครนิวออร์ลีนบริเวณสตอรีวิล(Storyville)มีลักษณะเด่นอยู่ที่การเน้นจังหวะหนักมากมีทำนอง<br />\nฝืนทนกับจังหวะเคาะอยู่แทบตลอดเวลานักดนตรีในวงดนตรีประเภทนี้ต้องเป็นผู้มีความสามารถในการบรรเลงเฉพาะตัวสูงมาก บางครั้งถึงกับสร้างทำนองขึ้นมาในทันทีทันใดด้วยการด้นเพลงในขณะบรรเลงร่วมวง (Improvisation)  เครื่องดนตรีีที่ใช้มีเครื่องเป่ามากกว่าประเภทอื่นได้้แก่่ แซ็กโซโฟน ทรัมเปท คลาริเนท และทรอมโบน เครื่องสาย ได้แก่ กีตาร์ ดับเบิสเบส  และเปียโนร่วมผสมด้วย ส่วนเครื่องกระทบประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองชุดและเครื่องเคาะ เขย่าขนาดเล็กอื่นๆ รูปแบบการประสมวงและการบรรเลงแตกต่างกันหลายประเภทตามยุคสมัยตามความสะดวก ความเหมาะสมสำหรับนักดนตรีและสภาพสังคมแต่ละแบบ<br />\nที่แตกต่างกันไป\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>วงบิกแบนด์  (Big Band)   หรือ วงดนตรีลีสาศ </strong> เต้นรำขนาดใหญ่  ใช้บรรเลงตามงานรื่นเริงทั่วๆ ไป  ประกอบด้วยเครื่องดนตรีกลุ่มแซ็กโซโฟน  กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง กลุ่มริทึม  หรือกลุ่มจังหวะนั่นเองในประเทศเรามีวงดนตรีบิกแบนด์สำหรับเต้นรำขนาดใหญ่<br />\nเช่น วงสุนทราภรณ์\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>Combo Band (วงคอมโบ)</strong> เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้องเป็นส่วนใหญ่ นิยมนำไปบรรเลงตามร้านอาการ ไนท์คลับ หรือตามสถานที่เริงรมย์ต่าง ๆ วงดนตรีประเภทนี้มีจำนวนนักดนตรีและเครื่องดนตรีไม่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ความสะดวกในการจัดวง แต่ส่วนมากมักประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ trumpet , Tenor Saxophone , Alto Saxophone , Trombone , Piano กีตาร์คอร์ด กีต้ารเบส กลองชุด เครื่องประกอบจังหวะอื่น ๆ\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>Shadow (วงชาโดว์)</strong> เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้าย ไปแสดงในที่ต่าง ๆ ใช้บรรเลงประกอบการขับร้อง และบางครั้งบรรเลงเฉพาะดนตรีอย่างเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้มี กีต้าร์ลีด (เมโลดี้) กีต้าร์คอร์ด กีต้าร์เบส กลองชุด เครื่องประกอบจังหวะอื่น ๆ\n</p>\n<p>\n<strong>String  Folk Song วงโฟล์คซอง</strong> เป็นวงดนตรีขนาดเล็กที่สุด มีผู้เล่นไม่เกินวงละ 3 คน แต่ที่นิยมมากที่สุด นิยมเพียงคนเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้ กีต้าร์โปร่งเพียงอย่างเดียว โดยที่ผู้เล่นกีต้าร์จะร้องและดีดกีต้าร์ไปด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n <strong>String Band</strong> เป็นวงดนตรีที่ปรับปรุงจากวง คอมโบ โดยเพิ่ม ไวโอลิน มาร่วมบรรเลงด้วยประมาณ 6 - 10 คัน เพื่อให้ ไวโอลิน เหล่านี้เล่น เป็นทำนอง และ back ground ทำให้เพลงที่บรรเลงมีความไพเราะยิ่งขึ้นหนักแน่นขึ้น วงประเภทนี้ได้รับความนิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น วงดารากร วงเจมส์ลาส , BARRY WHITE &amp; LOVE\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้ยังมีวงดนตรีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่อีกหลายชนิด ซึ่งวงที่เกิดขึ้นใหม่นี้ก็อาศัย ดัดแปลง ปรับปรุง แก้ไข จากของเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ปัจจุบันที่ต้องการความง่าย ๆ สะดวก สบาย รวดเร็ว\n</p>\n', created = 1714279437, expire = 1714365837, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f7a7ab6f987a51e9c70d506377ec78e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประสมวงดนตรีสากล

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


วงดนตรีเชมเบอร์
นิยมใช้บรรเลงที่ห้องโถงที่ไม่ใหญ่มากนักมีชื่อเรียกตามแบบต่างๆกันออกไปจามจำนวนผู้บรรเลงดังนี้

1.ดูเอ็ต ( duet ) มีผู้แสดงจำนวน 2 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน นักร้อง 2 คน หรือ กีตาร์ 1 คน กับขลุ่ยรีคอร์เดอร์ 1 คน
2.ทรีโอ ( trio ) มีผู้แสดงจำนวน 3 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน หรือ นักร้องประสานเสียง 3 คน
3.ควอเต็ต ( quartet ) มีผู้แสดงจำนวน 4 คน เช่น เครื่องสาย 4 ชิ้น คือผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน และ เชลโล 1 คน
4.ควินเต็ต ( quintet ) มีผู้แสดงจำนวน 5 คน เช่น วงเครื่องทองเหลือง 5 ชิ้น คือ ผู้เล่นทรัมป็ด 2 คน ฮอร์น 1 คน ทรอมโบน 1 คน ทูบา 1 คน
5.เซ็กเต็ต ( sextet ) มีผู้แสดงจำนวน 6 คน เช่น นักร้องประสานเสียง 6 คน
6.เซ็ปเต็ต ( septet ) มีผู้แสดงจำนวน 7 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน วิโอลา ฮอร์น คลาริเน็ต บาสซูน เชลโล และ ดับเบิลเบส อย่างละ 1 คน
7.อ๊อกเต็ต ( octet ) มีผู้แสดงจำนวน 8 คน เช่น ประกอบด้วยผู้เล่น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น อย่างละ 1 คน
8.โนเน็ต ( nonet ) มีผู้แสดงจำนวน 9 คน ประกอบด้วย วงสตริงควอเต็ต ( 4 คน ) แล้วเพิ่ม ฟลู้ต โอโบ คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น รวมเป็น 9 คน ( เปียโน 1 คน )
              เพลงที่ใช้บรรเลงในวงนี้เป็นบทประพันธ์แบบสั้นๆ ต้องการแสดงความโดดเด่น เทคนิคต่างๆ ในการบรรเลงและการประสานเสียงของเครื่องดนตรีที่บรรเลงร่วมกัน ส่วนใหญ่นิยมใช้เครื่องดนตรีปะเภทเครื่องสายเป็นสำคัญ

วงแบนด์ (Band)

     วงแบนด์เป็นลักษณะของการผสมวงดนตรีอีกประเภทหนึ่งของตะวันตกที่มีเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องเป่าเป็นหลักและมีเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะผสมวงบรรเลงร่วมกัน การผสมวงแบนด์แบ่งตามประเภทได้ดังนี้

