• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4c0273ab0c2e2f6bec3fd5c63c54c417' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span> <span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"> </span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span></p>\n<table border=\"1\" width=\"631\" style=\"background-image: url(\'/files/u3195/002.gif\'); width: 631px; height: 304px\" class=\"active\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n                                         \n </p>\n<p>\n                                        <img border=\"0\" width=\"152\" src=\"/files/u3195/06.gif\" height=\"129\" />\n </p>\n<p>\n                                                             ความหมายของห้องสมุด\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small\">         ห้องสมุด ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Library มาจากศัพท์ในภาษาละตินว่า Liber แปลว่าหนังสือ โดยในอดีตห้องสมุดทำหน้าที่ เป็นแหล่งจัดเก็บหนังสือ เป็นการอนุรักษ์ความรู้ ส่วนในภาษาไทยจะใช้คำกลางๆ ว่า ห้องสมุด <br />\n          ในปัจจุบัน มีคำอื่นๆ ที่หน่วยงานต่างๆ ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการสารสนเทศนิยมใช้ในความหมายของคำว่าห้องสมุด เช่น ห้องสมุดของธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้คำว่า ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ ห้องสมุดของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ใช้คำว่า สำนักบรรณสารการพัฒนา ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้คำว่า สำนักบรรณสารสนเทศ และมีห้องสมุดมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ใช้คำว่า สำนักห้องสมุด สำนักหอสมุดกลาง ต่อด้วยชื่อสถาบันการศึกษานั้นๆ เป็นต้น <br />\n           ห้องสมุด หมายถึง สถานที่เก็บรวบรวมและให้บริการวัสดุหรือทรัพยากรสารสนเทศแก่สมาชิก โดยมีบรรณารักษ์หรือนักสารสนเทศ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการตั้งแต่ การจัดหา การจัดเก็บ และการให้บริการ ตลอดจนดูแลบำรุงรักษาทรัพยากรสนเทศ (ลมุล รัตตากร, 2539 : 27) <br />\n           ปัจจุบัน จากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการผลิตวัสดุสารสนเทศจำนวนมาก ทั้งปริมาณและรูปแบบที่หลากหลาย การค้นหาข้อมูลสารสนเทศสามารถสืบค้นได้จากทั่วโลก โดยการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดมีการเปลี่ยนแปลง มีการนำเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บค้นหา และเผยแพร่สารสนเทศของห้องสมุดได้ทันต่อความก้าวหน้าของวิทยากร และข่าวสารต่างๆ ที่ออกมาทุกรูปแบบ และปรับเปลี่ยนการให้บริการจากเดิม แทนที่จะให้บริการเชิงรับในรูปแบบที่อนุรักษ์ หวงแหน และคอยให้ผู้ใช้บริการมาหา เปลี่ยนเป็นการให้บริการเชิงรุก นำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้มีการให้บริการสารสนเทศที่มีคุณค่าหลากหลายรูปแบบอย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา สถานที่ และพยายามดำเนินการให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศทุกประเภทด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จนกลายมาเป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ <br />\n           ดังนั้น ห้องสมุดในอนาคตจึงเป็นแหล่งสั่งสมความรู้ของมนุษยชาติเป็นจำนวนมาก ที่มนุษย์สามารถ แสวงหาความรู้ได้อย่างกว้างขวางโดยไม่มีกำแพงขวางกั้น หรือเรียกว่า ห้องสมุดปราศจากกำแพง (Library without walls) และมีรูปแบบใหม่ๆ ของห้องสมุด มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น ห้องสมุดดิจิทัล (Digital Library) ห้องสมุดประสม (Hybrid Library) หรือห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) เป็นต้น </span>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"color: #008000\">แหล่งข้อมูล <a href=\"http://lib.kru.ac.th/\">http://lib.kru.ac.th</a> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n \n \n<p>   </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n <span style=\"color: #008000\"> </span><span style=\"color: #008000\">        <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u3195/4.gif\" height=\"120\" />  <span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"font-size: small\">ความสำคัญของห้องสมุด</span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\">        ห้องสมุดมีความสำคัญมากต่อบุคคลทั้งหลาย เป็นที่รวมวิทยากา</span><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\">รต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลความรู้ได้กว้างขวาง ทุกสาขาวิชา<br />\n        ห้องสมุดยังเป็นสถานที่ที่ผู้ใช้สามารถเลือกอ่านหนังสือ และค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง อย่างอิสระ และ ตามความสนใจของแต่ล่ะบุคคล และยังเป็นสถานที่ ที่ทำก่อให้เกิดนิสัยรักการอ่านและการค้นคว้า จนกระทั่งทำให้ผู้ใช้ สามารถมองเห็นความแตกต่างของหนังสือ ว่าเล่มไหนเขียนได้ดี และสามารถจดจำแนวทางการเขียนที่ดี เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ได้ ทั้งยังช่วยให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์<br />\n        ห้องสมุด ยังเป็นศูนย์ข้อมูล มีความรู้ที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เพราะห้องสมุดจำเป็นต้องมีข่าวสารใหม่ๆ ไว้บริการผู้ใช้ </span>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"> <a href=\"http://www.th.wikipedia.org/\">www.th.wikipedia.org</a></span>\n </p>\n<p>\n  <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\">ห้องสมุดเป็นสถาบันที่มีความสำคัญต่อสังคมในด้านต่างๆ ดังนี้ <br />\n             1. การจัดการศึกษา <br />\n  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และผู้เรียนแต่ละคนมีความต้องการหรือความถนัดต่างกัน ดังนั้น การเรียนในชั้นเรียน โดยครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แต่เพียงฝ่ายเดียว ย่อมไม่เพียงพอที่จะรอบรู้ในวิทยาการด้านต่างๆ ซึ่งกำลังเจริญรุดหน้าไปในปัจจุบันได้ ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองอย่างกว้างขวางจากแหล่งการเรียนรู้ ตัวบุคคล ศูนย์สารสนเทศรวมทั้งห้องสมุด ห้องสมุดจึงมีบทบาทสำคัญที่จะสนองตอบแนวทางการจัดการศึกษาด้านเหล่านี้ โดยห้องสุดจะเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญที่ผู้เรียนใช้ศึกษาค้นคว้าในเนื้อหาวิชาต่างๆ ตรงตามความมุ่งหมายของแต่ละสถาบันการศึกษานั้นๆ <br />\n             2. ด้านวัฒนธรรม <br />\n  ห้องสมุดเป็นศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่และสืบทอดไปยังอนุชนรุนหลัง ห้องสมุดจึงมีบทบาทสำคัญควบคู่กับอารยธรรมของมนุษย์ชาติ และเป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้าของประเทศนั้นๆได้ <br />\n             3. ด้านเศรษฐกิจ <br />\n  ห้องสมุดมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งไนฐานะก่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในด้านต่างๆ ช่วยให้เกิดกรผลิต การจำหน่าย การหมุนเวียนหนังสือและวัสดุอุปกรณ์ห้องสมุดให้กว้างขวาง ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้ ความสามารถ พัฒนาอาชีพการงานให้พลเมืองโดยได้ใช้เวลาวางให้เป็นประโยชน์ งานบริการสื่อการศึกษาในห้องสมุดช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล เปิดโอกาสให้ทุกคนมีโอกาสแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเองให้เท่าเทียมกัน <br />\n            4. ด้านการเมืองการปกครอง <br />\n  ห้องสมุดส่งเสริมการเมือง การปกครอง ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครองของประเทศ รู้จักปกครองตนเอง เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เกิดความสามัคคี<br />\n                                                                                                                  แหล่งข้อมูล  </span></span><a href=\"http://www.lib.kru.ac.th/\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\">www.lib.kru.ac.th</span></span></a><span style=\"color: #ff00ff\"> </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"left\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n </div>\n<p align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"113\" src=\"/files/u3195/01.gif\" height=\"130\" style=\"width: 103px; height: 122px\" />\n </div>\n<p align=\"center\">\n  <span style=\"font-size: small\">ประเภทของห้องสมุด </span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n <br />\n            ห้องสมุดที่ให้บริการในประเทศไทย