• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:23ece5e1d0f7395ad4b8addb7a1085ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></b></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u3721/head.png\" border=\"0\" width=\"430\" height=\"100\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span>                                  </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span></span><br />\nต้นหนอนตายหยาก<span>  </span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ชื่อวิทยาศาสตร์<span>      </span></span>Stemona<span>  </span>tuberose<span>  </span>Lour <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">วงศ์<span>    </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">Stemonaceae</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หนอนตายหยาก<span>  </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เป็นพันธุ์ไม้จำพวกไม้เลื้อยตามพื้นดินหรือพาดพันตามต้นไม้อื่น<span>  <br />\n</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ราก<span>  </span>เป็นรากที่มีลักษณะอวบใหญ่กว่าเถา<span>  </span>มีหน้าที่เก็บสะสมอาหาร<span>  <br />\n</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ต้น<span>    </span>ต้นเป็นเถาคล้ายใบพลูมาก<span>  <br />\n</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ใบ<span>   </span>ใบโต<span>  </span>ปลายใบเรียวแหลมคล้ายใบพลู<span>  </span>เส้นลายในใบถี่ละเอียด<span>  <br />\n</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ดอก<span>   </span>มีดอกเล็ก ๆ เป็นกลีบ ๆ<span>  </span>คล้ายดอกจำปา<span>  </span>ดอกสีแดงชนิดหนึ่ง<span>  </span>สีขาวชนิดหนึ่ง<span>  <br />\n</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ผล<span>     </span>มีฝักเล็ก<span>  </span>ปลายฝักแหลม<span>  </span>กว้างราว<span>  </span>1<span>  </span>เซนติเมตร<span>  <br />\n</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เมล็ด<span>  </span>ภายในผลมีหลายเมล็ด<span>  </span>เมื่อแก่มีสีดำ<span>  </span>ขนาดเล็ก</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u3721/mix.png\" border=\"0\" width=\"333\" height=\"100\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หนอนตายหยาก  เป็นไม้ล้มลุกเจริญในฤดูฝน<span>  </span>สิ้นฤดูฝนก็เหี่ยวแห้งไป<span>  </span>ถึงฤดูฝนก็งอกงามขึ้นมาอีก<span>  </span>เพราะมีหัวอยู่ใต้ดิน<span>  </span>ชอบขึ้นตามป่า<span>  </span>มีทั่วไปในประเทศไทย<span>    </span><span> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ท้องถิ่นมีการเรียกชื่อพืชหนอนตายหยากเหมือนกันในแต่ละท้องถิ่น<span>  </span>และมีประสิทธิภาพในการกำจัดหนอนได้เช่นเดียวกันแต่เป็นพืชต่างชนิดกันเมื่อตรวจสอบทางอนุกรมวิธาน<span>  </span>กล่าวคือพืชที่ท้องถิ่นเรียกว่าหนอนตายหยากนั้น<span>  </span>มีความแตกต่างกันดังนี้</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u3721/nontryyak.jpg\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"207\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">1.<span>  </span>หนอนตายหยาก<span>  </span>พืชในวงศ์<span>  </span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #0000ff\">Stemonaeae</span><span>  </span><span lang=\"TH\">เป็นพืชที่นำส่วนของรากมาใช้ประโยชน์<span>  </span>พบได้ในป่าทั่ว ๆ ไปของประเทศจีน<span>  </span>ญี่ปุ่น<span>  </span>มาเลเซีย<span>  </span>ลาว<span>  </span>ไทย<span>  </span>ฯลฯ<span>  </span>สำหรับประเทศไทยพบหนอนตายหยากได้ทั่วไปทุกภาค<span>  </span>และมีชื่อเรียกต่างกันตามท้องถิ่น<span>  </span>เช่น<span>  </span>พญาร้อยหัว<span>  </span>กระเพียดหนู<span>  </span>ต้นสามสิบกลีบ<span>  </span>โป่งมดง่าม<span>  </span>สลอดเชียงคำ<span>  </span>ฯลฯ<span>  </span>นอกจากนั้นหนอนตายหยากในประเทศไทยยังมีความหลากหลายในชนิด<span>  </span>(</span>Species<span lang=\"TH\">)<span>  </span>เช่น<span>  </span></span>Stemona<span>  </span>tuberose Lour,<span>  </span>Stemona<span>  </span>collinsae<span>  </span>Craib,<span>  </span>Stemona<span>  </span>keri,<span>  </span>Stemona<span>  </span>berkill,<span>  </span>Stemona<span>  </span>stercochin<span>  </span><span lang=\"TH\">ฯลฯ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สรรพคุณ<span>  </span></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ใช้เป็นตัวยาสมุนไพรรักษาโรคในคนได้หลากหลาย<span>  </span>เช่น<span>  </span>โรคผิวหนัง<span>  </span>น้ำเหลืองเสีย<span>  </span>ผื่นคันตามร่างกาย<span>  </span>ฆ่าเชื้อโรคพยาธิภายใน<span>  </span>มะเร็งตับ<span>  </span>ลดระดับน้ำตาลสำหรับโรคเบาหวาน<span>  </span>รวมทั้งริดสีดวง<span>  </span>ปวดฟัน<span>  </span>ปวดเมื่อย<span>  </span>นอกจากนี้ในประเทศจีนมีการนำรากหนอนตายหยาก<span>  </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">Stemona<span>  </span>tuberose Lour, <span> </span>Stemona<span>  </span>sessilifolia<span>  </span><span lang=\"TH\">(</span>Miq<span lang=\"TH\">)<span>  </span></span>Stemona<span>  </span>japonica<span>  </span><span lang=\"TH\">(</span>BJ<span lang=\"TH\">)</span><span>  </span>Miq<span>  </span><span