• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eaf1c8398258f615499176fd8dacc053' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> เริ่มหน้า 3\n</p>\n<p><marquee><strong><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์<br />\n</span></strong></marquee><marquee behavior=\"alternate\"><img border=\"0\" width=\"180\" src=\"/files/u4064/_sc01803_resize.jpg\" height=\"150\" /><br />\n</marquee><span style=\"font-size: 12pt; color: blue\" lang=\"TH\"><br />\n</span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />ส่วนประกอบ</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\"> (COMPOSION)</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\">       </span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\">ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ ์ประเภทดาวแคระเหลือง (</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\"><span style=\"font-family: Angsana New\">yellow dwarf)  <span lang=\"TH\">ดวงหนึ่งจัดเป็นดาวฤกษ์ขนาดย่อม  แต่เพราะว่ามันอยู่ห่างจากโลกราว  </span>93  <span lang=\"TH\">ล้านไมล์ ( </span>150  <span lang=\"TH\">ล้านกิโลเมตร)</span>  <span lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์จึงเป็นดาวฤกษ์บนฟากฟ้าที่สำคัญที่สุดสำหรับเรา</span>  <span lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์เป็นลูกกลมดวงใหญ่ที่ประกอบด้วยก๊าซฮีเลียมประมาณร้อยละ  </span>24  <span lang=\"TH\">ไฮโดรเจนร้อยละ  </span>75  <span lang=\"TH\">และธาตุอื่น ๆ อีกประมาณร้อยละ  </span>1 <span lang=\"TH\">ภายในดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียส (</span>nuclear fusion reactions)  <span lang=\"TH\">ดำเนินอยู่ ส่งผลให้อะตอมของไฮโดรเจนหลอมรวมกันเกิดเป็นอะตอมของฮีเลียมซึ่งมีน้ำหนักมากกว่าเล็กน้อยและให้พลังงานออกมาด้วย</span>  </span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\">พลังงานนี้แผ่ผ่านอวกาศมาถึงโลกทำให้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นและดำรงอยู่ได้<br />\n</span></span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />โครงสร้าง (</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">STRUCTURE)</span></b></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"168\" src=\"/files/u4064/_sc01804_resize.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 130px; height: 114px\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\"><span style=\"font-family: Angsana New\">                <span lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์ประกอบขึ้นด้วยมวลก๊าซจำนวนมหาศาลซึ่งทำให้ใจกลาง</span> (core) (1) <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นส่วนในสุดที่ห้อมล้อมด้วยชั้นที่เย็นกว่าหลายชั้นนั้นร้อนจัดมาก</span>  <span lang=\"TH\">ที่ใจกลางดังกล่าวมีอุณหภูมิราว </span>36 <span lang=\"TH\">ล้านองศาฟาเรนไฮต์ </span>  <span lang=\"TH\">แต่ที่ผิวนอกร้อนเพียง</span>  11,000  <span lang=\"TH\">องศาเท่านั้น ตรงส่วนบนสุดของใจกลางเป็นเขตการแผ่รังสี ( </span>radiant zone)  (2)  <span lang=\"TH\">ซึ่งปลดปล่อยรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาภายนอก ถัดไปเป็นเขตการพา(</span>convection zone) (3) <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นที่ที่มีลำก๊าซมหิมาจำนวนมากผุดพลุ่งขึ้นและยุบลงสลับกัน</span>  <span lang=\"TH\">ถัดออกมาก็เป็นผิวนอกของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นได้และรู้จักกันในชื่อของโฟโตสเฟียร์</span> (photosphere) (4) <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นชั้นบาง ๆ เพียง ชั้นเดียว</span></span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366; font-family: Arial\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\">บนชั้นโฟโตสเฟียร์นี้ยังมีชั้นบาง ๆ อีก </span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #993366\"><span style=\"font-family: Angsana New\">1 <span lang=\"TH\">ชั้นเรียกว่า โครโมสเฟียร์ (</span>chromosphere)  <span lang=\"TH\">ซึ่งหนาประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"1,800 ไมล์\" w:st=\"on\">1,800 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> (</span><st1:metricconverter ProductID=\"3,000 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">3,000 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\">) ถัดออกมาเป็นชั้นของก๊าซในสภาพเป็นไอออนที่มีความหนาแน่นต่ำและร้อนจัดมากพวยพุ่งออกมาจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลซึ่งทำให้เห็นเป็นวงแสงสีรุ้งรอบดวงอาทิตย์เมื่อเกิดสุริยุปราคา</span>  <span lang=\"TH\">ชั้นของก๊าซนี้เรียกว่ากลดสุริยะ (</span>solar corona)  <span lang=\"TH\">เป็นชั้นที่ร้อนจัดมากชั้นหนึ่ง ทั้ง  </span>2 <span lang=\"TH\">ชั้นนี้ถือได้ว่าเป็นชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ (</span>the Sun\'s atmosphere)<br />\n</span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />แสงสุริยะ (</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">SOLAR LIGHT)</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple; font-family: \'MS Sans Serif\'\">              </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">การ</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">ที่ดวงอาทิตย์มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\"><span style=\"font-family: Angsana New\"> (electromagnetic radiation) <span lang=\"TH\">ออกมาได้เป็นปริมาณมากมายมหาศาลนั้นเป็นผลมาจากปฏิกิริยาภายในดวงอาทิตย์นั้นเอง รังสีที่แผ่ออกนี้ส่วนหนึ่งมาถึงโลกของเรา รังสีดังกล่าวมีความยามคลื่น</span>  (wavelenght) <span lang=\"TH\">ต่างกันมาก ตั้งแต่รังสีเอกซเรย์</span>  (X-ray)  <span lang=\"TH\">ไปจนถึงคลื่นวิทยุ (</span>radio waves) <span lang=\"TH\">ซึ่งเราสามารถมองเห็นได้ก็เฉพาะแต่ส่วนของรังสีที่อยู่ในรูปของแสงที่มองเห็นได้</span> (visible light) <span lang=\"TH\">เท่านั้น แสงดังกล่าวที่สายตาเรามองเห็นเป็นสีขาวนั้นมีรังสีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีความยาวคลื่นต่าง ๆ กันนั่นก็คือมีสี</span>  (color) <span lang=\"TH\">ต่างกันด้วย</span><br />\n</span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />จุดดับในดวงอาทิตย์</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\"> (SUNSPORT)</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n           </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">จุดดับในดวงอาทิตย์เป็นบริเวณของพื้นผิวดวงอาทิตย์ที่มีสีดำ</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\">  <span lang=\"TH\">ซึ่งมีอุณหภูมิที่ต่ำกว่าพื้นผิวที่อยู่ด้านหลัง</span>  <span lang=\"TH\">จุดดับดังกล่าวปรากฏให้เห็นเฉพาะบริเวณเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์เท่านั้น</span>  <span lang=\"TH\">ไม่ปรากฏว่าพบที่บริเวณขั้วทั้งสองของดวงอาทิตย์เลย</span>  <span lang=\"TH\">จัดดับเหล่านี้แต่ละจุดจะตรงส่วนกลางจะมืดกว่าส่วนอื่น ๆ และที่ขอบจะเป็นเงามืดน้อยกว่าส่วนกลาง</span>  <span lang=\"TH\">รูปร่างและขนาดของจุดดับเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนไปอย่างมากตลอดเวลา จุดดับอาจจะเกิดขึ้นแล้วหายไปภายในไม่กี่ชั่วโมง  หรืออาจจะคงอยู่ได้เป็นหลาย ๆ เดือนกว่าจะหายไปก็ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของมัน</span>  <span lang=\"TH\">จุดดับในดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปตามการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์มีจำนวนที่ไม่แน่นอน</span>  <span lang=\"TH\">แต่จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงทุกรอบ </span>11 <span lang=\"TH\">ปี ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ </span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">วัฏจักรสุริยะ (</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\"><span style=\"font-family: Angsana New\">solar cycle)</span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"451\" src=\"/files/u4064/_sc01806.jpg\" height=\"345\" style=\"width: 142px; height: 123px\" />\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />เปลวสุริยะ] (</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">SOLAR PROMINENCES)</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n           </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">ชั้นโครโมสเฟียร์ (</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\">chromosphere) <span lang=\"TH\">ของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิราว  </span>180,000  <span lang=\"TH\">องศา แต่เป็นชั้นที่มีความหนานแน่นไม่มากกนักและไม่ค่อยปลดปล่อยพลังงานใด ๆ ออกมา</span>  <span lang=\"TH\">ทว่าเป็นชั้นที่มีปรากฎการณ์หนึ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษคือ มีเปลวไฟมหิมาแลบขึ้นไปจากพื้นผิวเป็นระยะทางหลายพันไมล์/กิโลเมตร เรียกกันว่า</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">เปลวสุริยะ</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">แทรกผ่านชั้นกลดสุริยะ  (</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\">solar corona) <span