โดยทั่วไปแบ่งตามลักษณะหน้าที่และวัตถุประสงค์ให้บริการได้ 5 ประเภท <br />\n            1. ห้องสมุดแห่งชาติ (National Library) เป็นแหล่งรวบรวมและเก็บรักษาหนังสือพิมพ์ที่พิมพ์ภายในประเทศ ตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ ทำหน้าที่รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรมที่แสดงเอกลักษณ์ของประเทศ รวมทั้งจัดทำบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศแห่งชาติ กำหนดเลขมาตรฐานสารกลประจำหนังสือ (International Standard Number-ISBN) และเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serials Number-ISSN) โดยจัดให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หอสมุดแห่งชาติใหญ่ๆ ในต่างประเทศที่ควรรู้จัก เช่น หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) หอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส ส่วนหอสมุดแห่งชาติของไทย ตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี กรุงเทพมหานคร และมีหอสมุดสาขากระจายอยู่ในภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ นครศรีธรรมราช ลำพูน ชลบุรี บุรีรัมย์ นครราชสีมา จันทบุรี เพื่อให้บริการอย่างทั่วถึงในส่วนภูมิภาค <br />\n            2. ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เป็นศูนย์สารสนเทศในระดับอุดมศึกษาครอบคลุมหลักศูนย์กลางศึกษา และการวิจัยพัฒนาให้เกิดความรู้ใหม่ๆ ปัจจุบันสถาบันอุดมศึษาได้พัฒนาสถานภาพของห้องสมุดให้เป็นสถาบันวิทยาการ สำนักวิทยาบริการ เพื่อให้มีสักยาภาพสูงในการดำเนินงาน สามารถจัดบริการสารสนเทศได้อย่างขว้างกว้างและลึกซึ้ง โดยการจัดหาเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดสร้างฐานข้อมูลต่างๆ สร้างระบบเครือข่าย ข่ายงาน การบริการสารสนเทศทั้งออฟไลน์และออนไลน์ และมีหลายแห่งได้มีการพัฒนาไปสู่ระบบห้องสมุดดิจิทัล และห้องสมุดเสมือน ในสถานศึกษาระดับวิทยาลัย มีการจัดตั้งศูนย์โดยรวมศูนย์สื่อการศึกษา ศูนย์โสตทัศนศึกษา และศูนย์การเรียนเข้าร่วมกัน โดยมีชื่อเรียกว่า ศูนย์วิทยาบริการหรือศูนย์การเรียนรู้ มีหน้าที่ส่งเสริมการเรียนการสอน และการวิจัยให้บรรลุผลตามสถานศึกษา ดำเนินการทั้การจัดหาจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ตรงการความต้องการของผู้ใช้ และจัดระบบการให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกทั้งนี้เพื่อสร้างฐานการเรียนรู้ตามความถนัดของผู้เรียน โดยรวมแล้วศูนย์ลักษณะนี้ทำหน้าที่คล้ายห้องสมุด แต่เพิ่มเติมพิเศษ คือนอกจากจะเป็นที่รวบรวมหนังสือต่างๆยังมีสื่อการสอนประเภทต่างๆไว้ให้บริการ ได้แก่ เทปตลับ เทปภาพ รวมทั้งเป็นศูนย์สื่อการศึกษา ช่วยครูผู้สอนในด้านการเตรียมวัสดุอุปกรณ์สื่อการสอนต่าง ๆ ที่พร้อมให้ครูยืมใช้ได้ทันที รวมทั้งมีอุปกรณ์ผลิตสื่อการสอน เช่น คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ถ่ายภาพ ซึ่งจะเห็นว่าศูนย์มีความสัมพันธ์กับสถานศึกษาอย่างมาก ผู้บริหาร อาจารย์ และบรรณารักษ์ที่ให้บริการ จะต้องให้ความร่วมมือกันเพื่อการมุ่งสู่การเรียนรู้อย่างแท้จริง <br />\n            3. ห้องสมุดโรงเรียน เป็นที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียน เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครูโรงเรียน ใช้ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร ทั้งในระบบประถมศึกษาและมัธยมศึกษารวมทั้งเป็นศูนย์รวมวัสดุศึกษาทุกชนิด ที่ครอบคลุมเนื้อหาที่มีในสูตร ครู นักเรียนสามารถเลือกใช้ตามความต้องการ ความสนใจ และความสามารถของแต่ละบุคคล ห้องสมุดโรงเรียนบางแห่งมีลักษณะเป็นศูนย์กลางศึกษา หรือศูนย์สื่อการเรียนการสอน เช่นเดียวกับห้องสมุดวิทยาลัย <br />\n            4. ห้องสมุดประชาชน เป็นศูนย์กลางบริการสารสนเทศโดยตรงแก่ประชาชนทั่วไปในชุมชนมีทรัพยากรสารสนเทศประเภท เพื่อสนองความต้องการความสนใจของผู้ใช้โดยเปิดให้ประชาชนเข้าใช้และขอยืมหนังสือออกนอกห้องสมุดได้ปัจจุบันห้องสมุดประชาชนมีบทบาทสำคัญในการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย โดยทำหน้าที่ให้บริการสื่อการเรียนการสอน เป็นสถานที่ค้นคว้าสำหรับศึกษา ในระบบการศึกษานอกระบบ (กศน.) และกลุ่มผู้สนใจ เพื่อทำกิจกรรมการศึกษาเป็นศูนย์กลางแนะแนวและศูนย์การเรียนไกลไทยคม การศึกษาตามอัธยาศัยที่มีสื่อประเภทต่างๆ คอยให้บริการ และจัดนิทรรศการ รวมทั้งบทบาทในการเป็นศูนย์ข้อมูลชุมชนให้บริการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและแลกเปลี่ยนสารสนเทศประเภทต่างๆ เป็นต้น <br />\n            5. ห้องสมุดเฉพาะ เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบ ที่มีเนื้อหาเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้นๆ โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด ตัวอ่างเช่น ห้องสมุดคณะวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัย ห้องสมุดส่วนราชการ บริษัทสมาคมโรงงาน เช่น ห้องสมุดกรมวิชาการเกษตร ห้องสมุดสวนบริภัณฑ์เพื่อการศึกษา\n </p>\n<p> </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"font-size: small\">แหล่งข้อมูล </span><a href=\"http://www.lib.kru.ac.th/\"><span style=\"font-size: small\">www.lib.kru.ac.th</span></a>\n </p>\n<hr id=\"null\" />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\"></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u3195/3.gif\" height=\"120\" /></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: small\">การอ่านให้ประโยชน์ 7 ประการ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\">         <span style=\"font-size: small\"> ๑. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่ลูก ถ้าพ่อแม่อ่านนิทานให้ลูกฟังจนเป็นนิสัยและสร้างความสุขอันล้นเหลือให้ลูก เด็กร้อยทั้งร้อยชอบฟังนิทาน<br />\n           ๒. สร้างพลังจินตนาการ ผู้ที่อ่านมากจะมีพลังของจินตนาการมาก พลังจินตนาการนำไปสู่ความจริง ความดีและความงาม<br />\n           ๓. สร้างพลังความรู้ ใครอ่านมากมีความรู้มาก ชาติที่ขาดพลังความรู้พัฒนาไปไม่ได้<br />\n           ๔. สร้างพลังทางปัญญา การอ่านมากทำให้สร้างโครงสร้างทางสมองที่ทำให้รู้และคิดเชื่อมโยงทำให้เข้าใจเรื่องยากๆได้ เรื่องยากๆต้องอ่านจึงจะเข้าใจ ฟังอย่างเดียวไม่เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจเรื่องยากก็ไม่เข้าใจสังคมปัจจุบันซึ่งซับซ้อนถ้าขาดพลังทางปัญญาสังคมก็วิกฤต<br />\n           ๕. สร้างพลังทางจริยธรรมเพราะจริยธรรมเกิดจากปัญญาที่เข้าใจความสัมพันธ์หรือความเชื่อมโยงในความซับซ้อน<br />\n           ๖. สร้างความสุขการอ่านทำให้เกิดความสุขอย่างล้นเหลือ เมื่อมีความสุขจากการอ่านก็ไม่ไปทำสิ่งที่ฟุ่มเฟือยไม่ดีอื่นๆ<br />\n           ๗.สร้างบุลิกภาพ คนอ่านน้อย รู้น้อยย่อมเอะอะโวยวายก้าวร้าวคนอ่านมากมีปัญญามาก มีความสุขมาก ย่อมสุขุมคัมภีรภาพ ชาติที่อ่านน้อยกับชาติที่อ่านมากจึงมีบุคลิกภาพต่างกัน เพราะการอ่านกำหนดเป็นบุคลิกภาพของชาติ</span></span>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: small\">แหล่งอ้างอิง   </span><a href=\"http://www.wearehappy.in.th/\"><span style=\"font-size: small\">www.wearehappy.in.th</span></a></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"></span>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"color: #008000\"></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<hr id=\"null\" />\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u3195/6.gif\" height=\"125\" /> \n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small; color: #ff00ff\">ทดสอบความรู้</span> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\">1.  ห้องสมุดตามความหมายใจปัจจุบันตรงกับตัวเลือกในข้อใด</span></span> </span></span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\">         ก.  ที่เก็บหนังสือ</span></span> </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\">         </span></span></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">ข.  แหล่งให้บริการสารสนเทศ</span> </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">         ค.  หน่วยงานวิเคราะห์สารสนเทศ</span>                                       </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">2.  ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของห้องสมุด</span> </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">         ก.  เป็นสถานที่สนทนาเรื่องหนังสือ</span> </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">         ข.  เป็นสถานที่เพื่อสงวนรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรม</span> </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">         ค.  