lang=\"TH\">มาใช้ในการรักษาอาการไอ<span>  </span>โรควัณโรค<span>  </span>ฯลฯ<span>  </span>โดยใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ<span>  </span>แต่ก่อนที่จะทำเป็นยาก็มีขั้นตอนทำลายพิษ<span>  </span>เช่น<span>  </span>นำรากมาล้างให้สะอาดแล้วลวกหรือนึ่งจนกระทั่งไม่เห็นแกนสีขาวในราก<span>  </span>ต้องตากแดดก่อนนำไปปรุงเป็นตำหรับยา<span>   </span>โดยหั่นให้มีขนาดเล็ก<span>  </span>หรือในบางตำราจะนำไปเชื่อมกับน้ำผึ้งก่อนนำไปใช้<span>   </span><span> </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ในการใช้เป็นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช<span>  </span>กำจัดแมลงศัตรูพืช<span>  </span>เช่น<span>  </span>หนอนกัดกินใบ<span>  </span>และ<span>  </span>เพลี้ยอ่อน กำจัดเชื้อสาเหตุโรคพืช เช่น </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">Rhizoctonia solani<span>  </span><span lang=\"TH\">และ </span>Erwinia<span>  </span>carotovora<span lang=\"TH\"> รวมทั้งการกำจัดลูกน้ำยุง (นันทวัน และอรนุช 2543)<span>  </span>สารออกฤทธิ์ที่ตรวจพบอยู่ในกลุ่ม</span> Alkaloids <span lang=\"TH\">ได้แก่ </span>Stemofoline <span lang=\"TH\">และ 16 17 </span>–didehydro-16 <span lang=\"TH\">(</span>e<span lang=\"TH\">)</span>- Stemofoline<span lang=\"TH\"> <span> </span>สารนี้ตรวจพบในหนอนตายหยากชนิด </span>Stamona collinsaecraib<span>  </span><span lang=\"TH\">(</span>Jiwajinda<span lang=\"TH\"> และคณะ 2001)<span>  </span>ในปัจจุบันมีการขยายพันธุ์และปลูกเลี้ยงหนอนตายหยากนำมาขายเป็นการค้าโดยนำรากมาสกัดด้วยน้ำหรือแอลกอฮอล์เพื่อใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืชในแปลงเกษตรกร</span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><br />\nการขยายพันธุ์ </span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หนอนตายหยากเป็นพืชที่นำรากมาใช้ประโยชน์แต่เวลาที่ท้องถิ่นขุดขึ้นมาขายมักติดส่วนเหง่าที่ใช้ขยายพันธุ์มาด้วยรากที่เห็นเป็นกอใหญ่ๆ นั้นต้องใช้เวลาหลานปีจึงจะเจริญเติบโตได้ขนาดนั้นประกอบกับหนอนตายหยากแต่และสายพันธุ์มีการติดฝักและติดเมล็ดได้มากน้อยแตกต่างกัน ถ้าเรายังขุดหนอนตายหยากจากป่ามาใช้โดยไม่มีการขยายพันธุ์หรือปลูกเพิ่มก็มีโอกาสการที่จะทำให้เกิดการสูญพันธุ์ได้ง่าย<span>  </span>วิธีการขายพันธุ์สามารถทำได้ทั้งการเพาะเมล็ดการแบ่งเหง้า</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u3721/7-53000-001-0344_1_.jpg\" border=\"0\" width=\"351\" height=\"500\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">              </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">2.<span>  </span>ขอบชะนางแดงและขอบชะนางขาว</span>ซึ่งมักเลือกว่า<span>  </span>หญ้าหนอนตาย<span>  </span>หนอนตายหยากหนอนแดง<span>  </span>หนอนขาว<span>  </span>เป็นวงศ์</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span>  </span>Urticaceae <span lang=\"TH\">มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า</span><span>  </span>Pouzolzia pentandra<span>  </span>Benn.<o:p></o:p></span> </span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เป็นไม้ล้มลุกคล้ายหญ้าลำต้นขนาดเท่าก้านไม้ขีดใบเป็นใบเดี่ยว</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span>  </span><span lang=\"TH\">ทั้งนี้ขอบชะนางแดงมีใบสีม่วงอมแดงส่วนขอบชะนางขาวมีใบสีเขียวอ่อนพืชทั้งสองชนิดมีต้นเล็กน้อยบนต้นและแผ่นใบดอกมีขนาดเล็กออกเป็นกระจุกระหว่างซอกใบ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สรรพคุณ <span> </span></span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สามารถใช้ได้ทั้งต้นโดยนำต้นมาปิ้งไฟแล้วชงกับน้ำเดือด<span>  </span>ใช้ขับพยาธิในเด็ก</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ช่วยดับพิษ<span style=\"letter-spacing: -0.4pt\">ในกระดูก<span>  </span>ขับปัสสาวะ<span>  </span>รักษาโรคหนองหั่นเป็นชิ้นนำมาใส่ในไหปลาร้าทิ้งไว้สักพักทำให้หนอนตาย</span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"letter-spacing: -0.4pt\"></span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"letter-spacing: -0.4pt\"></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><br />\nการขยายพันธุ์</span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ใช้วิธีการปักชำต้น</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">  </span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u3721/DSC01788.jpg\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"375\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">            </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">             <span style=\"color: #0000ff\">3.<span>  </span>หนอนตายหยากใบผีเสื้อเป็นวงศ์</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #0000ff\"><span>  </span>Leguminosae-Papilionoideae</span><span lang=\"TH\"><span>  </span>มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า </span>Christia vespertilionisbakh. F.