• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8f9d33d34b2181b85f91873708b724cc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  </p>\n<p>\n        เรซิ่นหรือโพลีเอสเตอร์เรซิ่นเป็นพลาสติกชนิดหนึ่ง ปกติจะอยู่ในรูปของเหลวข้นเหนียวเหมือนน้ำมันเครื่อง มีกลิ่นฉุน เรซิ่นสามารถ หล่อเป็นรูปต่างๆได้ตามแบบพิมพ์ โดยจะผสมกับเคมีบางอย่างเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาแข็งตัวและเมื่อแข็งตัวแล้วจะไม่สามารถกลับคืน ให้เหลวได้อีก ปัจจุบันเรซิ่นนิยมใช้กันแพร่หลายมากทั้งในงานไฟเบอร์กลาส สินค้ากิ๊ฟชอป ตุ๊กตา เครื่องประดับ กระดุม ฯลฯ ในการทำชิ้นงานจากเรซิ่นแรกๆอาจจะดูยุ่งยากแต่หากลองทำดูสัก2-3ครั้งก็จะรู้สึกง่าย<br />\n        สำหรับการหล่อเรซิ่นที่จะแนะนำให้ทดลองทำกันในครั้งแรกคือตัวติดตู้เย็นเพราะขั้นตอนเข้าใจง่าย ตัวติดตู้เย็นที่ทำจากเรซิ่นจะสวยงามกว่าที่ทำจากปูนปลาสเตอร์เพราะเรซิ่นสามารถให้รายละเอียดได้มากกว่าและแข็งแรง กว่าปูนปลาสเตอร์มาก\n</p>\n<p>\nหากท่านเคยหล่อปูนปลาสเตอร์มาแล้ว (ซึ่งง่ายมาก ผสมปูนกับน้ำแล้วเทลง ในพิมพ์ได้เลย) จะสามารถเข้าใจได้ง่ายมากเพียงแต่เรซิ่นต้องผสมส่วนผสม มากกว่านิดหน่อย ก่อนเทลงในพิมพ์\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000cc\"><span class=\"style1\">วัสดุอุปกรณ์</span><br />\n</span></strong>\n</p>\n<dd>ส่วนแม่พิมพ์<br />\n</dd>\n<dd>1. ยางซิลิโคน มีลักษณะเหลวข้นเหมือนกาว เมื่อเติมตัวทำให้แข็งลงไปจะทำให้แข็งตัวคล้ายยาง แต่มีคุณสมบัติเหนือกว่า ยางธรรมชาติคือ รักษารูปทรงได้ดีกว่า ทนความร้อนได้สูงกว่า จึงเหมาะสมที่จะนำมาทำแม่พิมพ์<br />\n</dd>\n<dd>2. ตัวทำให้แข็งซิลิโคน ลักษณะเหลวใส ใช้ใส่ในซิลิโคนเพื่อให้ซิลิโคนแข็งตัว </dd>\n<dd>\n<p class=\"style1\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>ส่วนประกอบของการหล่อเรซิ่น</strong></span>\n</p>\n</dd>\n<dd>1. โพลืเอสเตอร์เรซิ่น สำหรับเบอร์ที่นิยมใช้ในงานหล่อต่างๆ จะใช้เบอร์ PC-600-8 <br />\n</dd>\n<dd>2. ตัวช่วยเร่งปฏิกิริยา ใช้ผสมกับเรซิ่นเพื่อเร่งให้เกิดปฏิกิริยาแข็งตัว มีลักษณะเป็นของเหลวสีม่วง บางทีเรียกว่า ตัวม่วง เมื่อผสมลงในเรซิ่นทำให้เรซิ่นมีสีออกชมพูอ่อนๆ ใส่ลงไปเพียง 0.2-0.5%ก็พอ อาจทำการผสมไว้ก่อนเมื่อจะใช้งานก็เพียงนำมาผสมตัวทำให้แข็งได้เลย <br />\n</dd>\n<dd>3. ตัวทำให้แข็ง (Hardener) ใช้ผสมเรซิ่น เพื่อให้เรซิ่นแข็งตัว มีลักษณะเหลวใสมีกลิ่นฉุน ใช้ในปริมาณ 1-2 % ของเรซิ่น <br />\n</dd>\n<dd>4. ส่วนประกอบเสริมอื่นๆ<br />\n</dd>\n<dd><img width=\"30\" src=\"/story_picture/dot.gif\" height=\"8\" />ผงทัลคัม เป็นผงสืขาวเหมือนแป้งเด็ก ใช้ผสมกรณีไม่ต้องการให้เนื้อเรซิ่นใส เมื่อผสมลงไปทำให้เรซิ่นทึบแสง เบาขึ้น แล้วยังเป็นการ เพิ่มเนื้อเรซิ่นอีกด้วย ปกติจะใช้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของเรซิ่น<br />\n</dd>\n<dd><img width=\"30\" src=\"/story_picture/dot.gif\" height=\"8\" />สีผสมเรซิ่น กรณีต้องการเรซิ่นสีต่างๆ มีลักษณะเหลวข้นเหมือนจาระบี หรืออาจใช้สีน้ำมันธรรมดาก็ได้<br />\n</dd>\n<dd><img width=\"30\" src=\"/story_picture/dot.gif\" height=\"8\" />ภาชนะผสม ไม้กวน และอาซืโตนหรือ ทินเนอร์ไว้ล้างอุปกรณ์</dd>\n<dd><img width=\"30\" src=\"/story_picture/dot.gif\" height=\"8\" />อาจมีการใช้น้ำยาถอดแบบ พีวีเอ ใช้ทาบนผิวชิ้นงานในบริเวณที่ไม่ต้องการให้เรซิ่นหรือ ซิลิโคนติดต้นแบบ มีลักษณะเหมือนกาวน้ำ\n<p><span class=\"style1\"><strong><span style=\"color: #0000cc\">กรณีมีแม่พิมพ์อยู่แล้วสามารถทำการหล่อได้เลย ตามวิธีการดังนี้</span></strong></span> </p></dd>\n<dd>1. เทเรซิ่นลงในภาชนะผสม กะปริมาณให้เหมาะสมกับจำนวนหรือขนาดที่ต้องการหล่อ ใส่ตัวเร่ง(ตัวม่วง) ลงไป 0.5 % กวนให้เข้ากัน (สามารถผสมเรซิ่นกับตัวเร่งเตรียมไว้ปริมาณมากๆก็ได้) <br />\n</dd>\n<dd>2. ถ้าต้องการให้ทึบแสง ใส่ทัลคัมลงไปครึ่งหนึ่งของเรซิ่น กวนเข้ากัน แล้วใส่สีตามต้องการ <br />\n</dd>\n<dd>3. ใส่ตัวทำให้แข็ง(ฮาร์ดเดนเนอร์)ลงไป 1-2 % สามารถเพิ่มได้ถ้าชำนาญจะทำให้แข็งเร็วขึ้น ถ้ามากเกินจะแตกร้าวได้ กวนเข้ากันแล้วเทลงในพิมพ์ ตามต้องการ ทิ้งให้แข็งตัว (เรซิ่น 30-40 กรัม ใช้ตัวทำแข็ง 15-30 หยด) <br />\n</dd>\n<dd>4. ตกแต่งด้วยสีน้ำมัน ถ้าทำแม่เหล็กติดตู้เย็นก็เอาแม่เหล็กมาติดด้านหลังด้วยปืนยิงกาว ถ้าทำใหญ่หน่อยก็สามารถทำนาฬิกาได้ดังรูป (ด้านซ้ายเป็นรูปแม่พิมพ์แบบง่าย ; ด้านขวาเป็นเรซิ่นที่หล่อและตบแต่งสี นำมาทำนาฬิกาแล้ว) </dd>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<dd></dd>\n', created = 1726824967, expire = 1726911367, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8f9d33d34b2181b85f91873708b724cc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โมเดลกระดาษ