เป็นสถานที่ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน</span> <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"140\" src=\"/files/u3195/f1.gif\" height=\"340\" style=\"width: 127px; height: 217px\" /></span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">3.  จงบอกประโยชน์ของการอ่าน</span> </span></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small; color: #ff6600\">        <span style=\"color: #999999\">.......................................................................................................................</span></span></span></span><span style=\"color: #999999\"> </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<hr id=\"null\" />\n </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n', created = 1726784021, expire = 1726870421, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4c0273ab0c2e2f6bec3fd5c63c54c417' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:45f5b58bc830721459d5194805e6bc87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span> <span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"> </span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"></span></span></span></p>\n<table border=\"1\" width=\"631\" style=\"background-image: url(\'/files/u3195/002.gif\'); width: 631px; height: 304px\" class=\"active\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n                                         \n </p>\n<p>\n                                        <img border=\"0\" width=\"152\" src=\"/files/u3195/06.gif\" height=\"129\" />\n </p>\n<p>\n                                                             ความหมายของห้องสมุด\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small\">         ห้องสมุด ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Library มาจากศัพท์ในภาษาละตินว่า Liber แปลว่าหนังสือ โดยในอดีตห้องสมุดทำหน้าที่ เป็นแหล่งจัดเก็บหนังสือ เป็นการอนุรักษ์ความรู้ ส่วนในภาษาไทยจะใช้คำกลางๆ ว่า ห้องสมุด <br />\n          ในปัจจุบัน มีคำอื่นๆ ที่หน่วยงานต่างๆ ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการสารสนเทศนิยมใช้ในความหมายของคำว่าห้องสมุด เช่น ห้องสมุดของธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้คำว่า ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ ห้องสมุดของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ใช้คำว่า สำนักบรรณสารการพัฒนา ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้คำว่า สำนักบรรณสารสนเทศ และมีห้องสมุดมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ใช้คำว่า สำนักห้องสมุด สำนักหอสมุดกลาง ต่อด้วยชื่อสถาบันการศึกษานั้นๆ เป็นต้น <br />\n           ห้องสมุด หมายถึง สถานที่เก็บรวบรวมและให้บริการวัสดุหรือทรัพยากรสารสนเทศแก่สมาชิก โดยมีบรรณารักษ์หรือนักสารสนเทศ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการตั้งแต่ การจัดหา การจัดเก็บ และการให้บริการ ตลอดจนดูแลบำรุงรักษาทรัพยากรสนเทศ (ลมุล รัตตากร, 2539 : 27) <br />\n           ปัจจุบัน จากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการผลิตวัสดุสารสนเทศจำนวนมาก ทั้งปริมาณและรูปแบบที่หลากหลาย การค้นหาข้อมูลสารสนเทศสามารถสืบค้นได้จากทั่วโลก โดยการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดมีการเปลี่ยนแปลง มีการนำเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บค้นหา และเผยแพร่สารสนเทศของห้องสมุดได้ทันต่อความก้าวหน้าของวิทยากร และข่าวสารต่างๆ ที่ออกมาทุกรูปแบบ และปรับเปลี่ยนการให้บริการจากเดิม แทนที่จะให้บริการเชิงรับในรูปแบบที่อนุรักษ์ หวงแหน และคอยให้ผู้ใช้บริการมาหา เปลี่ยนเป็นการให้บริการเชิงรุก นำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้มีการให้บริการสารสนเทศที่มีคุณค่าหลากหลายรูปแบบอย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา สถานที่ และพยายามดำเนินการให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศทุกประเภทด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จนกลายมาเป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ <br />\n           ดังนั้น