<span>  </span><span lang=\"TH\">ใบมีลักษณะคลายใบชงโคหรือคล้ายปีกผีเสื้อท้องถิ่นนำมาหั่นเป็นชิ้นนำมาใส่ในไหปลาร้าทิ้งไว้สักพักทำให้หนอนตาย</span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><br />\nการขยายพันธุ์ </span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">โดยการเพาะเมล็ด</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">จากการศึกษาจากตัวอย่างหนอนตายหยากที่เก็บได้จากแหล่งต่าง ๆ<span>  </span>มาตรวจ</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">วิเคราะห์หาสารออกฤทธิ์พบว่ามีสาร<span>  </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">stemofoline <span lang=\"TH\"><span> </span>และ</span>16 17-didehydro-16<span lang=\"TH\">(</span>e<span lang=\"TH\">)</span>-stemofoline <span lang=\"TH\"><span> </span>ซึ่งพบปริมาณสารนี้มากในหนอนตายหยากวงศ์ </span><span> </span>Stemonaceae<span lang=\"TH\"> โดยเฉพาะหนอนตายหยากชนิด </span>Stamona collinsaecraib <span lang=\"TH\">หนอนตายหยากใบผีเสื้อในวงศ์ </span><span> </span>leguminosae-papilionoideae<span lang=\"TH\"><span>  </span>ไม่พบสารชนิดนี้แต่พบสารชนิดอื่นยังไม่ทราบชนิด<span>  </span>สำหรับขอบชะนางอยู่ระหว่างเพิ่มปริมาณต้นให้ได้ปริมาณตัวอย่างมากพอกับการวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ต่อไป<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></span><o:p></o:p></span>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><b>ประโยชน์ของหัวหนอนตายหยาก<br />\n</b></span><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #000000\"><span>          หัวหนอนตายหยาก<o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ใช้หัวหนอนตายอยากมาทำเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพร สรรพคุณแก้โรคมะเร็งผิวหนัง มะเร็งปากมดลูก ฆ่าพยาธิ</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">1 <span lang=\"TH\">สูตรน้ำสกัดชีวภาพชนิดสมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชส้มโอ ส่วนประกอบ</span> <o:p></o:p></span></span></b></span></p>\n<div>\n<table style=\"width: 70%\" class=\"MsoNormalTable\" align=\"center\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" width=\"70%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background: none repeat scroll 0% 0% white; width: 70%; border: medium none #ece9d8; padding: 2.25pt\" width=\"70%\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">หัวกลอย</span><br />\n 2. <span lang=\"TH\">หัวหนอนตายหยาก</span><br />\n 3. <span lang=\"TH\">ใบขี่เหล็ก</span><br />\n 4. <span lang=\"TH\">สะเดา</span> (<span lang=\"TH\">เมล็ด </span>3 <span lang=\"TH\">กก. และใบ </span>2 <span lang=\"TH\">กก.)</span><br />\n 5. <span lang=\"TH\">ตะไคร้หอม (ทั้งต้น)</span><br />\n 6. <span lang=\"TH\">เถาหางไหลแดง</span><br />\n 7. <span lang=\"TH\">กากน้ำตาล</span><br />\n 8. <span lang=\"TH\">หัวเชื้ออีเอ็ม/พด.</span>1 <o:p></o:p></span></span></td>\n<td style=\"background: none repeat scroll 0% 0% white; width: 30%; border: medium none #ece9d8; padding: 2.25pt\" width=\"30%\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 5 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><br />\n 10 <span lang=\"TH\">กิโกลรัม</span><br />\n 2 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม</span><o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p>\n<span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">วิธีทำ</span></span><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">          สับส่วนประกอบท้ง </span>6 <span lang=\"TH\">ชนิด ให้ละเอียดเป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดให้ละเอียด นำไปบรรจุในถังพลาสติก ซึ่งมีฝาปิดมิดชิด ใส่กากน้ำตาล แลอีเอ็มคลุกเคล้าให้เข้ากันปิดฝาให้สนิท ควรบรรจุให้เกือบเต็ม คือ มีช่องว่างเหลือประมาณ </span>10% <span lang=\"TH\">ของถัง ตั้งไว้ในที่ร่มประมาณ </span>7 <span lang=\"TH\">วัน สามารถนำไปใช้ได้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">วิธีการใช้ </span><br />\n</span><span lang=\"TH\">กรองน้ำที่ได้จากการหมัก </span>30 <span lang=\"TH\">ซีซี ผสมน้ำ </span>20 <span lang=\"TH\">ลิตร ฉีดพ่นทุก ๆ </span>7 <span lang=\"TH\">วัน การฉีดพ่นควรปฏิบัติในช่วงแดดอ่อนหรือในช่วงเช้าจะประสิทธิภาพสูง ส่วนกากที่เหลือจากการคั้นน้ำไปฝังกลบใต้ต้นส้มเพื่อเป็นปุ๋ยและสามารถขับไล่แมลงในดินได้</span></span></span>\n</p>\n<p><span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">ข้อควรระวัง </span><br />\n</span></span><span lang=\"TH\">         น้ำสกัดชีวภาพหรือปุ๋ยหมักน้ำทุกชนิดที่ได้จากการหมักนั้นจะมีความเข้มข้นสูง การนำไปใช้ทุกครั้งต้องผสมน้ำให้เจือจางก่อน หากนำน้ำสกัดชีวภาพแบบเข้มข้นไปใช้โดยไม่ทำให้เจือจางก่อน อาจทำให้พืชผัก ผลไม้เสียหายได้ เนื่องจากน้ำสกัดชีวภาพเหล่านี้มีความเค็มสูง มีความเป็นกรดเป็นด่างต่ำเป็นอันตรายต่อพืช</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">2. สูตรปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ </span>    <span lang=\"TH\">ส่วนประกอบ</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<div>\n<table style=\"width: 70%\" class=\"MsoNormalTable\" align=\"center\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" width=\"70%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"width: 70%; background-color: transparent; border: medium none #ece9d8; padding: 0.75pt\" width=\"70%\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">มูลค้างคาว</span><br />\n 2. <span lang=\"TH\">หัวหนอนตายหยาก</span><br />\n 3. <span lang=\"TH\">ใบขี่เหล็ก</span><br />\n 4. <span lang=\"TH\">สะเดา</span> (<span lang=\"TH\">เมล็ด </span>3 <span lang=\"TH\">กก. และใบ </span>2 <span lang=\"TH\">กก.)