lang=\"TH\">ออกไปสู่ห้วงอวกาศ ในบางครั้งอาจจะแลบออกไปไกลถึง </span><st1:metricconverter ProductID=\"610,000 ไมล์\" w:st=\"on\">610,000 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> (</span>1 <span lang=\"TH\">ล้านกิโลเมตร) จากพื้นผิวบนดวงอาทิตย์</span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"182\" src=\"/files/u4064/_sc01808_resize.jpg\" height=\"150\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 12pt; color: black\"><br />\n</span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />การทรงกลดของดวงอาทิตย์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">THE SUN CORONA)</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span> </span><span>               </span>ส่วนนี้เป็นส่วนบรรยากาศชั้นนอก (</span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\">outer atmosphere)  <span lang=\"TH\">ของดวงอาทิตย์เริ่มจากชั้นโครโมสเฟียร์ (</span>chromosphere)  <span lang=\"TH\">ออกมาในห้วงอวกาศเป็นระยะทางหลายไมล์/กิโลเมตร</span>  <span lang=\"TH\">ส่วนนี้เป็นส่วนที่แทบจะไม่มีความหนานแน่นเลย </span>     <span lang=\"TH\">และแม้จะมีอุณหภูมิราวย </span>1.8 <span lang=\"TH\">ล้านองศาฟาเรนไฮต์  แต่มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาน้อยมาก</span>  <span lang=\"TH\">รูปร่างของเปลวไฟก๊าซที่พวยพุ่งขึ้นไปเรียกว่ากลดสุริยะ  (</span>solar corona)  <span lang=\"TH\">นี้เปลี่ยนแปรไปตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณของกิจกรรมในแต่ละรอบกิจกรรม (</span>activity cycle) <span lang=\"TH\">ด้วย</span>  <span lang=\"TH\">โดยเปลวไฟดังกล่าวจะพวยพุ่งแลบออกไปไกลมากกว่าปกติในรอบกิจกรรมที่เป็๋นจำนวนมากที่สุด</span> <br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span></span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">กลดสุริยะ (</span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\">solar corona)</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\"> <span lang=\"TH\">สามารถสังเกตเห็นได้ในช่วงที่ดวงอาทิตย์เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง</span>  (total eclipse)   <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นเวลาที่เงาของดวงจันทร์ทอดทับกับวงกลมสุริยะ (</span>solar disk)  <span lang=\"TH\">ได้หมดพอดี</span>  <span lang=\"TH\">ทำให้แลเห็นได้เฉพาะแต่ชั้นโฟโตสเฟียร์ (</span>photosphere) <span lang=\"TH\">ของดวงอาทิตย์ที่ล้อมด้วยรัศมีที่เป็นแถบกว้างสีค่อนข้างขาว </span>1 <span lang=\"TH\">วง ซึ่งเป็นเปลวไฟที่พลุ่งวูบวาบเป็นสายเล็กและยาวจำนวนมากเท่านั้น นี่คือสิ่งที่เรียกว่า กลด</span> (corona) <span lang=\"TH\">กลดสุริยะปลดปล่อยรังสี</span>  <span lang=\"TH\">เอกซเรย์และแสงอัลตราไวโอเลต</span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u4064/_sc01809_resize.jpg\" height=\"138\" style=\"width: 153px; height: 114px\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 12pt; color: black\"><br />\n</span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u4064/A2743402-17.gif\" height=\"85\" style=\"width: 41px; height: 47px\" />ลมสุริยะ (</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">SOLAR WIND)</span></b><span style=\"font-size: 10pt; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n          </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\" lang=\"TH\">ลมสุริยะ เป็นคำที่ใช้เรียกการพัดอย่างต่อเนื่องกันของกระแสอนุภาคต่าง ๆ</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\">  <span lang=\"TH\">ที่ดวงอาทิตย์ปล่อยออกสู่อวกาศโดยรอบกระแสดังกล่าวมีมวลเบาบางมากเพียง </span>4 <span lang=\"TH\">หรืออ </span>5 <span lang=\"TH\">อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตรเท่านั้น</span>  <span lang=\"TH\">และเช่นเดียวกันเมื่อมาถึงโลกก็จะรบกวนการโทรคมนาคม และยังก่อให้เกิดปรากฏการณ์ตื่นตาตื่นใจที่เรียกว่า </span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">แสงออโรรา (</span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600\">aurora borealis)</span><span style=\"font-size: 12pt; color: purple\"> <span lang=\"TH\">ด้วย</span>  <span lang=\"TH\">นอกจากนั้นลมสุริยะนี้ยังเป็นส่งที่ทำให้เราสามารถแลเห็นหางของดาวหางได้ด้วย</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\nหมดหน้า 3</p>\n', created = 1725758226, expire = 1725844626, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eaf1c8398258f615499176fd8dacc053' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