2.1 วงคอนเสิร์ตแบนด์
ดนตรีที่มีขนาดปานกลางมีผู้นักดนตรีประมาณ 30-45 คน ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม คือ
- กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind) ได้แก่ แซ็กโซโฟน , บาสซูน , โอโบ , คลาริเนท , ฟลูท และปิคโคโล ( ในบางโอกาสมักใช้ผู้เล่นคนเดียวกัน )
- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , เฟรนช์ฮอร์นและคอร์เน็ต
- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ กลองทิมปานี , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , กิ่ง , มาริมบา , ฉาบ และระฆังราว ( ขึ้นอยู่กับเพลงด้วย )
วงคอนเสิร์ตแบนด์มักใช้นั่งบรรเลงเป็นหลัก โดยปกติขณะที่นั่งบรรเลงจะต้องมีผู้อำนวยเพลง (Conductor) คอยควบคุมจังหวะและปรับความสมดุลของเพลงด้วย เพลงที่ใช้บรรเลงมักเป็นเพลงทั่ว ๆ ไปหรือเพลงที่ใช้เฉพาะในงานนั้น ๆ ซึ่งเพลงที่นำมาบรรเลงจะต้องเป็นเพลงที่เขียน ขึ้นมาเพื่อใช้กับวงคอนเสิร์ตแบนด์โดยเฉพาะเท่านั้น เพราะในการเรียบเรียงเสียงประสานนั้นผู้ที่ เรียบเรียง ฯ จะทราบจำนวนและเป็นผู้กำหนดเครื่องดนตรีเอง หากนำเพลงที่เรียบเรียงให้วงที่มีจำนวนนักดนตรีมากมาให้วงที่มีนักดนตรีน้อยเล่นอาจทำให้ทำนองหลักของเพลงขาดหายไปก็เป็นไปได้เนื่องจากจำนวนนัก
2.2. วงแตรวง (Brass Band)
      เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบในการเดินแถวของทหาร การสวนสนาม พิธีแห่ต่าง ๆ และใช้บรรเลงประกอบในงานกีฬา ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ
- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , บาริโทน , เฟรนช์ฮอร์นและคอร์เน็ต
- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , ในขณะใช้เดินแถวนั้นวงแตรวงจะต้องมีคทากรหรือดรัมเมเยอร์ (Drum Major) เดินถือไม้คทานำหน้าแถวเพื่อทำหน้าที่ให้สัญญาณต่าง ๆ นอกจากนี้วงแตรวงยังถือว่าเป็นต้นแบบของดนตรีแจ๊ส

2.3 วงโยธวาทิต (Military Band)
      คำว่า " โยธวาทิต " ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง " วงดนตรีที่บรรเลงโดยทหาร ซึ่งมาจากคำว่า โยธ แปลว่า ทหาร รวมกับคำว่า วาทิต แปลว่า ดนตรี หรือผู้บรรเลงดนตรี " วงโยธวาทิตเป็นวงดนตรีที่มีลักษณะคล้ายกับวงคอนเสิร์ตแบนด์ทุกประการเพียงแต่เรียกชื่อต่างกันเท่านั้น กล่าวคือ ในขณะที่วงโยธวาทิตใช้ประกอบการเดินแถวสวนสนามหรือแสดงการแปรแถวกลางแจ้งเราเรียกว่าการ " แสดงดนตรีสนาม " (Display) แต่เมื่อวงโยธวาทิตบรรเลงโดยการนั่งบรรเลงเราเรียกว่า " คอนเสิร์ตแบนด์ " (Concert Band) สำหรับการใช้งานนั้นคล้ายกับวงแตรวง ยกเว้นเครื่องดนตรีที่ประกอบในวงโยธทิตนั้นประกอบด้วยเครื่องดนตรี 3 กลุ่ม คือ - กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind) ได้แก่ แซ็กโซโฟน , บาสซูน , โอโบ , คลาริเนท , ฟลูท และปิคโคโล ( ในบางโอกาสมักใช้ผู้เล่นคนเดียวกัน )
- กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass) ได้แก่ ทรัมเป็ต , ทรอมโบน , ทูบา , ยูโฟเนียม , คอร์เน็ตและเฟรนช์ฮอร์น
- กลุ่มเครื่องตีประกอบจังหวะ (Percussion) ได้แก่ , กลองเล็ก , กลองใหญ่ , ฉาบ

