• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3999641548557cd46702d47c58cd0aec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> เริ่มหน้า 15 </p>\n<p>\n<marquee bgColor=\"#00cc99\"><strong><span style=\"font-size: 22pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\"><span style=\"font-size: 22pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\">ดาวเคราะห์น้อย </span><span style=\"font-size: 22pt; color: blue; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">(Asteroid)</span></span></strong><span style=\"font-size: 10pt; color: silver; font-family: Tahoma\"> <br />\n</span></marquee>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>           </span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คือก้อนหินขนาดเล็กซึ่งรวมอยู่ด้วยกันจำนวนหลายพันก้อนในระบบสุริยะ<span>  </span>รายล้อมดวงอาทิตย์และโคจรรอบดวงอาทิตย์คล้ายดาวเคราะห์<span>  </span>อยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี<span>  </span>เรียกบริเวณนี้ว่า </span><span style=\"font-size: 12pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\">“<span lang=\"TH\">แถบดาวเคราะห์น้อย</span>(Asteroid Belt)”<span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ </span>2.0 –3.3 au.<span>  </span><span lang=\"TH\">ดาวเคราะห์น้อยดวงที่ใหญ่ที่สุดคือ<span>  </span>ดารเคราะห์น้อยซีเรส</span>(Ceres)<span>  </span><span lang=\"TH\">มีความยาวประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"1,000 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">1,000<span lang=\"TH\"> กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"><span>  </span>ถ่ายภาพไว้ได้โดยยานอวกาศกาลิเลโอ</span>(Galileo Space Probe)<br />\n<span lang=\"TH\">ดาวเคราะห์น้อยจำแนกออกได้เป็น </span>3<span lang=\"TH\"> ประเภท<span>  </span>โดยพิจารณาจากการสะท้อนแสงอาทิตย์<span>  </span>คือ<br />\n</span><span> </span><span>               <img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u4064/02.gif\" height=\"50\" /></span>1.  C-type Asteroid (Cabonaceous Asteroid)<span lang=\"TH\"><span>  </span>เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้น้อยมาก<span>  </span>มองดูมืดที่สุด<span>  </span>องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นคาร์บอน</span>(<span lang=\"TH\">ถ่าน</span>) <span lang=\"TH\">เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ </span>75%<span lang=\"TH\">ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด<br />\n<span> </span><span>              <img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u4064/02.gif\" height=\"50\" /> </span></span>2.  S-type Asteroid (Silicaceous Asteroid)<span>  </span><span lang=\"TH\">เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้ปานกลาง<span>  </span>มองดูเป็นสีเทา<span>  </span>องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกา</span>(Silica) <span lang=\"TH\">เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ </span>15%<span lang=\"TH\">ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด</span><br />\n<span> </span><span>               <img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u4064/02.gif\" height=\"50\" /></span>3. <span> </span>M-type Asteroid (Metaliceous Asteroid)<span lang=\"TH\">เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้มากที่สุดมองดูสว่าง<span>  </span>องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโลหะ</span>(Metal) <span lang=\"TH\">เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ </span>10%<span lang=\"TH\">ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด<br />\n<span style=\"font-size: 12pt; text-transform: uppercase; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                นาซา/เอเอฟพี/เอพี - นาซาเผยมีโอกาส </span><span style=\"font-size: 12pt; text-transform: uppercase; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\">1 <span lang=\"TH\">ใน </span>75 <span lang=\"TH\">ที่ดาวเคราะห์น้อยจะพุ่งชนดาวอังคาร ในวันที่ </span>30 <span lang=\"TH\">ม.ค.