• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:714a3b33b2a3be99a0eb23af19bd1d02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p></p><P style=\"TEXT-ALIGN: center\">ต้นทองกวาว</p><br />\n<P style=\"TEXT-ALIGN: center\"><IMG alt=\"\" src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u106862/thongkuaw1.jpg\" width=585 height=396 /></p><br />\n<P style=\"TEXT-ALIGN: center\">ที่มาของภาพ <A href=\"http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-131785-4.jpg\">http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-131785-4.jpg</a></p><br />\n<P style=\"TEXT-ALIGN: left\">ต้นทองกวาวเป็นต้นไม้ที่มีอยู่ในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ซึ่งมีมาตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนเนื่องจากบริเวณที่สร้างโรงเรียนนี้เมื่อก่อนเป็นพื่้นที่ที่เป็นทุ่งนาเขตคลองสามวาจึงมีต้นทองกวาวเป็นจำมากและเมื่อก่อตั้งโรงเรียนจึงได้อนุลักษณ์ต้นไม้นี้เนื่องจากมีดอกที่สวยงามให้ร่มเงา</p><br />\n<P><STRONG>ทองกวาว</strong> (<A title=ภาษาอังกฤษ href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">อังกฤษ</span></span></a>: Bastard Teak, Bengal Kino, Flame of the Forest) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จาก<A title=ประเทศปากีสถาน href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">ประเทศปากีสถาน</span></span></a>, <A title=อินเดีย class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">อินเดีย</span></span></a>, <A title=บังกลาเทศ class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">บังกลาเทศ</span></span></a>, <A title=เนปาล class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">เนปาล</span></span></a>, <A title=ศรีลังกา class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">ศรีลังกา</span></span></a>, <A title=พม่า class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%B2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">พม่า</span></span></a>, <A title=ไทย class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">ไทย</span></span></a>, <A title=ลาว class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A7\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">ลาว</span></span></a>, <A title=กัมพูชา class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">กัมพูชา</span></span></a>, <A title=เวียดนาม class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">เวียดนาม</span></span></a>, <A title=มาเลเซีย class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">มาเลเซีย</span></span></a>, และทางตะวันตกของ<A title=อินโดนีเซีย class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">อินโดนีเซีย</span></span></a><SUP class=reference><A href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A7#cite_note-GRIN-1\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">[1]</span></span></a></sup></p><br />\n<P>ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อิสาน</p><br />\n<H2>ลักษณะทั่วไป</h2><br />\n<P><STRONG>ต้นไม้</strong> ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5 – 15 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ ลำต้นแตกกิ่งต่ำคดงอ เปลือกนอกสีเทาถึงสีเทาคล้ำค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้น ๆ เปลือกในสีแดง สับเปลือกทิ้งไว้จะมีน้ำยางใส ๆไหลออกมาทิ้งไว้สักพักจะกลายเป็นสีแดง</p><br />\n<P><STRONG>ใบ</strong> ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อยมี 3 ใบ เรียงตรงข้าม ใบย่อยที่ปลายเป็นรูปมนเกือบกลม ใบย่อยด้านข้างรูปไข่เบี้ยว กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-17 ซม. ปลายใบมน โคนใบสอบ แผ่นใบหนา หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม.