• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('โปงลาง', 'node/51220', '', '3.133.111.24', 0, 'f6e6a76f1e2cb6c759e4961763535c6b', 145, 1717053502) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:76918228c6aa1799b4aa59aecdde54d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: large; color: #ff6600\"><strong><span style=\"font-size: large; color: #008000\">โปงลาง</span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; color: #800000\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: 18pt; color: white; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 18pt; color: white; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #808000\"></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<strong>     </strong>      <span style=\"font-size: medium\">โปงลาง มีลักษณะวิธีการบรรเลงคล้ายกับระนาดเอก คือนำท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อยติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทำนองเพลง แขวนตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติดกับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปในหลายประเทศ สำหรับในประเทศไทยพบในแถบภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อด้วยกัน เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือหมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมีเสียงดังกังวานคล้าย ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน) <br />\n            ส่วนคำว่า โปงลาง นั้น เดิมเป็นคำที่ใช้เรียก กระดึงสำริด ที่ใช้แขวนคอวัวในสมัยโบราณที่เรียกกระดึงนี้ว่าโปงลางคงเรียกตามเสียงที่ได้ยิน ต่อมามีผู้นำชื่อนี้ไปตั้งเป็นชื่อ ลายแคน (การบรรเลงแคน) ที่เป่าเลียนเสียงโปงลางที่ผูกคอวัวเรียกว่า ลายโปงลาง และที่เรียกว่าหมากกลิ้งกล่อมก็เพราะเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ สามารถกล่อมให้ผู้ฟังมีความเคลิบเคลิ้มเพลิดเพลิน</span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\" style=\"text-justify: inter-cluster; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 18pt; color: white; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #808000\">                                                         <img border=\"0\" width=\"260\" src=\"/files/u2710/pong_lang2_0.jpg\" height=\"150\" /></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-justify: inter-cluster; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: white; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>                 <span style=\"color: #000080\">โปงลาง</span></strong><span style=\"color: #000080\"> นิยมทำจากไม้มะหาด หรือไม้หมากเหลื้อม เพราะเป็นไม้ที่มีความอยู่ตัวมากกว่าไม้อื่นๆ วิธีการทำเอาไม้มาถากเหลาให้ได้ขนาดลดหลั่นกันตามเสียง ที่ต้องการในระบบ 5 เสียง โปงลาง 1 ชุดจะมีจำนวนประมาณ 12 ลูก ใช้เชือกร้อยรวมกันเป็นผืน เวลาตีต้องนำปลายเชือกด้านหนึ่งไปผูกแขวนไว้กับเสาในลักษณะห้อยลงมา ส่วนปลายเชือกด้านล่างจะผูกไว้กับขา หรือเอวของผู้ตี วิธีการเทียบเสียง โปงลาง ทำโดยการเหลาไม้ให้ได้ขนาด และเสียงตามต้องการ ยิ่งเหลาให้ไม้เล็กลงเท่าใดเสียงก็จะยิ่งสูงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากระนาดในปัจจุบัน ที่มีเจ็ดเสียง และมีการปรับแต่งเทียบเสียงด้วยการใช้ ตะกั่วผสมขี้ผึ้ง ถ่วงใต้ผืนระนาด เพื่อให้ได้ระดับเสียง และคุณภาพเสียงที่ต้องการ การบรรเลงหมากกลิ้งกล่อม หรือโปงลาง นิยมใช้ผู้บรรเลงสองคนต่อเครื่องดนตรีหนึ่งชิ้น แต่ละคนใช้ไม้ตี ๒ อัน การเรียกชื่อเพลงที่บรรเลงด้วยโปงลางมักจะเรียกตามลักษณะและลีลาของเพลงโดยการสังเกตจากสภาพของธรรมชาติที่อยู่รอบ ๆ ตัว เช่น เพลง &quot;ลายนกไซบินข้ามทุ่ง&quot; หรือเพลง &quot;ลายกาเต้นก้อน&quot; เป็นต้น <strong>  </strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: white; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" align=\"left\" width=\"191\" src=\"/files/u2710/pluang_02.jpg\" height=\"134\" />\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>โปงลาง</strong> บางแห่งเรียกว่า <b>หมากกลิ้งกล่อม หมากเตอะเติน</b> เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก <b>&quot;เกราะลอ&quot;</b> หรือ <b>ขอลอ</b> คำว่า <b>&quot;โปงลาง&quot;</b> นี้ ใช้เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทางภาคอีสานตอนกลางและตอนเหนือบางส่วน โดยเฉพาะจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการเล่นแพรหลายมาก เพราะเป็นที่กำเนิดโปงลาง ความหมายของโปงลางนั้นมาจากคำ ๒ คำ คือ คำว่า <b>&quot;โปง&quot;</b> และ <b>&quot;ลาง&quot;</b> </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"> <b>โปง</b> เป็นสิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีในยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระบิณฑบาตให้ญาติโยมเตรียมตัวทำบุญตักบาตร และ ตีเวลาเย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะเสียงโปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคำว่า <b>ลาง</b> นั้น หมายถึง ลางดี ลางร้าย</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\">                    โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อเรียกว่า <b>&quot;เกราะลอ&quot;</b> ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดยย่อคือ <b>ท้าวพรหมโคตร</b> ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมาก่อนเป็นผู้ที่คิดทำเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ <b>&quot;เกราะ&quot;</b> ที่ใช้ตีตามหมู่บ้านในสมัยนั้น เกราะลอทำด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สีขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียงกัน ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา ต่อมาท้าวพรหมโคตร ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านกลางเหมือน อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ และได้ถ่ายทอดการตีเกราะลอให้แก่<b>นายปาน</b> นายปานได้เปลี่ยนเกราะลอ จากเดิมมี 6 ลูก เป็น 9 ลูก มี 5 เสียง คือ เสียง โด เร มี ซอล และ ลา เมื่อนายปานเสียชีวิต <b>นายขาน</b>น้องนายปานได้รับการถ่ายทอดการตีเกราะลอ และนายขานนี่เองที่เป็นคนถ่ายทอด การตีเกราะลอให้กับศิลปินแห่งชาติผู้พัฒนาโปงลางให้เป็นเครื่องดนตรีที่ใครๆ ก็รู้จัก <a href=\"http://www.isangate.com/author/pluang.html\"><b><u><span style=\"color: #0000ff\">นายเปลื้อง ฉายรัศมี </span></u></b></a> <br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"></span></p>\n<p>\n                เนื่องจากเกราะลอใช้สำหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่นา ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า <b>เถียงนา</b>) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนาจะพักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตีนอกหมู่บ้านเท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีในหมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็นต้น <br />\n            การเรียนการตีเกราะลอในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่ต้องอาศัยการจำโดยการจำทำนองของแต่ละลาย เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลายคือ ลายอ่านสือใหญ่ (อ่านหนังสือใหญ่) และลายสุดสะแนน (เช่นเดียวกับลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อนำมาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก)\n</p>\n<p><table>\n<tbody>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\" class=\"just\"> <span style=\"font-size: medium\"> </span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\">ปี พ.ศ 2490 นายเปลื้อง ได้เรียนวิธีทำเกราะลอ และการตีเกราะลอ จากนายขาน ลายที่ตีคือ ลายภูไทใหญ่ หรืออ่านหนังสือใหญ่ นอกจากนั้น นายเปลื้อง ยังเป็นคนที่นำเกราะลอมาตีในหมู่บ้านเป็นคนแรก ในปีแรกนั้นการตีเกราะลอไม่เพราะหูคนฟังเท่าไรนัก 2 ปีต่อมาการตีเกราะลอของนายเปลื้องจึงดีขึ้น จนชาวบ้านพากันนิยมว่าตีได้ดี <br />\n         ปี พ.