</span><br />\n 5. <span lang=\"TH\">ตะไคร้หอม (ทั้งต้น)</span><br />\n 6. <span lang=\"TH\">เถาหางไหลแดง</span> <o:p></o:p></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: medium none #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">1 <span lang=\"TH\">ส่วน</span><br />\n 3 <span lang=\"TH\">ส่วน</span><br />\n 1 <span lang=\"TH\">ส่วน</span><br />\n 30 <span lang=\"TH\">ซีซี/ </span>30 <span lang=\"TH\">กรัม</span><br />\n 30 <span lang=\"TH\">ซีซี</span><br />\n 10 <span lang=\"TH\">ลิตร</span> <o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p>\n<span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">วิธีทำ</span> </span><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">       นำแกลบดำ มูลค้างคาว รำละเอียด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำกากน้ำตาลอีเอ็ม หรือ พด.</span>1 <span lang=\"TH\">และน้ำผสมให้เข้ากันแล้วนำมาราด คลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยให้มีความชื้นประมาณ </span>50% <span lang=\"TH\">ซึ่งวิธีตรวจสอบความชื้นว่าได้ </span>50% <span lang=\"TH\">หรือไม่ให้ใช้มือกำส่วนผสมให้แน่นเป็นก้อนแล้วแบมือออก เมื่อใช้นิ้วสัมผัสส่วนผสมที่เป็นก้อนแล้วแตกออก แสดงว่ามีความชื้นประมาณ </span>50% <span lang=\"TH\">แต่ถ้ากำแน่นแล้วพอแบมือออกส่วนผสมแตกไม่เป็นก้อนแสดงว่าความชื้นน้อยไป ให้ผสมกากน้ำตาล อีเอ็มและน้ำ รดหรือราดเพิ่มเติม คลุกเคล้าให้เข้ากัน ในกรณีที่กำส่วนผสมให้แน่น พอแบมือออกแล้วใช้นิ้วสัมผัสส่วนผสมนั้นไม่แตกกระจาย แสดงว่าเปียกเกินไป ให้ใช้แกลบดำผสมเพิ่มขึ้นอีกจนกว่าจะได้ความชื้น </span>50% <span lang=\"TH\">และเมื่อได้ความชื้นตามความต้องการแล้วนำไปกองกับพื้นปูน หรือบนพลาสติกให้มีความสูงไม่เกิน </span>15 <span lang=\"TH\">เซนติเมตร แล้วใช้กระสอบป่านคลุมให้มิดชิดหมักไว้ </span>3 <span lang=\"TH\">วัน สามารถนำไปใช้ได้ โดยมีวิธีการตรวจสอบ ดังนี้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span><span style=\"color: #000000\"></span></span><span><span style=\"color: #000000\"><br />\n1. <span lang=\"TH\">ตรวจสอบอุณหภูมิในกองปุ๋ยหมัก โดยใช้มือแหย่ลงไปในกอง ถ้าอุณหภูมิยังร้อนกว่าอุณหภูมิปกติรอบตัวเรา แสดงว่ายังใช้ไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิในกองปุ๋ยหมักเท่ากับอุณหภูมิปกติรอบตัวเราแสดงว่าใช้ได้</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ดมกลิ่นปุ๋ยที่เราหมักไว้ จะมีกลิ่นหอมอมเปรี้ยวแสดงว่าใช้ได้ ต่ถ้ามีกลิ่นเหม็น ให้ใช้อีเอ็ม กากน้ำตาล น้ำ ผสมกันแล้วราดตามขั้นตอนแรก และหมักไว้อีกจนกว่าจะใช้ได้วิธีการใช้</span><br />\n1. <span lang=\"TH\">ใช้โรยรอบทรงพุ่มสำหรับส้มโอ โดยใช้ดูอายุไม้ผลเป็นหลัก เช้น ส้มโอมีอายุ </span>1 <span lang=\"TH\">ปี ใช้ </span>1 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม/ต้น</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ใช้ผสมดินสำหรับรองก้นหลุมในการปลูกใหม่ โดยผสมปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพในอัตราส่วน </span>1 : 4 <span lang=\"TH\">ของดินที่จะใส่ลงไปในหลุม</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ใช้สำหรับโรยเพื่อหมักฟางข้าวในนา โดยโรยบนฟางข้าว ไร่ละ </span>100 <span lang=\"TH\">กิโลกรัม และใช้อีเอ็มฉีดพ่นให้เปียกชุ่มแล้วหมักไว้ </span>15 <span lang=\"TH\">วัน</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สำหรับสมุนไพรที่แนะนำให้ใช้ในการถ่ายพยาธิภายใน</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">  <span lang=\"TH\">ได้แก่</span>  <span lang=\"TH\">ผลมะเกลือ</span>  <span lang=\"TH\">เครือเขาคำ เมล็ดหรือใบของน้อยหน่า</span>  <span lang=\"TH\">เมล็ดสะแกสด</span>  <span lang=\"TH\">ใบเหมือดแอ</span>  <span lang=\"TH\">หัวหนอนตายหยาก (ต้นสามสิบจีน)</span>  <span lang=\"TH\">ชะอม</span>  <span lang=\"TH\">เครือมะกล่ำตาแมว  (ดำแดง)</span>  <span lang=\"TH\">ใบแก่หรือยางของมะมะกอ</span>  <span lang=\"TH\">หมาก</span>  <span lang=\"TH\">ลูกยอ</span>  <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span>  <span lang=\"TH\">สมุนไพรเหล่านี้หาได้ง่ายเกือบทุกจังหวัดในภาคอีสานของไทย</span>  <span lang=\"TH\">การเลือกใช้พืชสมุนไพรใน<span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">การถ่ายพยาธิให้ได้ผล</span></span><span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">  <span lang=\"TH\">ผู้ใช้ต้อง</span>  <span lang=\"TH\">ใช้ให้ถูกต้น</span>  (<span lang=\"TH\">รู้จักสรรพคุณ)</span>  <span lang=\"TH\">ใช้ให้ถูกส่วน</span> (<span lang=\"TH\">ราก</span>  <span lang=\"TH\">ลำต้น</span></span>  <span lang=\"TH\">ใบ</span>  <span lang=\"TH\">ผล</span>  <span lang=\"TH\">ดอก</span>  <span lang=\"TH\">หรือเมล็ด)</span>  <span lang=\"TH\">ใช้ให้ถูกขนาด</span> (<span lang=\"TH\">ปริมาณและน้ำหนัก กินวันละกี่ครั้ง)</span>  <span lang=\"TH\">และ ใช้ให้ถูกวิธี</span> (<span