ปีหน้า แต่หากพลาดเป้าหลายในปีจากนั้นดาวเคราะห์น้อยอาจถูเหวี่ยงให้ผ่านมายังโลกแต่ยังไม่มีสัญญาณว่าจะทำอันตรายโลก</span> <br />\n<span lang=\"TH\">โครงการสำรวจวัตถุใกล้โลกหรือโครงการนีโอ (</span>Near Earth Object Program : NEO) <span lang=\"TH\">ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) เผยว่าแม้จะทำนายได้ยากแต่ในวันที่ </span>30 <span lang=\"TH\">ม.ค.</span>2551 <span lang=\"TH\">มีโอกาส </span>1 <span lang=\"TH\">ใน </span>75 <span lang=\"TH\">ที่ดาวเคราะห์น้อยขนาดประมาณ </span>50 <span lang=\"TH\">เมตรที่ชื่อ </span>2007 WD5 <span lang=\"TH\">จะพุ่งชนดาวอังคาร โดยการชนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนี้คาดว่าจะทำให้เกิดเมฆฝุ่นปกคลุมชั้นบรรยากาศ และหากพลาดเป้าก็มีโอกาสที่ดาวเคราะห์น้อยจะถูกเหวี่ยงผ่านมายังโลกเมื่อดาวเคราะห์น้อยผ่านไปยังดาวอังคารในอีกหลายปีหรือทศวรรษหลังจากนั้น แต่ยังไม่มีสัญญาณบ่งชี้ว่าจะเป็นอันตรายต่อโลกหรือไม่ </span><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>ทั้งนี้สตีฟ เชสลีย์ (</span>Steve Chesley) <span lang=\"TH\">นักดาราศาสตร์ดาวเคราะห์น้อยในโครงการลีโอจากห้องปฏฺบัติการจรวดขับเคลื่อน (</span>Jet Propulsion Laboratory) <span lang=\"TH\">ของนาซาเผยว่านักวิทยาศาสตร์ได้ติดตามดาวเคราะห์น้อยซึ่งปัจจุบันอยู่กลางระหว่างโลกและดาวอังคาร โดยก่อนหน้านี้มีโอกาสที่ดาวเคราะห์น้อยจะพุ่งชนดาวอังคาร </span>1 <span lang=\"TH\">ใน </span>350 <span lang=\"TH\">แต่โอกาสดังกล่าวได้เพิ่มขึ้นในสัปดาห์นี้ อย่างไรก็ดีนักวิทยาศาสตร์คาดหวังว่าโอกาสจะลดลงในต้นเดือน ม.ค.หลังจากได้สำรวจวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยแล้ว</span><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ได้รับการค้นพบเมื่อ</span> 20 <span lang=\"TH\">พ.ย.ที่ผ่านมาโดยคาดว่าเข้าใกล้โลก </span>7.5 <span lang=\"TH\">ล้านกิโลเมตรเมื่อต้นเดือนนั้นด้วย และจากความสว่างที่วัดได้คาดว่าดาวเคราะห์น้อยมีขนาดประมาณ </span>50 <span lang=\"TH\">เมตรเทียบเท่าอุกกาบาตทังกัสกา (</span>Tunguska) <span lang=\"TH\">ที่พุ่งชนไซบีเรียเมื่อปี </span>2451 <span lang=\"TH\">ซึ่งโค่นต้นนับสิบล้านต้นไปเป็นบริเวณกว้างราว </span>2,150 <span lang=\"TH\">ตารางกิโลเมตร และเทียบเท่าพลังงานของระเบิดนิวเคลียร์ </span>15 <span lang=\"TH\">เมกะตัน</span><br />\n<span> </span><span>               </span>&quot;<span lang=\"TH\">เรารู้ว่ามันผ่านดาวอังคารและดูเหมือนจะพลาดเป้าแต่ก็มีความเป็นไปได้ในการพุ่งชน ครั้งนี้ต่างไปจากการพุ่งชนโลก เพราะเราไม่กลัวแต่เราตื่นเต้นตางหาก&quot; เชสลีย์กล่าว</span><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>หากดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนดาวอังคารก็มีโอกาสที่จะพุ่งชนในบริเวณที่ใกล้เคียงกับตำแหน่งที่ยานสำรวจดาวอังคารออพพอร์จูนิตี</span> (Opportunity) <span lang=\"TH\">เคยสำรวจพื้นผิวเมื่อปี </span>2547 <span lang=\"TH\">แต่ทั้งนี้ยานดังกล่าวไม่ตกอยู่ในอันตรายเพราะอยู่นอกบริเวณที่มีโอกาสถูกพุ่งชน โดยความเร็วประมาณ </span>13.5 <span lang=\"TH\">กิโมเลตรต่อวินาทีของดาวเคราะห์น้อยจะทำให้เกิดหลุมขนาดเท่ากับหลุมอุกกาบาตที่อาริโซนา สหรัฐฯ</span><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>นาซาเผยอีกว่าขณะนี้การสังเกตดาวเคราะห์น้อยเป็นไปได้ยากขึ้นเรื่อยเนื่องจากแสงรบกวนจากดวงจันทร์ แต่ช่วงต้นเดือน ม.ค.ปีหน้านี้จะกลับมาสังเกตได้อีกครั้ง และการวัดครั้งใหม่นั้นจะช่วยให้สามารถปรับปรุงวงโคจรได้แม่นยำมากขึ้น จากนั้นจะสามารถคำนวณโอกาสในการพุ่งชนดาวอังคารของดาวเคราะห์ได้แม่นยำขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\"><span> </span><span>               </span>ก่อนหน้านี้เมื่อปี</span> 2537 <span lang=\"TH\">ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี </span>9 (Shoemaker-Levy 9) <span lang=\"TH\">ได้พุ่งชนดาวพฤหัสบดีซึ่งทำให้เกิดลูกไฟซ้อนทับกันในอวกาศอย่างต่อเนื่อง และนักดาราศาสตร์ทั้งหลายทั่วโลกก็ได้เป็นพยานรู้เห็นในเหตุการณ์ครั้งนั้น</span></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u4064/1.jpg\" height=\"200\" /><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u4064/2.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n<div>\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u4064/rainbowstarline.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><center></center><center></center></p>\n<div>\n</div>\n<p><center></center>\n\n</p><p></p>\n', created = 1725758023, expire = 1725844423, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3999641548557cd46702d47c58cd0aec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