universe

เริ่มหน้า 3

ดวงอาทิตย์


ส่วนประกอบ (COMPOSION)
       ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ ์ประเภทดาวแคระเหลือง (yellow dwarf)  ดวงหนึ่งจัดเป็นดาวฤกษ์ขนาดย่อม  แต่เพราะว่ามันอยู่ห่างจากโลกราว  93  ล้านไมล์ ( 150  ล้านกิโลเมตร)  ดวงอาทิตย์จึงเป็นดาวฤกษ์บนฟากฟ้าที่สำคัญที่สุดสำหรับเรา  ดวงอาทิตย์เป็นลูกกลมดวงใหญ่ที่ประกอบด้วยก๊าซฮีเลียมประมาณร้อยละ  24  ไฮโดรเจนร้อยละ  75  และธาตุอื่น ๆ อีกประมาณร้อยละ  1 ภายในดวงอาทิตย์มีปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียส (nuclear fusion reactions)  ดำเนินอยู่ ส่งผลให้อะตอมของไฮโดรเจนหลอมรวมกันเกิดเป็นอะตอมของฮีเลียมซึ่งมีน้ำหนักมากกว่าเล็กน้อยและให้พลังงานออกมาด้วย  พลังงานนี้แผ่ผ่านอวกาศมาถึงโลกทำให้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นและดำรงอยู่ได้
โครงสร้าง (STRUCTURE)