รูปภาพของ niwat

 

        เรซิ่นหรือโพลีเอสเตอร์เรซิ่นเป็นพลาสติกชนิดหนึ่ง ปกติจะอยู่ในรูปของเหลวข้นเหนียวเหมือนน้ำมันเครื่อง มีกลิ่นฉุน เรซิ่นสามารถ หล่อเป็นรูปต่างๆได้ตามแบบพิมพ์ โดยจะผสมกับเคมีบางอย่างเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาแข็งตัวและเมื่อแข็งตัวแล้วจะไม่สามารถกลับคืน ให้เหลวได้อีก ปัจจุบันเรซิ่นนิยมใช้กันแพร่หลายมากทั้งในงานไฟเบอร์กลาส สินค้ากิ๊ฟชอป ตุ๊กตา เครื่องประดับ กระดุม ฯลฯ ในการทำชิ้นงานจากเรซิ่นแรกๆอาจจะดูยุ่งยากแต่หากลองทำดูสัก2-3ครั้งก็จะรู้สึกง่าย
        สำหรับการหล่อเรซิ่นที่จะแนะนำให้ทดลองทำกันในครั้งแรกคือตัวติดตู้เย็นเพราะขั้นตอนเข้าใจง่าย ตัวติดตู้เย็นที่ทำจากเรซิ่นจะสวยงามกว่าที่ทำจากปูนปลาสเตอร์เพราะเรซิ่นสามารถให้รายละเอียดได้มากกว่าและแข็งแรง กว่าปูนปลาสเตอร์มาก

หากท่านเคยหล่อปูนปลาสเตอร์มาแล้ว (ซึ่งง่ายมาก ผสมปูนกับน้ำแล้วเทลง ในพิมพ์ได้เลย) จะสามารถเข้าใจได้ง่ายมากเพียงแต่เรซิ่นต้องผสมส่วนผสม มากกว่านิดหน่อย ก่อนเทลงในพิมพ์