lang=\"TH\">คั้นน้ำสด</span>  <span lang=\"TH\">ต้ม</span>  <span lang=\"TH\">ดอง หรือ กิน</span>  <span lang=\"TH\">เป็นต้น)</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<table style=\"width: 584px; height: 18px\" class=\"MsoNormalTable\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" width=\"584\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: medium none #ece9d8; padding: 0cm\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small\"><span><b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small\">ขนานที่ 1.6</span></span></b></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"> </span><b><span style=\"color: #000033\" lang=\"TH\">หนอนตายหยาก รากยาหนอน</span></b><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> อย่างละเท่า ๆ กัน และบอระเพ็ด </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">น้อยหว่าสองอย่างแรก ตำรวมกันให้ละเอียดใส่น้ำเล็กน้อย กรองเอาแต่น้ำ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">กรอกให้สัตว์กินปีละครั้ง (สุรินทร์)</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span></span></span></td>\n<td rowspan=\"2\" style=\"background-color: transparent; border: medium none #ece9d8; padding: 0cm\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma; color: black\">\n<p> <o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\"></span></span></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: medium none #ece9d8; padding: 0cm\" valign=\"top\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><b><span style=\"color: #e8002d\" lang=\"TH\">ขนานที่ </span><span style=\"color: #e8002d\">1.7 </span><span style=\"color: #000033\" lang=\"TH\">หนอนตายหยาก </span></b><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">นำหัวหนอนตายหยากมา </span>1 <span lang=\"TH\">กำมือ ตำให้ละเอียด </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ผสมน้ำ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">1 <span lang=\"TH\">ขวดเหล้า</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span><span lang=\"TH\">นำไปกรอกให้สัตว์กิน (บุรีรัมย์ ขอนแก่น)</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span>            หนอนตายหยาก มี </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">2 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ชนิด หนอนตายหยากตัวผู้(หัวเล็ก และหนอนตายหยากตัวเมีย(หัวใหญ่) สารออกฤทธิ์อยู่ที่แกนกลางของหัว หนอนตายหยากตัวเมียมีสารมากกว่าตัวผู้ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">… </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ใช้หนอนตายหยากบดป่นหรือสับเล็ก </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">1 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">กก. แช่น้ำ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">20 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ลิตร นาน </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">48 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ชม. ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">50-100 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ซีซี./น้ำ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">20 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มทุก </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">3-5 </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">วัน ศัตรูพืช เชื้อราสาเหตุโรคเน่าคอดิน หนอนกระทู้ หนอนต่างๆ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงศัตรูพืชในเงาะ/พริกไทย/ทุเรียน </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"EN\">… </span><u><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">โขลกละเอียดผสมน้ำปิดแผลสัตว์เลี้ยงป้องกันแมลงตอมวางไข่</span></u></span><u><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></u> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"padding-bottom: 5px\" class=\"FontCaption NewProductDetail\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\">สูตรหนอนตายหยาก - หนอนหลอดหอม <img src=\"/files/u3721/spd_20080418142640_b.jpg\" border=\"0\" width=\"129\" height=\"100\" /></span>\n</div>\n<div style=\"padding-bottom: 5px\" class=\"NewProductDetail\">\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</div>\n<div style=\"padding-bottom: 5px\">\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</div>\n<div style=\"padding-bottom: 15px\" class=\"NewProductDetail\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span>รายละเอียด:</span> <br />\n::วัตถุดิบ::<br />\n1. รากหนอนตายหยากแห้ง 200กรัม<br />\n2. น้ำสะอาด 1 ลิตร\n<p>::วิธีทำ::<br />\nสับให้เป็นชิ้นเล็กๆหมักในน้ำ 1 ลิตรค้างคืนแล้วกรองเอากากทิ้ง พ่นฉีดในแปลงผักสามารถป้องกันหนอนหลอดหอมได้ดี<br />\n</p></span></span>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1714243225, expire = 1714329625, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:23ece5e1d0f7395ad4b8addb7a1085ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หนอนตายหยาก