ศ 2500 นายเปลื้อง ได้วิวัฒนาการ การทำเกราะลอ จากแต่ก่อนหน้านี้ที่ทำด้วยไม้หมากเลื่อม มาเป็นไม้หมากหาด ( มะหาด , หาด ) ซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง เวลาตีแล้วไม่บวมง่าย โดยเฉพาะไม้ที่ตายยืนต้น เสียงจะกังวาล ที่เอาไม้หมากหาดมาทำโปงลางนี้ นายเปลื้องได้รับแนวคิดจากพระที่วัด ที่นำไม้นี้มาทำโปงที่ตีบอกเหตุ หรือตีให้สัญญาณดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น <br />\n         ต่อมานายเปลื้อง ได้คิดทำเกราะลอ เพิ่มลูกจาก 9 ลูกมาเป็น 12 ลูก เมื่อทำเสร็จลองตีดูเห็นว่าเสียงเพราะมาก <br />\n         ดังนั้นในปี พ.ศ 2502 นายเปลื้องจึงเพิ่มลูกเกราะลอจาก 12 ลูกมาเป็น 13 ลูก และเพิ่มเสียงจาก 5 เสียงเป็น 6 เสียงคือ เสียง โด เร มี ฟา ซอล และลา (ส่วนเสียง ซี นั้น ดนตรีพื้นเมือง</span> ของอีสานจะไม่ปรากฏเสียงนี้ จึงไม่เพิ่มเสียงนี้ไว้) และได้คิดลายใหม่ๆ เพิ่มเป็น 5 ลาย คือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ ลายอ่านหนังสือน้อย ลายสุดสะแนน  ลายสร้อย และได้เปลี่ยนชื่อ <b>&quot;เกราะลอมา&quot;</b> เป็น <strong>&quot;โปงลาง&quot;</strong> ซึ่งเรียกชื่อ ดนตรีชนิดนี้ว่า โปงลาง จนกระทั่งถึงปัจจุบัน</span> </span></td>\n<td vAlign=\"top\"><img border=\"0\" width=\"165\" src=\"/files/u2710/pluang_1.jpg\" alt=\"นายเปลื้อง ฉายรัศมี\" height=\"222\" /> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p><p>           ปี พ.ศ 2505 นายเปลื้องซึ่งสนใจและศึกษาโปงลาง หรือ เกราะลอเดิม มาตั้งแต่อายุ 14 ปี ตั้งแต่การเล่นนอกหมู่บ้านและนำมาเล่นในหมู่บ้าน และเคยรับงานแสดงในเทศกาลต่างๆ แต่การเล่นมักจะเป็นการเล่นเดี่ยวเท่านั้น นายเปลื้องจึงได้เกิดแนวความคิดว่า ดนตรีอีสานมีหลายอย่างด้วยกัน หากนำมาบันเลงร่วมกันคงจะมีความไพเราะและเร้าใจมากขึ้น จึงได้รวมเพื่อนๆ ตั้งวงโปงลางขึ้น โดยนำเอา ซอ พิณ แคน กลอง หมากกั๊บแก้บ ไห มาร่วมกันบรรเลง และได้รับความสนใจจากผู้ที่ได้รับชมเป็นอันมาก\n</p>\n<p>\n            ปี พ.ศ 2511 นายเปลื้อง ได้พบกับนายประชุม อินทรตูล ซึ่งเป็นป่าไม้ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ นายประชุมให้การสนับสนุน และตั้งวงโปงลางขึ้นใหม่ ชื่อว่า <b>วงโปงลางกาฬสินธุ์ </b>นอกจากจะมีเครื่องดนตรีและเครื่องประกอบจังหวะแล้ว ยังมีรำประกอบอีกด้วย รำในขณะนั้นก็มีรำโปงลาง รำซวยมือ รำภูไท เป็นต้น วงโปงลางกาฬสินธุ์ได้รับความนิยมตลอดมา และได้มีการอัดเทปขายให้กับผู้สนใจด้วย\n</p>\n<p>\n           เนื่องจากนายเปลื้อง ได้เปลี่ยนและย้ายไปทำงานหลายแห่ง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่นายเปลื้องทำงานในที่ต่างๆ ก็จะเผยแพร่และฝึกสอนโปงลาง และดนตรีพื้นบ้านอีสานแก่ผู้สนใจ และตั้งวงโปงลางให้แก่ที่ที่ทำงานนั้นๆ เสมอ โดยเฉพาะวงโปงลางกาฬสินธุ์นั้น นายเปลื้องได้ควบคุม ดูแล ฝึกสอนและพัฒนาตลอดมา จนสามารถสร้างชื่อเสียงให้อย่างแพร่หลาย จนเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมกันอย่างกว้างขวาง ได้มีโอกาสแสดง ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ๕ ขอนแก่น แสดงงานเฉลิมพระชนมพรรษา ที่อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n            ปัจจุบันนี้นายเปลื้องได้เป็นลูกจ้างชั่วคราวอยู่ที่วิทยาลัยนาฎศิลป์กาฬสินธุ์ ทำหน้าที่สอนดนตรีพื้นบ้านอีสาน ได้แก่ พิณ ซอ แคน โปงลาง โหวด และอื่นๆ แก่นักเรียนนาฎศิลป์ พร้อมทั้งควบคุมวงโปงลางของวิทยาลัยนาฎศิลป์กาฬสินธุ์\n</p>\n<p>\nนายเปลื้อง ฉายรัศมี เป็นนักดนตรีพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริง เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ สามารถเล่นและสอนดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลาง และอื่นๆ โดยเฉพาะโปงลางนั้น สามารถถ่ายทอดและเล่นได้ดีเป็นพิเศษ <br />\n            และที่สำคัญที่สุดคือ นายเปลื้อง ฉายรัศมี ได้เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุง และพัฒนาโปงลางตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้เกราะลอซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นกกาตามไร่ ตามนา พัฒนาเป็น &quot;โปงลาง&quot; ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรี เอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับแคน ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว <a href=\"http://www.isangate.com/author/pluang.html\"><b><u><span style=\"color: #0000ff\">นายเปลื้อง ฉายรัศมี</span></u></b></a> จึงควรแก่การยกย่องเชิดชูไว้ในฐานะเป็น <b><span style=\"color: #ff0000\">&quot;ศิลปินแห่งชาติ&quot;</span></b> สาขาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน โดยแท้จริง<br />\n              <span style=\"color: #ff0000\">วิธีทำโปงลาง</span>\n</p>\n<p>\nไม้ที่ใช้ทำโปงลางนั้นส่วนมากจะไม้เนื้อแข็ง เพราะจะให้เสียงที่ไพเราะและกังวาล ไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุดคือ ไม้หมากหาด ( มะหาด ) ใช้ทำลูกโปงลาง ไม้ประดู่ใช้ทำไม้ตีและขาตั้ง ไม้มะหาดนั้นจะแบ่งได้เป็น 3 ชนิด โดยจะแบ่งตามเกรด ดังนี้\n</p>\n<ol>\n<li><b>ไม้มะหาดทองคำ</b> จัดอยู่ในเกรด A </li>\n<li><b>ไม้มะหาดดำ</b> จัดอยู่ในเกรด B </li>\n<li><b>ไม้มะหาดน้ำผึ้ง</b> จัดอยู่ในเกรด C </li>\n</ol>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" align=\"absMiddle\" width=\"20\" src=\"http://www.isangate.com/images1/globe.gif\" hspace=\"5\" alt=\"globe\" height=\"20\" /><span style=\"color: #ff0000\" class=\"h2\"> <span style=\"color: #993300\">การเลือกไม้</span></span></strong>\n</p>\n<p>\nการเลือกไม้ที่จะนำมาใช้ทำโปงลางนั้น จะต้องเป็นไม้มะหาดที่ตายแล้วประมาณ 20 ปีขึ้นไป เพราะจะให้เสียงที่ดี กังวาน และไม่ผิดเพี้ยนหลังจากการผลิต ส่วนไม้มะหาดที่ยังสดอยู่นั้น จะไม่ใช้เพราะจะทำให้เสียงเพี้ยนไปจากความเป็นจริง และเสียงจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เมื่อไม้แห้งลง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><img border=\"0\" align=\"absMiddle\" width=\"20\" src=\"http://www.isangate.com/images1/globe.gif\" hspace=\"5\" alt=\"globe\" height=\"20\" /></span><strong><span style=\"color: #ff0000\" class=\"h2\"><span style=\"color: #993300\">วิธีทำลูกโปงลาง</span></span> </strong>\n</p>\n<p>\nไม้ที่ตัดมาจากต้นจะตัดเป็นท่อนๆ ท่อนละ 65 เซนติเมตร ท่อนหนึ่งจะผ่าแบ่งเป็นลูกโปงลางได้ 4-8 ลูก แล้วแต่ขนาดของท่อนไม้ ถ้าเป็นวิธีทำสมัยโบราณไม่มีเครื่องทุ่นแรงใดๆ เมื่อนำมีดมาถากไม้พอกลม ก็นำมาใช้ได้เลย ต่อมาได้นำเครื่องทุ่นแรงมาใช้คือ กบมือ จึงได้นำกบมือมาไสไม้ที่ทำโปงลางให้มีความกลมและสวยงามมากขึ้น จนถึงปัจจุบัน<br />\n            ใช้มีดถากให้กลมพอประมาณ และขั้นตอนต่อไป นำไปเข้าเครื่องกลึงเพื่อความสวยงาม ละเอียด และกลมมากขึ้น เมื่อกลึงเสร็จแล้ววัดและตัดขยาดความยาว ลูกแรกยาว 60 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์ 7 เซนติเมตร ลูกต่อมาลดลงตามส่วน ห่างกันลูกละ 1 เซนติเมตร ลูกสุดท้ายยาว 29 เซนติเมตร <br />\n            ขั้นตอนต่อไป นำไม้มาวัดหัวท้ายข้างละ 12 เซนติเมตร และลดลงตามส่วน ลูกล่างสุดวัดได้ 6 เซนติเมตร ในแต่ละข้าง เรียงไม้ให้สม่ำเสมอกัน แล้วนำมีดมาถากให้มีลักษณะเว้าทั้ง 2 ข้าง ของลูกโปงลาง แล้วนำมาแต่งเสียงโดยวิธีการตัดไม้ออก และเทียบเสียงให้เข้ากับ โปงลางต้นแบบ ขั้นตอนสุดท้าย เจาะรู โดยวัดเข้ามาวิธีเดียวกันกับการถากลูกโปงลางให้เว้า\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"absMiddle\" width=\"20\" src=\"http://www.isangate.com/images1/globe.gif\" hspace=\"5\" alt=\"globe\" height=\"20\" /><span style=\"color: #ff0000\" class=\"h2\"><strong><span style=\"color: #993300\">การเทียบเสียง</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n                เสียงโปงลางถ้าใช้กับวงพื้นบ้านอีสานทั่วไป จะใช้ แคน เป็นหลักในการบันทึกเสียง แต่ถ้าจะใช้บรรเลงกับวงดนตรีสากล จะต้องใช้ คีย์บอร์ด, อิเล็คโทนในการเทียบเสียง หรือไม่ก็ใช้เครื่องเทียบเสียงสากล ในการเทียบเสียงลูกโปงลางในแต่ละลูก เสียงที่ได้มาจะเข้ากับเครื่องดนตรีสากลได้เป็นอย่างดี\n</p>\n<p></p>\n', created = 1717053522, expire = 1717139922, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:76918228c6aa1799b4aa59aecdde54d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โปงลาง