วัสดุอุปกรณ์

ส่วนแม่พิมพ์
1. ยางซิลิโคน มีลักษณะเหลวข้นเหมือนกาว เมื่อเติมตัวทำให้แข็งลงไปจะทำให้แข็งตัวคล้ายยาง แต่มีคุณสมบัติเหนือกว่า ยางธรรมชาติคือ รักษารูปทรงได้ดีกว่า ทนความร้อนได้สูงกว่า จึงเหมาะสมที่จะนำมาทำแม่พิมพ์
2. ตัวทำให้แข็งซิลิโคน ลักษณะเหลวใส ใช้ใส่ในซิลิโคนเพื่อให้ซิลิโคนแข็งตัว

ส่วนประกอบของการหล่อเรซิ่น

1. โพลืเอสเตอร์เรซิ่น สำหรับเบอร์ที่นิยมใช้ในงานหล่อต่างๆ จะใช้เบอร์ PC-600-8
2. ตัวช่วยเร่งปฏิกิริยา ใช้ผสมกับเรซิ่นเพื่อเร่งให้เกิดปฏิกิริยาแข็งตัว มีลักษณะเป็นของเหลวสีม่วง บางทีเรียกว่า ตัวม่วง เมื่อผสมลงในเรซิ่นทำให้เรซิ่นมีสีออกชมพูอ่อนๆ ใส่ลงไปเพียง 0.2-0.5%ก็พอ อาจทำการผสมไว้ก่อนเมื่อจะใช้งานก็เพียงนำมาผสมตัวทำให้แข็งได้เลย
3. ตัวทำให้แข็ง (Hardener) ใช้ผสมเรซิ่น เพื่อให้เรซิ่นแข็งตัว มีลักษณะเหลวใสมีกลิ่นฉุน ใช้ในปริมาณ 1-2 % ของเรซิ่น
4. ส่วนประกอบเสริมอื่นๆ
ผงทัลคัม เป็นผงสืขาวเหมือนแป้งเด็ก ใช้ผสมกรณีไม่ต้องการให้เนื้อเรซิ่นใส เมื่อผสมลงไปทำให้เรซิ่นทึบแสง เบาขึ้น แล้วยังเป็นการ เพิ่มเนื้อเรซิ่นอีกด้วย ปกติจะใช้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของเรซิ่น
สีผสมเรซิ่น กรณีต้องการเรซิ่นสีต่างๆ มีลักษณะเหลวข้นเหมือนจาระบี หรืออาจใช้สีน้ำมันธรรมดาก็ได้
ภาชนะผสม ไม้กวน และอาซืโตนหรือ ทินเนอร์ไว้ล้างอุปกรณ์
อาจมีการใช้น้ำยาถอดแบบ พีวีเอ ใช้ทาบนผิวชิ้นงานในบริเวณที่ไม่ต้องการให้เรซิ่นหรือ ซิลิโคนติดต้นแบบ มีลักษณะเหมือนกาวน้ำ

กรณีมีแม่พิมพ์อยู่แล้วสามารถทำการหล่อได้เลย ตามวิธีการดังนี้

1. เทเรซิ่นลงในภาชนะผสม กะปริมาณให้เหมาะสมกับจำนวนหรือขนาดที่ต้องการหล่อ ใส่ตัวเร่ง(ตัวม่วง) ลงไป 0.5 % กวนให้เข้ากัน (สามารถผสมเรซิ่นกับตัวเร่งเตรียมไว้ปริมาณมากๆก็ได้)
2. ถ้าต้องการให้ทึบแสง ใส่ทัลคัมลงไปครึ่งหนึ่งของเรซิ่น กวนเข้ากัน แล้วใส่สีตามต้องการ
3. ใส่ตัวทำให้แข็ง(ฮาร์ดเดนเนอร์)ลงไป 1-2 % สามารถเพิ่มได้ถ้าชำนาญจะทำให้แข็งเร็วขึ้น ถ้ามากเกินจะแตกร้าวได้ กวนเข้ากันแล้วเทลงในพิมพ์ ตามต้องการ ทิ้งให้แข็งตัว (เรซิ่น 30-40 กรัม ใช้ตัวทำแข็ง 15-30 หยด)
4. ตกแต่งด้วยสีน้ำมัน ถ้าทำแม่เหล็กติดตู้เย็นก็เอาแม่เหล็กมาติดด้านหลังด้วยปืนยิงกาว ถ้าทำใหญ่หน่อยก็สามารถทำนาฬิกาได้ดังรูป (ด้านซ้ายเป็นรูปแม่พิมพ์แบบง่าย ; ด้านขวาเป็นเรซิ่นที่หล่อและตบแต่งสี นำมาทำนาฬิกาแล้ว)

 

สร้างโดย: 
ด.ญ. น้ำทิพย์ ฤทธิจรูญ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 555 คน กำลังออนไลน์