รูปภาพของ pronsirprai989

                                 
ต้นหนอนตายหยาก  
ชื่อวิทยาศาสตร์      Stemona  tuberose  Lour วงศ์    Stemonaceaeหนอนตายหยาก  เป็นพันธุ์ไม้จำพวกไม้เลื้อยตามพื้นดินหรือพาดพันตามต้นไม้อื่น 
ราก  เป็นรากที่มีลักษณะอวบใหญ่กว่าเถา  มีหน้าที่เก็บสะสมอาหาร 
ต้น    ต้นเป็นเถาคล้ายใบพลูมาก 
ใบ   ใบโต  ปลายใบเรียวแหลมคล้ายใบพลู  เส้นลายในใบถี่ละเอียด 
ดอก   มีดอกเล็ก ๆ เป็นกลีบ ๆ  คล้ายดอกจำปา  ดอกสีแดงชนิดหนึ่ง  สีขาวชนิดหนึ่ง 
ผล     มีฝักเล็ก  ปลายฝักแหลม  กว้างราว  1  เซนติเมตร 
เมล็ด  ภายในผลมีหลายเมล็ด  เมื่อแก่มีสีดำ  ขนาดเล็ก

หนอนตายหยาก  เป็นไม้ล้มลุกเจริญในฤดูฝน  สิ้นฤดูฝนก็เหี่ยวแห้งไป  ถึงฤดูฝนก็งอกงามขึ้นมาอีก  เพราะมีหัวอยู่ใต้ดิน  ชอบขึ้นตามป่า  มีทั่วไปในประเทศไทย     ท้องถิ่นมีการเรียกชื่อพืชหนอนตายหยากเหมือนกันในแต่ละท้องถิ่น  และมีประสิทธิภาพในการกำจัดหนอนได้เช่นเดียวกันแต่เป็นพืชต่างชนิดกันเมื่อตรวจสอบทางอนุกรมวิธาน  กล่าวคือพืชที่ท้องถิ่นเรียกว่าหนอนตายหยากนั้น  มีความแตกต่างกันดังนี้

 

 

1.  หนอนตายหยาก  พืชในวงศ์  Stemonaeae  เป็นพืชที่นำส่วนของรากมาใช้ประโยชน์  พบได้ในป่าทั่ว ๆ ไปของประเทศจีน  ญี่ปุ่น  มาเลเซีย  ลาว  ไทย  ฯลฯ  สำหรับประเทศไทยพบหนอนตายหยากได้ทั่วไปทุกภาค  และมีชื่อเรียกต่างกันตามท้องถิ่น  เช่น  พญาร้อยหัว  กระเพียดหนู  ต้นสามสิบกลีบ  โป่งมดง่าม  สลอดเชียงคำ  ฯลฯ  นอกจากนั้นหนอนตายหยากในประเทศไทยยังมีความหลากหลายในชนิด  (Species)  เช่น  Stemona  tuberose Lour,  Stemona  collinsae  Craib,  Stemona  keri,  Stemona  berkill,  Stemona  stercochin  ฯลฯ

สรรพคุณ  ใช้เป็นตัวยาสมุนไพรรักษาโรคในคนได้หลากหลาย  เช่น  โรคผิวหนัง  น้ำเหลืองเสีย  ผื่นคันตามร่างกาย  ฆ่าเชื้อโรคพยาธิภายใน  มะเร็งตับ  ลดระดับน้ำตาลสำหรับโรคเบาหวาน  รวมทั้งริดสีดวง  ปวดฟัน  ปวดเมื่อย  นอกจากนี้ในประเทศจีนมีการนำรากหนอนตายหยาก  Stemona  tuberose Lour,  Stemona  sessilifolia  (Miq)  Stemona  japonica  (BJ)  Miq  มาใช้ในการรักษาอาการไอ  โรควัณโรค  ฯลฯ  โดยใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ  แต่ก่อนที่จะทำเป็นยาก็มีขั้นตอนทำลายพิษ  เช่น  นำรากมาล้างให้สะอาดแล้วลวกหรือนึ่งจนกระทั่งไม่เห็นแกนสีขาวในราก  ต้องตากแดดก่อนนำไปปรุงเป็นตำหรับยา   โดยหั่นให้มีขนาดเล็ก  หรือในบางตำราจะนำไปเชื่อมกับน้ำผึ้งก่อนนำไปใช้    ในการใช้เป็นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช  กำจัดแมลงศัตรูพืช  เช่น  หนอนกัดกินใบ  และ  เพลี้ยอ่อน กำจัดเชื้อสาเหตุโรคพืช เช่น Rhizoctonia solani  และ Erwinia  carotovora รวมทั้งการกำจัดลูกน้ำยุง (นันทวัน และอรนุช 2543)  สารออกฤทธิ์ที่ตรวจพบอยู่ในกลุ่ม Alkaloids ได้แก่ Stemofoline และ 16 17 –didehydro-16 (e)- Stemofoline  สารนี้ตรวจพบในหนอนตายหยากชนิด Stamona collinsaecraib  (Jiwajinda และคณะ 2001)  ในปัจจุบันมีการขยายพันธุ์และปลูกเลี้ยงหนอนตายหยากนำมาขายเป็นการค้าโดยนำรากมาสกัดด้วยน้ำหรือแอลกอฮอล์เพื่อใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืชในแปลงเกษตรกร
การขยายพันธุ์
 หนอนตายหยากเป็นพืชที่นำรากมาใช้ประโยชน์แต่เวลาที่ท้องถิ่นขุดขึ้นมาขายมักติดส่วนเหง่าที่ใช้ขยายพันธุ์มาด้วยรากที่เห็นเป็นกอใหญ่ๆ นั้นต้องใช้เวลาหลานปีจึงจะเจริญเติบโตได้ขนาดนั้นประกอบกับหนอนตายหยากแต่และสายพันธุ์มีการติดฝักและติดเมล็ดได้มากน้อยแตกต่างกัน ถ้าเรายังขุดหนอนตายหยากจากป่ามาใช้โดยไม่มีการขยายพันธุ์หรือปลูกเพิ่มก็มีโอกาสการที่จะทำให้เกิดการสูญพันธุ์ได้ง่าย  วิธีการขายพันธุ์สามารถทำได้ทั้งการเพาะเมล็ดการแบ่งเหง้า

              2.  ขอบชะนางแดงและขอบชะนางขาวซึ่งมักเลือกว่า  หญ้าหนอนตาย  หนอนตายหยากหนอนแดง  หนอนขาว  เป็นวงศ์  Urticaceae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า  Pouzolzia pentandra  Benn.