                 ดวงอาทิตย์ประกอบขึ้นด้วยมวลก๊าซจำนวนมหาศาลซึ่งทำให้ใจกลาง (core) (1) ซึ่งเป็นส่วนในสุดที่ห้อมล้อมด้วยชั้นที่เย็นกว่าหลายชั้นนั้นร้อนจัดมาก  ที่ใจกลางดังกล่าวมีอุณหภูมิราว 36 ล้านองศาฟาเรนไฮต์   แต่ที่ผิวนอกร้อนเพียง  11,000  องศาเท่านั้น ตรงส่วนบนสุดของใจกลางเป็นเขตการแผ่รังสี ( radiant zone)  (2)  ซึ่งปลดปล่อยรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาภายนอก ถัดไปเป็นเขตการพา(convection zone) (3) ซึ่งเป็นที่ที่มีลำก๊าซมหิมาจำนวนมากผุดพลุ่งขึ้นและยุบลงสลับกัน  ถัดออกมาก็เป็นผิวนอกของดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นได้และรู้จักกันในชื่อของโฟโตสเฟียร์ (photosphere) (4) ซึ่งเป็นชั้นบาง ๆ เพียง ชั้นเดียว
บนชั้นโฟโตสเฟียร์นี้ยังมีชั้นบาง ๆ อีก 1 ชั้นเรียกว่า โครโมสเฟียร์ (chromosphere)  ซึ่งหนาประมาณ 1,800 ไมล์ (3,000 กิโลเมตร) ถัดออกมาเป็นชั้นของก๊าซในสภาพเป็นไอออนที่มีความหนาแน่นต่ำและร้อนจัดมากพวยพุ่งออกมาจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลซึ่งทำให้เห็นเป็นวงแสงสีรุ้งรอบดวงอาทิตย์เมื่อเกิดสุริยุปราคา  ชั้นของก๊าซนี้เรียกว่ากลดสุริยะ (solar corona)  เป็นชั้นที่ร้อนจัดมากชั้นหนึ่ง ทั้ง  2 ชั้นนี้ถือได้ว่าเป็นชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ (the Sun's atmosphere)
แสงสุริยะ (SOLAR LIGHT)
              การที่ดวงอาทิตย์มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic radiation) ออกมาได้เป็นปริมาณมากมายมหาศาลนั้นเป็นผลมาจากปฏิกิริยาภายในดวงอาทิตย์นั้นเอง รังสีที่แผ่ออกนี้ส่วนหนึ่งมาถึงโลกของเรา รังสีดังกล่าวมีความยามคลื่น  (wavelenght) ต่างกันมาก ตั้งแต่รังสีเอกซเรย์  (X-ray)  ไปจนถึงคลื่นวิทยุ (radio waves) ซึ่งเราสามารถมองเห็นได้ก็เฉพาะแต่ส่วนของรังสีที่อยู่ในรูปของแสงที่มองเห็นได้ (visible light) เท่านั้น แสงดังกล่าวที่สายตาเรามองเห็นเป็นสีขาวนั้นมีรังสีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีความยาวคลื่นต่าง ๆ กันนั่นก็คือมีสี  (color) ต่างกันด้วย
จุดดับในดวงอาทิตย์ (SUNSPORT)
           
จุดดับในดวงอาทิตย์เป็นบริเวณของพื้นผิวดวงอาทิตย์ที่มีสีดำ  ซึ่งมีอุณหภูมิที่ต่ำกว่าพื้นผิวที่อยู่ด้านหลัง  จุดดับดังกล่าวปรากฏให้เห็นเฉพาะบริเวณเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์เท่านั้น  ไม่ปรากฏว่าพบที่บริเวณขั้วทั้งสองของดวงอาทิตย์เลย  จัดดับเหล่านี้แต่ละจุดจะตรงส่วนกลางจะมืดกว่าส่วนอื่น ๆ และที่ขอบจะเป็นเงามืดน้อยกว่าส่วนกลาง  รูปร่างและขนาดของจุดดับเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนไปอย่างมากตลอดเวลา จุดดับอาจจะเกิดขึ้นแล้วหายไปภายในไม่กี่ชั่วโมง  หรืออาจจะคงอยู่ได้เป็นหลาย ๆ เดือนกว่าจะหายไปก็ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของมัน  จุดดับในดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปตามการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์มีจำนวนที่ไม่แน่นอน  แต่จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงทุกรอบ 11 ปี ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ วัฏจักรสุริยะ (solar cycle)