รูปภาพของ niwat

โปงลาง

           โปงลาง มีลักษณะวิธีการบรรเลงคล้ายกับระนาดเอก คือนำท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อยติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทำนองเพลง แขวนตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติดกับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปในหลายประเทศ สำหรับในประเทศไทยพบในแถบภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อด้วยกัน เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือหมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมีเสียงดังกังวานคล้าย ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน)
            ส่วนคำว่า โปงลาง นั้น เดิมเป็นคำที่ใช้เรียก กระดึงสำริด ที่ใช้แขวนคอวัวในสมัยโบราณที่เรียกกระดึงนี้ว่าโปงลางคงเรียกตามเสียงที่ได้ยิน ต่อมามีผู้นำชื่อนี้ไปตั้งเป็นชื่อ ลายแคน (การบรรเลงแคน) ที่เป่าเลียนเสียงโปงลางที่ผูกคอวัวเรียกว่า ลายโปงลาง และที่เรียกว่าหมากกลิ้งกล่อมก็เพราะเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ สามารถกล่อมให้ผู้ฟังมีความเคลิบเคลิ้มเพลิดเพลิน

                                                         

                 โปงลาง นิยมทำจากไม้มะหาด หรือไม้หมากเหลื้อม เพราะเป็นไม้ที่มีความอยู่ตัวมากกว่าไม้อื่นๆ วิธีการทำเอาไม้มาถากเหลาให้ได้ขนาดลดหลั่นกันตามเสียง ที่ต้องการในระบบ 5 เสียง โปงลาง 1 ชุดจะมีจำนวนประมาณ 12 ลูก ใช้เชือกร้อยรวมกันเป็นผืน เวลาตีต้องนำปลายเชือกด้านหนึ่งไปผูกแขวนไว้กับเสาในลักษณะห้อยลงมา ส่วนปลายเชือกด้านล่างจะผูกไว้กับขา หรือเอวของผู้ตี วิธีการเทียบเสียง โปงลาง ทำโดยการเหลาไม้ให้ได้ขนาด และเสียงตามต้องการ ยิ่งเหลาให้ไม้เล็กลงเท่าใดเสียงก็จะยิ่งสูงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากระนาดในปัจจุบัน ที่มีเจ็ดเสียง และมีการปรับแต่งเทียบเสียงด้วยการใช้ ตะกั่วผสมขี้ผึ้ง ถ่วงใต้ผืนระนาด เพื่อให้ได้ระดับเสียง และคุณภาพเสียงที่ต้องการ การบรรเลงหมากกลิ้งกล่อม หรือโปงลาง นิยมใช้ผู้บรรเลงสองคนต่อเครื่องดนตรีหนึ่งชิ้น แต่ละคนใช้ไม้ตี ๒ อัน การเรียกชื่อเพลงที่บรรเลงด้วยโปงลางมักจะเรียกตามลักษณะและลีลาของเพลงโดยการสังเกตจากสภาพของธรรมชาติที่อยู่รอบ ๆ ตัว เช่น เพลง "ลายนกไซบินข้ามทุ่ง" หรือเพลง "ลายกาเต้นก้อน" เป็นต้น   