วงออร์เคสตรา

1) วงออร์เคสตราสมัยบาโรก (Baroque Orchestra)
          เป็นวงออร์เคสตราสมัยแรก ๆ ของดนตรีประเภทคลาสสิก มาตรฐานของการจัดวงไม่มี ความแน่นอนนัก ลักษณะการจัดวงโดยทั่วไปจะให้ไวโอลินหนึ่ง (First Violins) อยู่ทางซ้ายมือ ของผู้อำนวยเพลง (Conductor) และให้ไวโอลินที่สอง (Second Violins) อยู่ทางขวามือ วิโอลา และเชลโลอยู่ตรงกลางส่วนดับเบิลเบสอยู่แถวหลังสุดของวง สำหรับเครื่องเป่าลมไม้ (Woodwinds Instruments) อยู่หลังกลุ่มไวโอลินที่หนึ่ง เครื่องเป่าทองเหลือง (Brass Instruments) อยู่ด้านหลังขวา เครื่องประกอบจังหวะ (Percussion) อยู่หลังสุดของวง นอกจากนี้ อาจจะมีฮาร์ปสิคอร์ดเล่นเป็นแนวเบส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการผู้ประพันธ์เพลงและสถานที่ ที่ใช้ในการแสดงโดยทั่วไปมักมีจำนวนผู้เล่นประมา
2) วงออร์เคสตราสมัยคลาสสิก (Classical Orchestra)
          นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเริ่มมีแบบแผนมากขึ้นบทเพลงที่เขียนขึ้นก็ ้องการใช้ในวงที่มีจำนวนเครื่องดนตรีที่มากขึ้น ลักษณะการจัดวงโดยทั่วไปมีเครื่องดนตรีครบทั้ง 4 กลุ่ม ่วนจำนวนของเครื่องดนตรีแต่ละประเภทนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของวงและบทเพลงที่บรรเลง เนื่องจากว่าผู้ประพันธ์เพลงมักกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเองซึ่งประกอบด้วยเครื่อง ดนตรีดังนี้

   กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลา เชลโลและดับเบิลเบส

   กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต โอโบ คลาริเนตและบาสซูน

   กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ เฟรนช์ฮอร์น ทรัมเปต และ
ทรอมโบน (บางโอกาส)

   กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี
(บางครั้งอาจมีเครื่องประกอบจังหวะอื่นประกอบในบางโอกาส)


3) วงออร์เคสตราสมัยโรแมนติก ( Romantic Orchestra)
          จากต้นสมัยบาโรกจนกระทั่งถึงปลายสมัยคลาสสิกผู้ประพันธ์เพลงต่างก็มีอิสระหลุดพ้นจากการครอบงำในด้านความคิดจึงส่งผลให้ผลงานที่แต่งขึ้นในสมัยนี้มีความสวยสดงดงามทำให้
พัฒนาการของวงออร์เคสตรามาถึงจุดที่เป็นมาตรฐาน เนื่องจากมีการใช้สีสันของเครื่องดนตรีที่แตก ต่างกันมาใช้ในการแต่งเพลงจึงมีความหลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มจำนวนเครื่องดนตรีเข้า ไปเพื่อรองรับความคิดดังกล่าว เพื่อคุณภาพของเสียงที่แสดงพลังอำนาจของวงออร์เคสตราอย่าง แท้จริงจึงทำให้วงออร์เคสตราในสมัยนี้มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วย

  กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลาเชลโลและ
ดับเบิลเบส
  กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต โอโบ คลาริเนตและบาสซูน

  กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ ทรัมเปต ทรอมโบน ทูบาและ
เฟรนช์ฮอร์น
  กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี
สำหรับจำนวนของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง อีกเช่นกัน แต่ส่วนใหญ่แล้ววงออร์เคสตราในสมัยโรแมนติกนึ้มักประกอบด้วยผู้เล่นทั้งหมดกว่า 80 คน ในบางครั้งมีการใช้เครื่องดนตรีอื่นเข้าร่วมด้วยเช่น ฮาร์ป           นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะเข้าไปอีกเพื่อเพิ่มสีสัน ของเพลงและความยิ่งใหญ่เช่น กิ่ง (Triangle) ฉาบ (Cymbals) กลองเล็ก (Side Drum)
กลองใหญ่ (Bass Drum) และ ระฆังราว (Chimes)