universe

เริ่มหน้า 15

ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid) 

            คือก้อนหินขนาดเล็กซึ่งรวมอยู่ด้วยกันจำนวนหลายพันก้อนในระบบสุริยะ  รายล้อมดวงอาทิตย์และโคจรรอบดวงอาทิตย์คล้ายดาวเคราะห์  อยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี  เรียกบริเวณนี้ว่า แถบดาวเคราะห์น้อย(Asteroid Belt)”  ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 2.0 –3.3 au.  ดาวเคราะห์น้อยดวงที่ใหญ่ที่สุดคือ  ดารเคราะห์น้อยซีเรส(Ceres)  มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร  ถ่ายภาพไว้ได้โดยยานอวกาศกาลิเลโอ(Galileo Space Probe)
ดาวเคราะห์น้อยจำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท  โดยพิจารณาจากการสะท้อนแสงอาทิตย์  คือ
                1.  C-type Asteroid (Cabonaceous Asteroid)  เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้น้อยมาก  มองดูมืดที่สุด  องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นคาร์บอน(ถ่าน) เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ 75%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด
               
2.  S-type Asteroid (Silicaceous Asteroid)  เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้ปานกลาง  มองดูเป็นสีเทา  องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกา(Silica) เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ 15%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด
                3.  M-type Asteroid (Metaliceous Asteroid)เป็นดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้มากที่สุดมองดูสว่าง  องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโลหะ(Metal) เป็นดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีจำนวนประมาณ 10%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด
                นาซา/เอเอฟพี/เอพี - นาซาเผยมีโอกาส 1 ใน 75 ที่ดาวเคราะห์น้อยจะพุ่งชนดาวอังคาร ในวันที่ 30 ม.ค.ปีหน้า แต่หากพลาดเป้าหลายในปีจากนั้นดาวเคราะห์น้อยอาจถูเหวี่ยงให้ผ่านมายังโลกแต่ยังไม่มีสัญญาณว่าจะทำอันตรายโลก
โครงการสำรวจวัตถุใกล้โลกหรือโครงการนีโอ (Near Earth Object Program : NEO) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) เผยว่าแม้จะทำนายได้ยากแต่ในวันที่ 30 ม.ค.2551 มีโอกาส 1 ใน 75 ที่ดาวเคราะห์น้อยขนาดประมาณ 50 เมตรที่ชื่อ 2007 WD5 จะพุ่งชนดาวอังคาร โดยการชนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นนี้คาดว่าจะทำให้เกิดเมฆฝุ่นปกคลุมชั้นบรรยากาศ และหากพลาดเป้าก็มีโอกาสที่ดาวเคราะห์น้อยจะถูกเหวี่ยงผ่านมายังโลกเมื่อดาวเคราะห์น้อยผ่านไปยังดาวอังคารในอีกหลายปีหรือทศวรรษหลังจากนั้น แต่ยังไม่มีสัญญาณบ่งชี้ว่าจะเป็นอันตรายต่อโลกหรือไม่