โปงลาง บางแห่งเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากเตอะเติน เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก "เกราะลอ" หรือ ขอลอ คำว่า "โปงลาง" นี้ ใช้เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทางภาคอีสานตอนกลางและตอนเหนือบางส่วน โดยเฉพาะจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการเล่นแพรหลายมาก เพราะเป็นที่กำเนิดโปงลาง ความหมายของโปงลางนั้นมาจากคำ ๒ คำ คือ คำว่า "โปง" และ "ลาง"

 โปง เป็นสิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีในยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระบิณฑบาตให้ญาติโยมเตรียมตัวทำบุญตักบาตร และ ตีเวลาเย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะเสียงโปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคำว่า ลาง นั้น หมายถึง ลางดี ลางร้าย

                    โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อเรียกว่า "เกราะลอ" ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดยย่อคือ ท้าวพรหมโคตร ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมาก่อนเป็นผู้ที่คิดทำเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ "เกราะ" ที่ใช้ตีตามหมู่บ้านในสมัยนั้น เกราะลอทำด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สีขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียงกัน ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา ต่อมาท้าวพรหมโคตร ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านกลางเหมือน อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ และได้ถ่ายทอดการตีเกราะลอให้แก่นายปาน นายปานได้เปลี่ยนเกราะลอ จากเดิมมี 6 ลูก เป็น 9 ลูก มี 5 เสียง คือ เสียง โด เร มี ซอล และ ลา เมื่อนายปานเสียชีวิต นายขานน้องนายปานได้รับการถ่ายทอดการตีเกราะลอ และนายขานนี่เองที่เป็นคนถ่ายทอด การตีเกราะลอให้กับศิลปินแห่งชาติผู้พัฒนาโปงลางให้เป็นเครื่องดนตรีที่ใครๆ ก็รู้จัก นายเปลื้อง ฉายรัศมี  

                เนื่องจากเกราะลอใช้สำหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่นา ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า เถียงนา) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนาจะพักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตีนอกหมู่บ้านเท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีในหมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตกต้องตามฤดูกาล เป็นต้น
            การเรียนการตีเกราะลอในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่ต้องอาศัยการจำโดยการจำทำนองของแต่ละลาย เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลายคือ ลายอ่านสือใหญ่ (อ่านหนังสือใหญ่) และลายสุดสะแนน (เช่นเดียวกับลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อนำมาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก)

  ปี พ.ศ 2490 นายเปลื้อง ได้เรียนวิธีทำเกราะลอ และการตีเกราะลอ จากนายขาน ลายที่ตีคือ ลายภูไทใหญ่ หรืออ่านหนังสือใหญ่ นอกจากนั้น นายเปลื้อง ยังเป็นคนที่นำเกราะลอมาตีในหมู่บ้านเป็นคนแรก ในปีแรกนั้นการตีเกราะลอไม่เพราะหูคนฟังเท่าไรนัก 2 ปีต่อมาการตีเกราะลอของนายเปลื้องจึงดีขึ้น จนชาวบ้านพากันนิยมว่าตีได้ดี
        ปี พ.ศ 2500 นายเปลื้อง ได้วิวัฒนาการ การทำเกราะลอ จากแต่ก่อนหน้านี้ที่ทำด้วยไม้หมากเลื่อม มาเป็นไม้หมากหาด ( มะหาด , หาด ) ซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง เวลาตีแล้วไม่บวมง่าย โดยเฉพาะไม้ที่ตายยืนต้น เสียงจะกังวาล ที่เอาไม้หมากหาดมาทำโปงลางนี้ นายเปลื้องได้รับแนวคิดจากพระที่วัด ที่นำไม้นี้มาทำโปงที่ตีบอกเหตุ หรือตีให้สัญญาณดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
        ต่อมานายเปลื้อง ได้คิดทำเกราะลอ เพิ่มลูกจาก 9 ลูกมาเป็น 12 ลูก เมื่อทำเสร็จลองตีดูเห็นว่าเสียงเพราะมาก
        ดังนั้นในปี พ.ศ 2502 นายเปลื้องจึงเพิ่มลูกเกราะลอจาก 12 ลูกมาเป็น 13 ลูก และเพิ่มเสียงจาก 5 เสียงเป็น 6 เสียงคือ เสียง โด เร มี ฟา ซอล และลา (ส่วนเสียง ซี นั้น ดนตรีพื้นเมือง
ของอีสานจะไม่ปรากฏเสียงนี้ จึงไม่เพิ่มเสียงนี้ไว้) และได้คิดลายใหม่ๆ เพิ่มเป็น 5 ลาย คือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ ลายอ่านหนังสือน้อย ลายสุดสะแนน  ลายสร้อย และได้เปลี่ยนชื่อ "เกราะลอมา" เป็น "โปงลาง" ซึ่งเรียกชื่อ ดนตรีชนิดนี้ว่า โปงลาง จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
นายเปลื้อง ฉายรัศมี

