• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7916715a5a67250478786556b434d101' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table style=\"width: 99.98%\" class=\"MsoNormalTable\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background: none repeat scroll 0% 0% #ffffcc; padding: 0.75pt\" bgcolor=\"#ffffcc\" valign=\"top\">\n<p style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: times new roman,times\"><span style=\"font-family: times new roman,times\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma; color: #000099\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\">รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์</span></span></span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\" valign=\"top\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">                                                     </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><br />\n <span><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\">แบบดาว (Star Network)</span></span></span></b></span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\"> </span></span>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">         เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใดต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลางสวิตซ์มันสลับตำแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชนกันเอง ทำให้การสื่อสารได้รวดเร็ว เมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูง ในการติดตั้งครั้งแรก ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span>                         <img src=\"/files/u4145/star.gif\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"300\" /></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\"></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><b><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\">แบบวงแหวน (Ring Network)</span></b></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><b>          </b>ได้ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับรู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้งแรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำงานทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำแหน่งที่ อยู่ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้งแรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูล ออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำตอบ สถานีส่ง TOKEN จะทวนซ้ำข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำงานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำรุด ระบบจึงยังคงสามารถทำงานต่อไปได้ ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"> </span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-family: Tahoma\">                             <img src=\"/files/u4145/ring.gif\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"300\" /><br />\n </span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #000099\"> </span></b></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: times new roman,times\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #000099\"><span style=\"color: #000080\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><b>แบบบัส (Bus Network)</b></span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: xx-small\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\">          เป็นลักษณะของการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดยมีคอนเน็คเตอร์ในการเชื่อมต่อ โดยลักษณะของการส่งหรือรับข้อมูล จะเป็นการส่งข้อมูล ทีละเครื่องในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เท่านั้นจากนั้นเครื่องปลายทาง ก็จะส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา และในการเชื่อมต่อในระบบ Bus นี้จะต้องมี T-Connector ที่เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ และมี Terminator เป็นอุปกรณ์ปิดปลายสายสัญญาณ ของทั้งระบบ ซึ่ง Terminaltor จะคอยเป็นตัวดูดซับสัญญาณไม่ให้มีการไหลกับไป กวนกับระบบสัญญาณอื่นในสาย ซึ่งโดยทั่วไป จะมีค่าความต้านทานประมาณ 50 โอห์ม บางครั้งถ้าไม่มี Terminator เราสามารถให้ตัว R ทั่วไปที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ขนาด 50 โอห์มแทนได้เหมือนกัน ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็นดังรูป<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">                           <img src=\"/files/u4145/bus.gif\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"300\" /></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #000099\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\"></span></span></span></b></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: xx-small\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #000099\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><b>แบบผสม (Hybrid Network)</b></span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: xx-small\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: xx-small\">        </span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\">  เป็น<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"> <span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">Topology ใหม่ที่ผสมผสานรูปแบบของ Star, Bus และ Ring เข้าด้วยกันเป็นการลดจุดอ่อนและเพิ่มจุดเด่นให้กับ ระบบ มักใช้ระบบ Wide Area Network ( WAN) และ Enterprise-Wide Network </span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย หลายๆ เครือข่ายเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงานเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นตัวอย่างเครือข่ายผสมที่พบเห็นกันมากที่สุด เครือข่ายแบบนี้จะเชื่อมต่อเครือข่ายเล็ก-ใหญ่ หลากหลายแบบเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเชื่อมต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวัด หรือ อาจจะอยู่คนละประเทศก็เป็นได้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">                            <img src=\"/files/u4145/hybrid.gif\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"300\" /></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\"><b>การเข้าถึงระยะไกล</b></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">           <span style=\"color: #000080\">คุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายแบบผสมก็คือ ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายจากระยะไกลเช่น อยู่ที่บ้าน หรืออยู่ภาคสนามได้ในการเชื่อมต่อก็จะได้คอมพิวเตอร์สั่งโมเด็มหมุนสัญญาณให้วิ่งผ่านสายโทรศัพท์ไปเชื่อมต่อกับเครือข่าย   หลังจากการเชื่อมต่อผู้ใช้สามารถเข้าไปเรียกใช้ข้อมูลได้เสมือนกับว่ากำลังใช้เครือข่ายที่บริษัท</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #6600cc\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\">การบริหารเครือข่าย</span></span></b></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\">           <span style=\"color: #000080\">เนื่องจากเครือข่ายผสมเป็นการผสมผสานเครือข่ายหลายแบบเข้าด้วยกัน ซึ่งแต่ละเครือข่ายก็มีรายละเอียดทางเทคนิคแตกต่างกันไป ดังนั้น การบริหารเครือข่ายก็อาจจะยากกว่าเครือข่ายแบบอื่น ๆด้วยเหตุนี้บริษัทที่มีเครือข่ายผสมขนาดใหญ่ของตัวเองก็มักจะตั้งแผนกที่ทำหน้าที่ดูแลและบริหารเครือข่ายนี้โดยเฉพาะ</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: #6600cc\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva; color: #0000ff\">ค่าใช้จ่าย</span></span></b></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"font-family: verdana,geneva\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\">         <span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\">โดยปกติเครือข่ายแบบผสมจะมีราคาแพงกว่าเครือข่ายแบบต่างๆ เพราะ เครือข่ายแบบนี้เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนสูง นอกจากนี้ยังต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอด</span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><span style=\"color: #000080\">ภัยมากกว่าเครือข่ายอื่นอีกด้วยเนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระยะไกล</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </span></span>\n </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n <span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: times new roman,times; color: #000080\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma; color: black\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><a href=\"/node/18104\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"><img src=\"/files/u4145/home.gif\" border=\"0\" width=\"70\" height=\"54\" /></span></a></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"> </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: verdana,geneva\"></span>\n</p>\n', created = 1715427760, expire = 1715514160, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7916715a5a67250478786556b434d101' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ ratchanee samornrit

รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

                                                     
แบบดาว (Star Network)

         เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใดต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลางสวิตซ์มันสลับตำแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชนกันเอง ทำให้การสื่อสารได้รวดเร็ว เมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูง ในการติดตั้งครั้งแรก ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป

                        

แบบวงแหวน (Ring Network)

          ได้ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับรู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้งแรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำงานทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำแหน่งที่ อยู่ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้งแรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูล ออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำตอบ สถานีส่ง TOKEN จะทวนซ้ำข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำงานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำรุด ระบบจึงยังคงสามารถทำงานต่อไปได้ ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป

                             
 

แบบบัส (Bus Network)

          เป็นลักษณะของการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดยมีคอนเน็คเตอร์ในการเชื่อมต่อ โดยลักษณะของการส่งหรือรับข้อมูล จะเป็นการส่งข้อมูล ทีละเครื่องในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เท่านั้นจากนั้นเครื่องปลายทาง ก็จะส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา และในการเชื่อมต่อในระบบ Bus นี้จะต้องมี T-Connector ที่เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ และมี Terminator เป็นอุปกรณ์ปิดปลายสายสัญญาณ ของทั้งระบบ ซึ่ง Terminaltor จะคอยเป็นตัวดูดซับสัญญาณไม่ให้มีการไหลกับไป กวนกับระบบสัญญาณอื่นในสาย ซึ่งโดยทั่วไป จะมีค่าความต้านทานประมาณ 50 โอห์ม บางครั้งถ้าไม่มี Terminator เราสามารถให้ตัว R ทั่วไปที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ขนาด 50 โอห์มแทนได้เหมือนกัน ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็นดังรูป

                          

แบบผสม (Hybrid Network) 

          เป็น Topology ใหม่ที่ผสมผสานรูปแบบของ Star, Bus และ Ring เข้าด้วยกันเป็นการลดจุดอ่อนและเพิ่มจุดเด่นให้กับ ระบบ มักใช้ระบบ Wide Area Network ( WAN) และ Enterprise-Wide Network คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย หลายๆ เครือข่ายเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงานเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นตัวอย่างเครือข่ายผสมที่พบเห็นกันมากที่สุด เครือข่ายแบบนี้จะเชื่อมต่อเครือข่ายเล็ก-ใหญ่ หลากหลายแบบเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเชื่อมต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวัด หรือ อาจจะอยู่คนละประเทศก็เป็นได้

                           

การเข้าถึงระยะไกล

           คุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายแบบผสมก็คือ ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายจากระยะไกลเช่น อยู่ที่บ้าน หรืออยู่ภาคสนามได้ในการเชื่อมต่อก็จะได้คอมพิวเตอร์สั่งโมเด็มหมุนสัญญาณให้วิ่งผ่านสายโทรศัพท์ไปเชื่อมต่อกับเครือข่าย   หลังจากการเชื่อมต่อผู้ใช้สามารถเข้าไปเรียกใช้ข้อมูลได้เสมือนกับว่ากำลังใช้เครือข่ายที่บริษัท

การบริหารเครือข่าย

           เนื่องจากเครือข่ายผสมเป็นการผสมผสานเครือข่ายหลายแบบเข้าด้วยกัน ซึ่งแต่ละเครือข่ายก็มีรายละเอียดทางเทคนิคแตกต่างกันไป ดังนั้น การบริหารเครือข่ายก็อาจจะยากกว่าเครือข่ายแบบอื่น ๆด้วยเหตุนี้บริษัทที่มีเครือข่ายผสมขนาดใหญ่ของตัวเองก็มักจะตั้งแผนกที่ทำหน้าที่ดูแลและบริหารเครือข่ายนี้โดยเฉพาะ

ค่าใช้จ่าย

         โดยปกติเครือข่ายแบบผสมจะมีราคาแพงกว่าเครือข่ายแบบต่างๆ เพราะ เครือข่ายแบบนี้เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนสูง นอกจากนี้ยังต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยมากกว่าเครือข่ายอื่นอีกด้วยเนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระยะไกล

 

สร้างโดย: 
นางรัชนี สมรฤทธิ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 352 คน กำลังออนไลน์