เป็นไม้ล้มลุกคล้ายหญ้าลำต้นขนาดเท่าก้านไม้ขีดใบเป็นใบเดี่ยว  ทั้งนี้ขอบชะนางแดงมีใบสีม่วงอมแดงส่วนขอบชะนางขาวมีใบสีเขียวอ่อนพืชทั้งสองชนิดมีต้นเล็กน้อยบนต้นและแผ่นใบดอกมีขนาดเล็กออกเป็นกระจุกระหว่างซอกใบ

สรรพคุณ  สามารถใช้ได้ทั้งต้นโดยนำต้นมาปิ้งไฟแล้วชงกับน้ำเดือด  ใช้ขับพยาธิในเด็กช่วยดับพิษในกระดูก  ขับปัสสาวะ  รักษาโรคหนองหั่นเป็นชิ้นนำมาใส่ในไหปลาร้าทิ้งไว้สักพักทำให้หนอนตาย
การขยายพันธุ์
  ใช้วิธีการปักชำต้น

 

            

             3.  หนอนตายหยากใบผีเสื้อเป็นวงศ์  Leguminosae-Papilionoideae  มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Christia vespertilionisbakh. F.  ใบมีลักษณะคลายใบชงโคหรือคล้ายปีกผีเสื้อท้องถิ่นนำมาหั่นเป็นชิ้นนำมาใส่ในไหปลาร้าทิ้งไว้สักพักทำให้หนอนตาย
การขยายพันธุ์
 โดยการเพาะเมล็ดจากการศึกษาจากตัวอย่างหนอนตายหยากที่เก็บได้จากแหล่งต่าง ๆ  มาตรวจวิเคราะห์หาสารออกฤทธิ์พบว่ามีสาร  stemofoline  และ16 17-didehydro-16(e)-stemofoline  ซึ่งพบปริมาณสารนี้มากในหนอนตายหยากวงศ์  Stemonaceae โดยเฉพาะหนอนตายหยากชนิด Stamona collinsaecraib หนอนตายหยากใบผีเสื้อในวงศ์  leguminosae-papilionoideae  ไม่พบสารชนิดนี้แต่พบสารชนิดอื่นยังไม่ทราบชนิด  สำหรับขอบชะนางอยู่ระหว่างเพิ่มปริมาณต้นให้ได้ปริมาณตัวอย่างมากพอกับการวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ต่อไป 
 

 

ประโยชน์ของหัวหนอนตายหยาก
          หัวหนอนตายหยาก ใช้หัวหนอนตายอยากมาทำเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพร สรรพคุณแก้โรคมะเร็งผิวหนัง มะเร็งปากมดลูก ฆ่าพยาธิ1 สูตรน้ำสกัดชีวภาพชนิดสมุนไพรป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชส้มโอ ส่วนประกอบ

1. หัวกลอย
2. หัวหนอนตายหยาก
3. ใบขี่เหล็ก
4. สะเดา (เมล็ด 3 กก. และใบ 2 กก.)
5. ตะไคร้หอม (ทั้งต้น)
6. เถาหางไหลแดง
7. กากน้ำตาล
8. หัวเชื้ออีเอ็ม/พด.1
5 กิโลกรัม
5 กิโลกรัม
5 กิโลกรัม
5 กิโลกรัม
5 กิโลกรัม
5 กิโลกรัม
10 กิโกลรัม
2 กิโลกรัม

วิธีทำ
          สับส่วนประกอบท้ง 6 ชนิด ให้ละเอียดเป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือบดให้ละเอียด นำไปบรรจุในถังพลาสติก ซึ่งมีฝาปิดมิดชิด ใส่กากน้ำตาล แลอีเอ็มคลุกเคล้าให้เข้ากันปิดฝาให้สนิท ควรบรรจุให้เกือบเต็ม คือ มีช่องว่างเหลือประมาณ 10% ของถัง ตั้งไว้ในที่ร่มประมาณ 7 วัน สามารถนำไปใช้ได้


วิธีการใช้
กรองน้ำที่ได้จากการหมัก 30 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน การฉีดพ่นควรปฏิบัติในช่วงแดดอ่อนหรือในช่วงเช้าจะประสิทธิภาพสูง ส่วนกากที่เหลือจากการคั้นน้ำไปฝังกลบใต้ต้นส้มเพื่อเป็นปุ๋ยและสามารถขับไล่แมลงในดินได้


ข้อควรระวัง
         น้ำสกัดชีวภาพหรือปุ๋ยหมักน้ำทุกชนิดที่ได้จากการหมักนั้นจะมีความเข้มข้นสูง การนำไปใช้ทุกครั้งต้องผสมน้ำให้เจือจางก่อน หากนำน้ำสกัดชีวภาพแบบเข้มข้นไปใช้โดยไม่ทำให้เจือจางก่อน อาจทำให้พืชผัก ผลไม้เสียหายได้ เนื่องจากน้ำสกัดชีวภาพเหล่านี้มีความเค็มสูง มีความเป็นกรดเป็นด่างต่ำเป็นอันตรายต่อพืช
2. สูตรปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ     ส่วนประกอบ

1. มูลค้างคาว
2. หัวหนอนตายหยาก
3. ใบขี่เหล็ก
4. สะเดา (เมล็ด 3 กก. และใบ 2 กก.)
5. ตะไคร้หอม (ทั้งต้น)
6. เถาหางไหลแดง
1 ส่วน
3 ส่วน
1 ส่วน
30 ซีซี/ 30 กรัม
30 ซีซี
10 ลิตร