</p><br />\n<P><STRONG>ดอก</strong> ออกเป็นช่อแบบไม่แตกแขนง ตามกิ่งก้านและปลายกิ่ง ช่อดอกยาว 2-15 ซม. ก้านช่อดอกมีขนสีน้าตาล ก้านช่อดอกยาว 3-4 ซม. กลีบรองกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปบาตรยาว 1.3 ซม. ส่วนบนแยกออกเป็นกลีบสั้น ๆ 5 กลีบ มีขนสีน้ำตาลดำปกคลุมตลอดกลีบดอกยาว 7 ซม. มี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากันคล้ายดอกถั่ว กลีบด้านล่างรูปเรือแยกเป็นอิสระดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 6 ซม. ดอกมีทั้งสีแสดและสีเหลืองสด ดอกสีเหลืองพบที่เชียงราย เชียงใหม่ อุบลราชธานี สุรินทร์</p><br />\n<P><STRONG>ผล</strong> ผลเป็นฝักแบนรูปบรรทัดกว้าง 3.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลอมเหลืองมีขนอ่อนนุ่มสีขาวเป็นมัน มีเมล็ดเดียวตรงปลายฝัก</p><br />\n<H2>การปลูกเลี้ยง</h2><br />\n<UL><br />\n<LI><STRONG>การปลูก</strong>: นิยมปลูกลงในแปลงปลูก เพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน ขนาดหลุมปลูก 50x50x 50 เซนติเมตรใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก&nbsp;: ดินร่วนอัตรา 1:2 ผสมดินถ้าปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านหรืออาคารควรให้มีระยะห่างที่เหมาะสมเพราะทองกวาวเป็นไม้ที่มีทรงพุ่มใหญ่พอสมควร</li><br />\n<LI><STRONG>การดูแล</strong>: ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ควรให้น้ำ 7-10 วัน/ครั้ง ชอบดินร่วนซุย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2:3 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-5 ครั้ง ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนต่อโรคพอสมควร</li><br />\n<LI><STRONG>การขยายพันธุ์</strong>: โดยการเพาะเมล็ด</li><br />\n<LI>ประโยชน์</li><br />\n<LI></li></ul><br />\n<UL><br />\n<LI><STRONG>ดอก</strong> ต้มดื่มเป็นยาแก้ปวด ถอนพิษไข้ ขับปัสสาวะ</li><br />\n<LI><STRONG>ฝัก</strong> ต้มเอาน้ำเป็นยาขับพยาธิ</li><br />\n<LI><STRONG>ยาง</strong> แก้ท้องร่วง</li><br />\n<LI><STRONG>เปลือก</strong> มีงานวิจัยพบว่า สารสกัดจากเปลือก ช่วยเพิ่มขนาดหน้าอกให้ใหญ่ขึ้น แต่จะลดจำนวนอสุจิ</li><br />\n<LI><STRONG>เมล็ด</strong> บดผสมมะนาว ทาบริเวณผื่นคัน</li><br />\n<LI><STRONG>ใบ</strong> ต้มกับน้ำ แก้ปวด ขับพยาธิ ท้องขึ้น ริดสีดวงทวาร</li><br />\n<LI><STRONG>ราก</strong> ต้มรักษาโรคประสาท บำรุงธาตุ</li><br />\n<LI><br />\n<H2>ความเชื่อของไทย</h2><br />\n<UL><br />\n<LI><STRONG>ไม้มงคล</strong> คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นทองกวาวไว้ประจำบ้านจะทำให้มีเงินมีทองมาก นอกจากนี้ดอกยังมีความสวยเรืองรองดั่งทองธรรมชาติ ควรปลูกต้นทองกวาวไว้ทางทิศใต้ผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาคุณทั่วไปให้ปลูกในวันเสาร์</li><br />\n<LI>ทองกวาวเป็นพืชที่มีความสำคัญใน<A title=ศาสนาฮินดู href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B9\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">ศาสนาฮินดู</span></span></a> ใช้เป็นสัญลักษณ์ของ<A title=พระพรหม href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A1\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">พระพรหม</span></span></a> <A title=พระนารายณ์ href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%93%E0%B9%8C\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">พระนารายณ์</span></span></a> <A title=พระอิศวร class=mw-redirect href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3\"><SPAN style=\"TEXT-DECORATION: underline\"><SPAN style=\"COLOR: #0066cc\">พระอิศวร</span></span></a> ไม้ทองกวาวใช้เป็นฟืนเผาศพ ถือเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์</li><br />\n<LI>แหล่งอ้างอิง</li></ul></li><br />\n<LI>http:// wikipedia.org</li></ul>\n', created = 1719640707, expire = 1719727107, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:714a3b33b2a3be99a0eb23af19bd1d02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต้นทองกวาว