ห้องสมุดในอนาคตจึงเป็นแหล่งสั่งสมความรู้ของมนุษยชาติเป็นจำนวนมาก ที่มนุษย์สามารถ แสวงหาความรู้ได้อย่างกว้างขวางโดยไม่มีกำแพงขวางกั้น หรือเรียกว่า ห้องสมุดปราศจากกำแพง (Library without walls) และมีรูปแบบใหม่ๆ ของห้องสมุด มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น ห้องสมุดดิจิทัล (Digital Library) ห้องสมุดประสม (Hybrid Library) หรือห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) เป็นต้น </span>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <span style=\"color: #008000\">แหล่งข้อมูล <a href=\"http://lib.kru.ac.th/\">http://lib.kru.ac.th</a> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n \n \n<p>   </p>\n</td></tr></tbody></table>', created = 1726784021, expire = 1726870421, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:45f5b58bc830721459d5194805e6bc87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด

รูปภาพของ vasinee

 

                                        

                                      

                                                            ความหมายของห้องสมุด

         ห้องสมุด ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Library มาจากศัพท์ในภาษาละตินว่า Liber แปลว่าหนังสือ โดยในอดีตห้องสมุดทำหน้าที่ เป็นแหล่งจัดเก็บหนังสือ เป็นการอนุรักษ์ความรู้ ส่วนในภาษาไทยจะใช้คำกลางๆ ว่า ห้องสมุด
         ในปัจจุบัน มีคำอื่นๆ ที่หน่วยงานต่างๆ ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการสารสนเทศนิยมใช้ในความหมายของคำว่าห้องสมุด เช่น ห้องสมุดของธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้คำว่า ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ ห้องสมุดของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ใช้คำว่า สำนักบรรณสารการพัฒนา ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้คำว่า สำนักบรรณสารสนเทศ และมีห้องสมุดมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ใช้คำว่า สำนักห้องสมุด สำนักหอสมุดกลาง ต่อด้วยชื่อสถาบันการศึกษานั้นๆ เป็นต้น 
          ห้องสมุด หมายถึง สถานที่เก็บรวบรวมและให้บริการวัสดุหรือทรัพยากรสารสนเทศแก่สมาชิก โดยมีบรรณารักษ์หรือนักสารสนเทศ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการตั้งแต่ การจัดหา การจัดเก็บ และการให้บริการ ตลอดจนดูแลบำรุงรักษาทรัพยากรสนเทศ (ลมุล รัตตากร, 2539 : 27)
          ปัจจุบัน จากพัฒนาการของเทคโนโลยีด้านต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการผลิตวัสดุสารสนเทศจำนวนมาก ทั้งปริมาณและรูปแบบที่หลากหลาย การค้นหาข้อมูลสารสนเทศสามารถสืบค้นได้จากทั่วโลก โดยการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดมีการเปลี่ยนแปลง มีการนำเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บค้นหา และเผยแพร่สารสนเทศของห้องสมุดได้ทันต่อความก้าวหน้าของวิทยากร และข่าวสารต่างๆ ที่ออกมาทุกรูปแบบ และปรับเปลี่ยนการให้บริการจากเดิม แทนที่จะให้บริการเชิงรับในรูปแบบที่อนุรักษ์ หวงแหน และคอยให้ผู้ใช้บริการมาหา เปลี่ยนเป็นการให้บริการเชิงรุก นำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้มีการให้บริการสารสนเทศที่มีคุณค่าหลากหลายรูปแบบอย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา ไม่จำกัดระยะเวลา สถานที่ และพยายามดำเนินการให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศทุกประเภทด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีการจัดการทรัพยากรสารสนเทศในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จนกลายมาเป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
          ดังนั้น ห้องสมุดในอนาคตจึงเป็นแหล่งสั่งสมความรู้ของมนุษยชาติเป็นจำนวนมาก ที่มนุษย์สามารถ แสวงหาความรู้ได้อย่างกว้างขวางโดยไม่มีกำแพงขวางกั้น หรือเรียกว่า ห้องสมุดปราศจากกำแพง (Library without walls) และมีรูปแบบใหม่ๆ ของห้องสมุด มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น ห้องสมุดดิจิทัล (Digital Library) ห้องสมุดประสม (Hybrid Library) หรือห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) เป็นต้น 

แหล่งข้อมูล http://lib.kru.ac.th 


 

สร้างโดย: 
ครูวาสินี ศรีเคลือบ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 422 คน กำลังออนไลน์