วิธีทำ
       นำแกลบดำ มูลค้างคาว รำละเอียด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำกากน้ำตาลอีเอ็ม หรือ พด.1 และน้ำผสมให้เข้ากันแล้วนำมาราด คลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยให้มีความชื้นประมาณ 50% ซึ่งวิธีตรวจสอบความชื้นว่าได้ 50% หรือไม่ให้ใช้มือกำส่วนผสมให้แน่นเป็นก้อนแล้วแบมือออก เมื่อใช้นิ้วสัมผัสส่วนผสมที่เป็นก้อนแล้วแตกออก แสดงว่ามีความชื้นประมาณ 50% แต่ถ้ากำแน่นแล้วพอแบมือออกส่วนผสมแตกไม่เป็นก้อนแสดงว่าความชื้นน้อยไป ให้ผสมกากน้ำตาล อีเอ็มและน้ำ รดหรือราดเพิ่มเติม คลุกเคล้าให้เข้ากัน ในกรณีที่กำส่วนผสมให้แน่น พอแบมือออกแล้วใช้นิ้วสัมผัสส่วนผสมนั้นไม่แตกกระจาย แสดงว่าเปียกเกินไป ให้ใช้แกลบดำผสมเพิ่มขึ้นอีกจนกว่าจะได้ความชื้น 50% และเมื่อได้ความชื้นตามความต้องการแล้วนำไปกองกับพื้นปูน หรือบนพลาสติกให้มีความสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร แล้วใช้กระสอบป่านคลุมให้มิดชิดหมักไว้ 3 วัน สามารถนำไปใช้ได้ โดยมีวิธีการตรวจสอบ ดังนี้


1. ตรวจสอบอุณหภูมิในกองปุ๋ยหมัก โดยใช้มือแหย่ลงไปในกอง ถ้าอุณหภูมิยังร้อนกว่าอุณหภูมิปกติรอบตัวเรา แสดงว่ายังใช้ไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิในกองปุ๋ยหมักเท่ากับอุณหภูมิปกติรอบตัวเราแสดงว่าใช้ได้
2. ดมกลิ่นปุ๋ยที่เราหมักไว้ จะมีกลิ่นหอมอมเปรี้ยวแสดงว่าใช้ได้ ต่ถ้ามีกลิ่นเหม็น ให้ใช้อีเอ็ม กากน้ำตาล น้ำ ผสมกันแล้วราดตามขั้นตอนแรก และหมักไว้อีกจนกว่าจะใช้ได้วิธีการใช้
1. ใช้โรยรอบทรงพุ่มสำหรับส้มโอ โดยใช้ดูอายุไม้ผลเป็นหลัก เช้น ส้มโอมีอายุ 1 ปี ใช้ 1 กิโลกรัม/ต้น
2. ใช้ผสมดินสำหรับรองก้นหลุมในการปลูกใหม่ โดยผสมปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพในอัตราส่วน 1 : 4 ของดินที่จะใส่ลงไปในหลุม
3. ใช้สำหรับโรยเพื่อหมักฟางข้าวในนา โดยโรยบนฟางข้าว ไร่ละ 100 กิโลกรัม และใช้อีเอ็มฉีดพ่นให้เปียกชุ่มแล้วหมักไว้ 15 วัน
สำหรับสมุนไพรที่แนะนำให้ใช้ในการถ่ายพยาธิภายใน  ได้แก่  ผลมะเกลือ  เครือเขาคำ เมล็ดหรือใบของน้อยหน่า  เมล็ดสะแกสด  ใบเหมือดแอ  หัวหนอนตายหยาก (ต้นสามสิบจีน)  ชะอม  เครือมะกล่ำตาแมว  (ดำแดง)  ใบแก่หรือยางของมะมะกอ  หมาก  ลูกยอ  เป็นต้น  สมุนไพรเหล่านี้หาได้ง่ายเกือบทุกจังหวัดในภาคอีสานของไทย  การเลือกใช้พืชสมุนไพรในการถ่ายพยาธิให้ได้ผล  ผู้ใช้ต้อง  ใช้ให้ถูกต้น  (รู้จักสรรพคุณ)  ใช้ให้ถูกส่วน (ราก  ลำต้น  ใบ  ผล  ดอก  หรือเมล็ด)  ใช้ให้ถูกขนาด (ปริมาณและน้ำหนัก กินวันละกี่ครั้ง)  และ ใช้ให้ถูกวิธี (คั้นน้ำสด  ต้ม  ดอง หรือ กิน  เป็นต้น)  

ขนานที่ 1.6 หนอนตายหยาก รากยาหนอน อย่างละเท่า ๆ กัน และบอระเพ็ด น้อยหว่าสองอย่างแรก ตำรวมกันให้ละเอียดใส่น้ำเล็กน้อย กรองเอาแต่น้ำ กรอกให้สัตว์กินปีละครั้ง (สุรินทร์)

ขนานที่ 1.7 หนอนตายหยาก นำหัวหนอนตายหยากมา 1 กำมือ ตำให้ละเอียด ผสมน้ำ 1 ขวดเหล้า นำไปกรอกให้สัตว์กิน (บุรีรัมย์ ขอนแก่น)

            หนอนตายหยาก มี 2 ชนิด หนอนตายหยากตัวผู้(หัวเล็ก และหนอนตายหยากตัวเมีย(หัวใหญ่) สารออกฤทธิ์อยู่ที่แกนกลางของหัว หนอนตายหยากตัวเมียมีสารมากกว่าตัวผู้ ใช้หนอนตายหยากบดป่นหรือสับเล็ก 1 กก. แช่น้ำ 20 ลิตร นาน 48 ชม. ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อ 50-100 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มทุก 3-5 วัน ศัตรูพืช เชื้อราสาเหตุโรคเน่าคอดิน หนอนกระทู้ หนอนต่างๆ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงศัตรูพืชในเงาะ/พริกไทย/ทุเรียน โขลกละเอียดผสมน้ำปิดแผลสัตว์เลี้ยงป้องกันแมลงตอมวางไข่

 

สูตรหนอนตายหยาก - หนอนหลอดหอม
รายละเอียด:
::วัตถุดิบ::
1. รากหนอนตายหยากแห้ง 200กรัม
2. น้ำสะอาด 1 ลิตร

::วิธีทำ::
สับให้เป็นชิ้นเล็กๆหมักในน้ำ 1 ลิตรค้างคืนแล้วกรองเอากากทิ้ง พ่นฉีดในแปลงผักสามารถป้องกันหนอนหลอดหอมได้ดี

สร้างโดย: 
ครูศรีไพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 503 คน กำลังออนไลน์