• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a855c54cc9ae8e2ef2a3321f4dccb2ae' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> เริ่มหน้า14</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u4064/rainbowstarline.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>\n<center><strong><span><span style=\"font-size: 22pt; color: #339966; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\" lang=\"TH\">อุกกาบาต </span><strong><span style=\"font-size: 22pt; color: #339966; font-family: 4711_AtNoon_BigHead\">(Meteor)<br />\n</span></strong><span style=\"color: #000000\"></span></span></strong></center></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"324\" src=\"/files/u4064/rainbowstarline.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>\n<span>   <span style=\"color: #000000\"> </span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">คือ วัตถุขนาดเล็กในอวกาศที่ผ่าน</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/บรรยากาศ\" title=\"บรรยากาศ\"><span style=\"color: windowtext; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #000000\">บรรยากาศ</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ลงมาถึงพื้น</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/โลก\" title=\"โลก\"><span style=\"color: windowtext; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #000000\">โลก</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> ขณะอยู่ในอวกาศเรียกว่า &quot;</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สะเก็ดดาว\" title=\"สะเก็ดดาว\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\">สะเก็ดดาว</span></span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">&quot; ขณะเข้าสู่บรรยากาศเรียกว่า &quot;</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ดาวตก\" title=\"ดาวตก\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\">ดาวตก</span></span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">&quot; เราสามารถพบอุกกาบาตได้บน</span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ดาวเคราะห์\" title=\"ดาวเคราะห์\"><span style=\"color: windowtext; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #000000\">ดาวเคราะห์</span></span></a><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ดวงอื่น เช่น </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ดาวอังคาร\" title=\"ดาวอังคาร\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\">ดาวอังคาร</span></span></span></a><span style=\"color: #000000\"> อุกกาบาตประกอบไปด้วยธาตุคาร์บอน ปะปนอยู่ในอุกกาบาตบางชนิดเท่านั้น ซึ่งจะเป็นชนิดเหล็กและนิกเกิล อุกกาบาตแบ่งตามลักษณะเนื้อในเป็น </span></span><span><strong><span style=\"color: #000000\">3 </span></strong><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #000000\">แบบ คือ อุกกาบาต ชนิด </span><span style=\"color: red\">หิน เหล็ก</span><span style=\"color: #000000\"> และ </span></strong><span style=\"color: red\"><strong>เหล็กปนหิน<br />\n</strong></span></span><span style=\"color: blue\"><strong>meteor  </strong></span><span style=\"color: #000000\">เทหวัตถุแข็งจากอวกาศนอกโลก</span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">  <span lang=\"TH\">เมื่อตกเข้ามาในบรรยากาศของโลก</span>  <span lang=\"TH\">จะร้อนสว่างขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">เป็นผีพุ่งใต้</span>  <span lang=\"TH\">เนื่องจากเกิดแรงเสียดทานขึ้นที่ผิวของมัน</span>  <span lang=\"TH\">อุกกาบาตถ้าขนาดเล็กจะไหม้หมดไปในบรรยากาศ</span>   <span lang=\"TH\">แต่อุกกาบาตบางชิ้นมีขนาดใหญ่เหลือตกลงมาถึงพื้นโลกเรียกว่า</span>  </span><span style=\"color: blue\">meteorite</span><span style=\"color: #000000\">  <span lang=\"TH\">หรืออุกกาบาต</span>  <span lang=\"TH\">หรือสะเก็ตดาวตก</span>  <span lang=\"TH\">อุกกาบาตมีสามชนิด</span>  <span lang=\"TH\">คือชนิดที่เป็นโลหะส่วนใหญ่</span>   <span lang=\"TH\">ที่เป็นหินส่วนใหญ่</span>  <span lang=\"TH\">และที่เป็นโลหะผสมกับหินราวๆเดียวกัน</span>  <span lang=\"TH\">ที่เป็นโลหะโดยมากเป็นเหล็กส่วนใหญ่</span>  <span lang=\"TH\">อุกกาบาตขนาดใหญ่ที่สุดหนักได้ถึง </span>100 <span lang=\"TH\">ตัน</span>  <span lang=\"TH\">ทุกวันๆ นี้มีอุกกาบาตตกเข้ามาในบรรยากาศโลกนับเป็นล้านๆชิ้น</span>  <span lang=\"TH\">และเพิ่มวัตถุธาตุให้กับโลกราว</span>  10  <span lang=\"TH\">ตัน<br />\n<marquee bgColor=\"#00cc99\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u4064/lgtoe.jpg\" height=\"102\" /><img border=\"0\" width=\"198\" src=\"/files/u4064/meteor________________________1.gif\" height=\"144\" style=\"width: 118px; height: 102px\" /><br />\n</marquee><br />\n</span></span></span>หมดหน้า 14</p>\n', created = 1726515984, expire = 1726602384, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a855c54cc9ae8e2ef2a3321f4dccb2ae' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

universe

เริ่มหน้า14

อุกกาบาต (Meteor)

    คือ วัตถุขนาดเล็กในอวกาศที่ผ่านบรรยากาศลงมาถึงพื้นโลก ขณะอยู่ในอวกาศเรียกว่า "สะเก็ดดาว" ขณะเข้าสู่บรรยากาศเรียกว่า "ดาวตก" เราสามารถพบอุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร อุกกาบาตประกอบไปด้วยธาตุคาร์บอน ปะปนอยู่ในอุกกาบาตบางชนิดเท่านั้น ซึ่งจะเป็นชนิดเหล็กและนิกเกิล อุกกาบาตแบ่งตามลักษณะเนื้อในเป็น 3 แบบ คือ อุกกาบาต ชนิด หิน เหล็ก และ เหล็กปนหิน
meteor  เทหวัตถุแข็งจากอวกาศนอกโลก
  เมื่อตกเข้ามาในบรรยากาศของโลก  จะร้อนสว่างขึ้น  เป็นผีพุ่งใต้  เนื่องจากเกิดแรงเสียดทานขึ้นที่ผิวของมัน  อุกกาบาตถ้าขนาดเล็กจะไหม้หมดไปในบรรยากาศ   แต่อุกกาบาตบางชิ้นมีขนาดใหญ่เหลือตกลงมาถึงพื้นโลกเรียกว่า  meteorite  หรืออุกกาบาต  หรือสะเก็ตดาวตก  อุกกาบาตมีสามชนิด  คือชนิดที่เป็นโลหะส่วนใหญ่   ที่เป็นหินส่วนใหญ่  และที่เป็นโลหะผสมกับหินราวๆเดียวกัน  ที่เป็นโลหะโดยมากเป็นเหล็กส่วนใหญ่  อุกกาบาตขนาดใหญ่ที่สุดหนักได้ถึง 100 ตัน  ทุกวันๆ นี้มีอุกกาบาตตกเข้ามาในบรรยากาศโลกนับเป็นล้านๆชิ้น  และเพิ่มวัตถุธาตุให้กับโลกราว  10  ตัน


หมดหน้า 14

สร้างโดย: 
nuye

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 399 คน กำลังออนไลน์