                ทั้งนี้สตีฟ เชสลีย์ (Steve Chesley) นักดาราศาสตร์ดาวเคราะห์น้อยในโครงการลีโอจากห้องปฏฺบัติการจรวดขับเคลื่อน (Jet Propulsion Laboratory) ของนาซาเผยว่านักวิทยาศาสตร์ได้ติดตามดาวเคราะห์น้อยซึ่งปัจจุบันอยู่กลางระหว่างโลกและดาวอังคาร โดยก่อนหน้านี้มีโอกาสที่ดาวเคราะห์น้อยจะพุ่งชนดาวอังคาร 1 ใน 350 แต่โอกาสดังกล่าวได้เพิ่มขึ้นในสัปดาห์นี้ อย่างไรก็ดีนักวิทยาศาสตร์คาดหวังว่าโอกาสจะลดลงในต้นเดือน ม.ค.หลังจากได้สำรวจวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยแล้ว
                ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ได้รับการค้นพบเมื่อ 20 พ.ย.ที่ผ่านมาโดยคาดว่าเข้าใกล้โลก 7.5 ล้านกิโลเมตรเมื่อต้นเดือนนั้นด้วย และจากความสว่างที่วัดได้คาดว่าดาวเคราะห์น้อยมีขนาดประมาณ 50 เมตรเทียบเท่าอุกกาบาตทังกัสกา (Tunguska) ที่พุ่งชนไซบีเรียเมื่อปี 2451 ซึ่งโค่นต้นนับสิบล้านต้นไปเป็นบริเวณกว้างราว 2,150 ตารางกิโลเมตร และเทียบเท่าพลังงานของระเบิดนิวเคลียร์ 15 เมกะตัน
                "เรารู้ว่ามันผ่านดาวอังคารและดูเหมือนจะพลาดเป้าแต่ก็มีความเป็นไปได้ในการพุ่งชน ครั้งนี้ต่างไปจากการพุ่งชนโลก เพราะเราไม่กลัวแต่เราตื่นเต้นตางหาก" เชสลีย์กล่าว
                หากดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนดาวอังคารก็มีโอกาสที่จะพุ่งชนในบริเวณที่ใกล้เคียงกับตำแหน่งที่ยานสำรวจดาวอังคารออพพอร์จูนิตี (Opportunity) เคยสำรวจพื้นผิวเมื่อปี 2547 แต่ทั้งนี้ยานดังกล่าวไม่ตกอยู่ในอันตรายเพราะอยู่นอกบริเวณที่มีโอกาสถูกพุ่งชน โดยความเร็วประมาณ 13.5 กิโมเลตรต่อวินาทีของดาวเคราะห์น้อยจะทำให้เกิดหลุมขนาดเท่ากับหลุมอุกกาบาตที่อาริโซนา สหรัฐฯ
                นาซาเผยอีกว่าขณะนี้การสังเกตดาวเคราะห์น้อยเป็นไปได้ยากขึ้นเรื่อยเนื่องจากแสงรบกวนจากดวงจันทร์ แต่ช่วงต้นเดือน ม.ค.ปีหน้านี้จะกลับมาสังเกตได้อีกครั้ง และการวัดครั้งใหม่นั้นจะช่วยให้สามารถปรับปรุงวงโคจรได้แม่นยำมากขึ้น จากนั้นจะสามารถคำนวณโอกาสในการพุ่งชนดาวอังคารของดาวเคราะห์ได้แม่นยำขึ้น
                ก่อนหน้านี้เมื่อปี 2537 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9) ได้พุ่งชนดาวพฤหัสบดีซึ่งทำให้เกิดลูกไฟซ้อนทับกันในอวกาศอย่างต่อเนื่อง และนักดาราศาสตร์ทั้งหลายทั่วโลกก็ได้เป็นพยานรู้เห็นในเหตุการณ์ครั้งนั้น

สร้างโดย: 
nuye

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 471 คน กำลังออนไลน์