เปลวสุริยะ] (SOLAR PROMINENCES)
           
ชั้นโครโมสเฟียร์ (chromosphere) ของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิราว  180,000  องศา แต่เป็นชั้นที่มีความหนานแน่นไม่มากกนักและไม่ค่อยปลดปล่อยพลังงานใด ๆ ออกมา  ทว่าเป็นชั้นที่มีปรากฎการณ์หนึ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษคือ มีเปลวไฟมหิมาแลบขึ้นไปจากพื้นผิวเป็นระยะทางหลายพันไมล์/กิโลเมตร เรียกกันว่าเปลวสุริยะแทรกผ่านชั้นกลดสุริยะ  (solar corona) ออกไปสู่ห้วงอวกาศ ในบางครั้งอาจจะแลบออกไปไกลถึง 610,000 ไมล์ (1 ล้านกิโลเมตร) จากพื้นผิวบนดวงอาทิตย์


การทรงกลดของดวงอาทิตย์ (THE SUN CORONA)
                ส่วนนี้เป็นส่วนบรรยากาศชั้นนอก (outer atmosphere)  ของดวงอาทิตย์เริ่มจากชั้นโครโมสเฟียร์ (chromosphere)  ออกมาในห้วงอวกาศเป็นระยะทางหลายไมล์/กิโลเมตร  ส่วนนี้เป็นส่วนที่แทบจะไม่มีความหนานแน่นเลย      และแม้จะมีอุณหภูมิราวย 1.8 ล้านองศาฟาเรนไฮต์  แต่มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาน้อยมาก  รูปร่างของเปลวไฟก๊าซที่พวยพุ่งขึ้นไปเรียกว่ากลดสุริยะ  (solar corona)  นี้เปลี่ยนแปรไปตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณของกิจกรรมในแต่ละรอบกิจกรรม (activity cycle) ด้วย  โดยเปลวไฟดังกล่าวจะพวยพุ่งแลบออกไปไกลมากกว่าปกติในรอบกิจกรรมที่เป็๋นจำนวนมากที่สุด
               
กลดสุริยะ (solar corona) สามารถสังเกตเห็นได้ในช่วงที่ดวงอาทิตย์เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง  (total eclipse)   ซึ่งเป็นเวลาที่เงาของดวงจันทร์ทอดทับกับวงกลมสุริยะ (solar disk)  ได้หมดพอดี  ทำให้แลเห็นได้เฉพาะแต่ชั้นโฟโตสเฟียร์ (photosphere) ของดวงอาทิตย์ที่ล้อมด้วยรัศมีที่เป็นแถบกว้างสีค่อนข้างขาว 1 วง ซึ่งเป็นเปลวไฟที่พลุ่งวูบวาบเป็นสายเล็กและยาวจำนวนมากเท่านั้น นี่คือสิ่งที่เรียกว่า กลด (corona) กลดสุริยะปลดปล่อยรังสี  เอกซเรย์และแสงอัลตราไวโอเลต


ลมสุริยะ (SOLAR WIND)
          
ลมสุริยะ เป็นคำที่ใช้เรียกการพัดอย่างต่อเนื่องกันของกระแสอนุภาคต่าง ๆ  ที่ดวงอาทิตย์ปล่อยออกสู่อวกาศโดยรอบกระแสดังกล่าวมีมวลเบาบางมากเพียง 4 หรืออ 5 อนุภาคต่อลูกบาศก์เซนติเมตรเท่านั้น  และเช่นเดียวกันเมื่อมาถึงโลกก็จะรบกวนการโทรคมนาคม และยังก่อให้เกิดปรากฏการณ์ตื่นตาตื่นใจที่เรียกว่า แสงออโรรา (aurora borealis) ด้วย  นอกจากนั้นลมสุริยะนี้ยังเป็นส่งที่ทำให้เราสามารถแลเห็นหางของดาวหางได้ด้วย

หมดหน้า 3

สร้างโดย: 
nuye

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 486 คน กำลังออนไลน์