รูปภาพของ nbrbangorn

ต้นทองกวาว



ที่มาของภาพ http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/biodiversity-131785-4.jpg


ต้นทองกวาวเป็นต้นไม้ที่มีอยู่ในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ซึ่งมีมาตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนเนื่องจากบริเวณที่สร้างโรงเรียนนี้เมื่อก่อนเป็นพื่้นที่ที่เป็นทุ่งนาเขตคลองสามวาจึงมีต้นทองกวาวเป็นจำมากและเมื่อก่อตั้งโรงเรียนจึงได้อนุลักษณ์ต้นไม้นี้เนื่องจากมีดอกที่สวยงามให้ร่มเงา


ทองกวาว (อังกฤษ: Bastard Teak, Bengal Kino, Flame of the Forest) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย[1]


ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อิสาน


ลักษณะทั่วไป


ต้นไม้ ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5 – 15 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ ลำต้นแตกกิ่งต่ำคดงอ เปลือกนอกสีเทาถึงสีเทาคล้ำค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้น ๆ เปลือกในสีแดง สับเปลือกทิ้งไว้จะมีน้ำยางใส ๆไหลออกมาทิ้งไว้สักพักจะกลายเป็นสีแดง


ใบ ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อยมี 3 ใบ เรียงตรงข้าม ใบย่อยที่ปลายเป็นรูปมนเกือบกลม ใบย่อยด้านข้างรูปไข่เบี้ยว กว้าง 8-15 ซม. ยาว 9-17 ซม. ปลายใบมน โคนใบสอบ แผ่นใบหนา หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสาก เส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม.


ดอก ออกเป็นช่อแบบไม่แตกแขนง ตามกิ่งก้านและปลายกิ่ง ช่อดอกยาว 2-15 ซม. ก้านช่อดอกมีขนสีน้าตาล ก้านช่อดอกยาว 3-4 ซม. กลีบรองกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปบาตรยาว 1.3 ซม. ส่วนบนแยกออกเป็นกลีบสั้น ๆ 5 กลีบ มีขนสีน้ำตาลดำปกคลุมตลอดกลีบดอกยาว 7 ซม. มี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากันคล้ายดอกถั่ว กลีบด้านล่างรูปเรือแยกเป็นอิสระดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 6 ซม. ดอกมีทั้งสีแสดและสีเหลืองสด ดอกสีเหลืองพบที่เชียงราย เชียงใหม่ อุบลราชธานี สุรินทร์


ผล ผลเป็นฝักแบนรูปบรรทัดกว้าง 3.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลอมเหลืองมีขนอ่อนนุ่มสีขาวเป็นมัน มีเมล็ดเดียวตรงปลายฝัก


การปลูกเลี้ยง



  • การปลูก: นิยมปลูกลงในแปลงปลูก เพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน ขนาดหลุมปลูก 50x50x 50 เซนติเมตรใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก : ดินร่วนอัตรา 1:2 ผสมดินถ้าปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านหรืออาคารควรให้มีระยะห่างที่เหมาะสมเพราะทองกวาวเป็นไม้ที่มีทรงพุ่มใหญ่พอสมควร

  • การดูแล: ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ควรให้น้ำ 7-10 วัน/ครั้ง ชอบดินร่วนซุย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2:3 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-5 ครั้ง ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนต่อโรคพอสมควร

  • การขยายพันธุ์: โดยการเพาะเมล็ด

  • ประโยชน์



  • ดอก ต้มดื่มเป็นยาแก้ปวด ถอนพิษไข้ ขับปัสสาวะ

  • ฝัก ต้มเอาน้ำเป็นยาขับพยาธิ

  • ยาง แก้ท้องร่วง

  • เปลือก มีงานวิจัยพบว่า สารสกัดจากเปลือก ช่วยเพิ่มขนาดหน้าอกให้ใหญ่ขึ้น แต่จะลดจำนวนอสุจิ

  • เมล็ด บดผสมมะนาว ทาบริเวณผื่นคัน

  • ใบ ต้มกับน้ำ แก้ปวด ขับพยาธิ ท้องขึ้น ริดสีดวงทวาร

  • ราก ต้มรักษาโรคประสาท บำรุงธาตุ


  • ความเชื่อของไทย



    • ไม้มงคล คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นทองกวาวไว้ประจำบ้านจะทำให้มีเงินมีทองมาก นอกจากนี้ดอกยังมีความสวยเรืองรองดั่งทองธรรมชาติ ควรปลูกต้นทองกวาวไว้ทางทิศใต้ผู้ปลูกควรปลูกในวันเสาร์เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เพื่อเอาคุณทั่วไปให้ปลูกในวันเสาร์

    • ทองกวาวเป็นพืชที่มีความสำคัญในศาสนาฮินดู ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระพรหม พระนารายณ์ พระอิศวร ไม้ทองกวาวใช้เป็นฟืนเผาศพ ถือเป็นพืชศักดิ์สิทธิ์

    • แหล่งอ้างอิง

  • http:// wikipedia.org

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 266 คน กำลังออนไลน์