           ปี พ.ศ 2505 นายเปลื้องซึ่งสนใจและศึกษาโปงลาง หรือ เกราะลอเดิม มาตั้งแต่อายุ 14 ปี ตั้งแต่การเล่นนอกหมู่บ้านและนำมาเล่นในหมู่บ้าน และเคยรับงานแสดงในเทศกาลต่างๆ แต่การเล่นมักจะเป็นการเล่นเดี่ยวเท่านั้น นายเปลื้องจึงได้เกิดแนวความคิดว่า ดนตรีอีสานมีหลายอย่างด้วยกัน หากนำมาบันเลงร่วมกันคงจะมีความไพเราะและเร้าใจมากขึ้น จึงได้รวมเพื่อนๆ ตั้งวงโปงลางขึ้น โดยนำเอา ซอ พิณ แคน กลอง หมากกั๊บแก้บ ไห มาร่วมกันบรรเลง และได้รับความสนใจจากผู้ที่ได้รับชมเป็นอันมาก

            ปี พ.ศ 2511 นายเปลื้อง ได้พบกับนายประชุม อินทรตูล ซึ่งเป็นป่าไม้ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ นายประชุมให้การสนับสนุน และตั้งวงโปงลางขึ้นใหม่ ชื่อว่า วงโปงลางกาฬสินธุ์ นอกจากจะมีเครื่องดนตรีและเครื่องประกอบจังหวะแล้ว ยังมีรำประกอบอีกด้วย รำในขณะนั้นก็มีรำโปงลาง รำซวยมือ รำภูไท เป็นต้น วงโปงลางกาฬสินธุ์ได้รับความนิยมตลอดมา และได้มีการอัดเทปขายให้กับผู้สนใจด้วย

           เนื่องจากนายเปลื้อง ได้เปลี่ยนและย้ายไปทำงานหลายแห่ง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่นายเปลื้องทำงานในที่ต่างๆ ก็จะเผยแพร่และฝึกสอนโปงลาง และดนตรีพื้นบ้านอีสานแก่ผู้สนใจ และตั้งวงโปงลางให้แก่ที่ที่ทำงานนั้นๆ เสมอ โดยเฉพาะวงโปงลางกาฬสินธุ์นั้น นายเปลื้องได้ควบคุม ดูแล ฝึกสอนและพัฒนาตลอดมา จนสามารถสร้างชื่อเสียงให้อย่างแพร่หลาย จนเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมกันอย่างกว้างขวาง ได้มีโอกาสแสดง ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ๕ ขอนแก่น แสดงงานเฉลิมพระชนมพรรษา ที่อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้น

            ปัจจุบันนี้นายเปลื้องได้เป็นลูกจ้างชั่วคราวอยู่ที่วิทยาลัยนาฎศิลป์กาฬสินธุ์ ทำหน้าที่สอนดนตรีพื้นบ้านอีสาน ได้แก่ พิณ ซอ แคน โปงลาง โหวด และอื่นๆ แก่นักเรียนนาฎศิลป์ พร้อมทั้งควบคุมวงโปงลางของวิทยาลัยนาฎศิลป์กาฬสินธุ์

นายเปลื้อง ฉายรัศมี เป็นนักดนตรีพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริง เป็นผู้มีความสามารถพิเศษ สามารถเล่นและสอนดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลาง และอื่นๆ โดยเฉพาะโปงลางนั้น สามารถถ่ายทอดและเล่นได้ดีเป็นพิเศษ
            และที่สำคัญที่สุดคือ นายเปลื้อง ฉายรัศมี ได้เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุง และพัฒนาโปงลางตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้เกราะลอซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นกกาตามไร่ ตามนา พัฒนาเป็น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรี เอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับแคน ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว นายเปลื้อง ฉายรัศมี จึงควรแก่การยกย่องเชิดชูไว้ในฐานะเป็น "ศิลปินแห่งชาติ" สาขาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน โดยแท้จริง
              วิธีทำโปงลาง