4) วงออร์เคสตราสมัยศตวรรษที่ 20 ( The Twentieth Century Orchestra)
          เนื่องจากความเจริญในทุก ๆ ด้านของสมัยนี้จึงทำให้ขนาดของวงออร์เคสตรามีความแตก ต่างกันออกไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจรวมถึงความเจริญทางด้านเทคโนโลยีได้มีการผลิต เครื่องดนตรีที่ใช้ไฟฟ้าที่เราเรียกว่า “ซินธิไซเซอร์” (Synthesizer) ซึ่งสามารถปรับแต่งเสียงเครื่อง ดนตรีได้เกือบทุกชนิด บางครั้งนำเข้ามาบรรเลงร่วมกับวงออร์เคสตรา จึงทำให้วงออร์เคสตราใน สมัยนี้มีหลายขนาด โดยปกติมักแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ วงออร์เคสตราขนาดเล็กมักประกอบด้วย
ผู้เล่นไม่เกิน 60 คน และวงออร์เคสตราขนาดใหญ่มักประกอบด้วยผู้เล่นประมาณ 80 -100 คน ซึ่งจำนวนเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ประพันธ์เพลงเช่นกันส่วนใหญ่ กลุ่มเครื่องสายจะเป็นอัตราส่วน 1 ใน 4 ของผู้เล่นทั้งหมด ส่วนเครื่องอื่น ๆ ก็แล้วแต่ความ เหมาะสมและความสมดุล ประกอบด้วยเครื่องดนตรีดังนี้

  กลุ่มเครื่องสาย (String Instruments) ได้แก่ ไวโอลินที่หนึ่ง ไวโอลินที่สอง วิโอลาเชลโลและ ดับเบิลเบส
  กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) ได้แก่ ฟลูต พิคโคโล โอโบ คลาริเนตเบสคลาริเนตและบาสซูน
  กลุ่มเครื่องทองเหลือง (Brass Instruments) ได้แก่ ทรัมเปต ทรอมโบน ทูบา และ
เฟรนช์ฮอร์น
  กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Percussion Instruments) ได้แก่ กลองทิมปานี

          นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเครื่องดนตรีที่นำมาบรรเลงร่วมในวงออร์เคสตราในสมัยนี้ประกอบด้วย ฮาร์ป เปียโนและออร์แกน (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทเพลงนั้น ๆ ) ส่วนในกลุ่มของเครื่องประกอบจังหวะที่ เพิ่มเข้ามาด้วยเหตุผลเดียวกัน ประกอบด้วย กลองทิมปานี กลองเล็ก กลองใหญ่ ฉาบ กิ่ง ระฆังราว ฆ้อง ไซโลโฟนและวู้ดบล๊อค

จากข้างต้นที่กล่าวมาเกี่ยวกับขนาดของวงออร์เคสตรานั้นได้กำหนดจำนวนของผู้เล่นพอ สรุปได้ดังนี้
- วงออร์เคสตราขนาดเล็ก (Small Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 40-60 คน
- วงออร์เคสตราขนาดกลาง (Medium Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 60-80 คน
- วงออร์เคสตราขนาดใหญ่ (Full Orchestra) มีผู้เล่นประมาณ 80-100 คน

ขนาดของวงออร์เคสตร้าจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กนั้นให้ถือเอากลุ่มเครื่องสายเป็น หลักสำคัญ ในการจัดขนาดของวง

 

สร้างโดย: 
อ.นิพันธุ์ & น.ส.ธัญญารัตน์ ม.6/7

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 618 คน กำลังออนไลน์