ไม้ที่ใช้ทำโปงลางนั้นส่วนมากจะไม้เนื้อแข็ง เพราะจะให้เสียงที่ไพเราะและกังวาล ไม้ที่นิยมใช้กันมากที่สุดคือ ไม้หมากหาด ( มะหาด ) ใช้ทำลูกโปงลาง ไม้ประดู่ใช้ทำไม้ตีและขาตั้ง ไม้มะหาดนั้นจะแบ่งได้เป็น 3 ชนิด โดยจะแบ่งตามเกรด ดังนี้

  1. ไม้มะหาดทองคำ จัดอยู่ในเกรด A
  2. ไม้มะหาดดำ จัดอยู่ในเกรด B
  3. ไม้มะหาดน้ำผึ้ง จัดอยู่ในเกรด C

 

 

globe การเลือกไม้

การเลือกไม้ที่จะนำมาใช้ทำโปงลางนั้น จะต้องเป็นไม้มะหาดที่ตายแล้วประมาณ 20 ปีขึ้นไป เพราะจะให้เสียงที่ดี กังวาน และไม่ผิดเพี้ยนหลังจากการผลิต ส่วนไม้มะหาดที่ยังสดอยู่นั้น จะไม่ใช้เพราะจะทำให้เสียงเพี้ยนไปจากความเป็นจริง และเสียงจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เมื่อไม้แห้งลง

globeวิธีทำลูกโปงลาง

ไม้ที่ตัดมาจากต้นจะตัดเป็นท่อนๆ ท่อนละ 65 เซนติเมตร ท่อนหนึ่งจะผ่าแบ่งเป็นลูกโปงลางได้ 4-8 ลูก แล้วแต่ขนาดของท่อนไม้ ถ้าเป็นวิธีทำสมัยโบราณไม่มีเครื่องทุ่นแรงใดๆ เมื่อนำมีดมาถากไม้พอกลม ก็นำมาใช้ได้เลย ต่อมาได้นำเครื่องทุ่นแรงมาใช้คือ กบมือ จึงได้นำกบมือมาไสไม้ที่ทำโปงลางให้มีความกลมและสวยงามมากขึ้น จนถึงปัจจุบัน
            ใช้มีดถากให้กลมพอประมาณ และขั้นตอนต่อไป นำไปเข้าเครื่องกลึงเพื่อความสวยงาม ละเอียด และกลมมากขึ้น เมื่อกลึงเสร็จแล้ววัดและตัดขยาดความยาว ลูกแรกยาว 60 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์ 7 เซนติเมตร ลูกต่อมาลดลงตามส่วน ห่างกันลูกละ 1 เซนติเมตร ลูกสุดท้ายยาว 29 เซนติเมตร
            ขั้นตอนต่อไป นำไม้มาวัดหัวท้ายข้างละ 12 เซนติเมตร และลดลงตามส่วน ลูกล่างสุดวัดได้ 6 เซนติเมตร ในแต่ละข้าง เรียงไม้ให้สม่ำเสมอกัน แล้วนำมีดมาถากให้มีลักษณะเว้าทั้ง 2 ข้าง ของลูกโปงลาง แล้วนำมาแต่งเสียงโดยวิธีการตัดไม้ออก และเทียบเสียงให้เข้ากับ โปงลางต้นแบบ ขั้นตอนสุดท้าย เจาะรู โดยวัดเข้ามาวิธีเดียวกันกับการถากลูกโปงลางให้เว้า

globeการเทียบเสียง

                เสียงโปงลางถ้าใช้กับวงพื้นบ้านอีสานทั่วไป จะใช้ แคน เป็นหลักในการบันทึกเสียง แต่ถ้าจะใช้บรรเลงกับวงดนตรีสากล จะต้องใช้ คีย์บอร์ด, อิเล็คโทนในการเทียบเสียง หรือไม่ก็ใช้เครื่องเทียบเสียงสากล ในการเทียบเสียงลูกโปงลางในแต่ละลูก เสียงที่ได้มาจะเข้ากับเครื่องดนตรีสากลได้เป็นอย่างดี

สร้างโดย: 
ว่าที่ พ.ต.นิวัฒน์ มาตย์นอก โรงเรียนอนุบาลวัดในเรืองศรีวิเชียรบุรี อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 1 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์

รายชื่อสมาชิกที่ออนไลน์

  • pornchokchai