• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1306f55e6252c2640e2a8ef80a3f977c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"72\" path=\"m11462,4342l9722,1887,8550,6382,4502,3625r870,4192l1172,8270r2763,3322l,12877r3330,2493l1285,17825r3520,415l4917,21600,7527,18125r1173,1587l9872,17370r1740,1472l12180,15935r2762,1435l14640,14350r4237,1282l16380,12310r1890,-1020l16985,9402,21600,6645,16380,6532,18007,3172,14525,5777,14790,xe\" id=\"_x0000_t72\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:path gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"custom\" o:connectlocs=\"9722,1887;0,12877;11612,18842;21600,6645\" o:connectangles=\"270,180,90,0\" textboxrect=\"5372,6382,14640,15935\"></v:path></v:shapetype>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<v:shape type=\"#_x0000_t72\" id=\"_x0000_s1044\" style=\"z-index: -6; position: absolute; margin-top: -18pt; width: 2in; height: 90pt; margin-left: 135pt\"><v:fill src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\stm027\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.png\" o:title=\"Face014\" recolor=\"t\" rotate=\"t\" opacity=\"53084f\" type=\"frame\"></v:fill></v:shape><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"background-color: #39ee4b\"></span><span style=\"background-color: #207d0a\"></span><span style=\"background-color: #207d0a\"></span>                                   <span style=\"font-size: small\">                       </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\">                                                               <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: medium\">ใบความรู้</span></span></span><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\">                                                  </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\">                                                      <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">สถิติ</span></span> </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<br />\n<span style=\"font-size: small\">                                                <span style=\"color: #ff0000; font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\">การหาค่ากลางของข้อมูล</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">               <span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาได้หลายวิธี  แต่ละวิธีต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่</span><span style=\"background-color: #dafdd7\">เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลชนิดนั้นๆ เช่น <br />\n</span><span style=\"background-color: #94f58e\">1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  (arithmatic  mean)<br />\n2) มัธยฐาน (median)<br />\n</span><span style=\"background-color: #94f58e\">3) ฐานนิยม (mode)</span><br />\n<span style=\"background-color: #94f58e\">4) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (geomatric  mean)<br />\n</span><span style=\"background-color: #94f58e\">5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (harmonic  mean)</span><br />\n<span style=\"background-color: #39ee4b\"> ค่ากลางของข้อมูลที่นิยมใช้กันมีอยู่  3  ชนิด  คือ    ค่าเฉลี่ยเลขคณิต    มัธยฐาน   และ<br />\n</span><span style=\"background-color: #39ee4b\">ฐานนิยม  การคำนวณค่ากลางทั้งสามชนิดนี้ โดยทั่วไป แบ่งออกได้เป็น  2  กรณีใหญ่ๆ คือ<br />\n</span></span>                <span style=\"background-color: #37cf11\">1)    การหาค่ากลางข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ (ungrouped  data)<br />\n</span>                <span style=\"background-color: #37cf11\">2)   การหาค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped  data)</span><br />\n<span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #27950c\">ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  (arithmatic  mean)<br />\n</span>              <span style=\"background-color: #27950c\">ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  หรือมัชฌิมเลขคณิต หรือส่วนเฉลี่ยเลขคณิต เป็นการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วน</span><br />\n<span style=\"background-color: #27950c\">กลางที่ใช้กันมากที่สุด  ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะหาได้จาก  ผลรวมของคะแนนของข้อมูลทั้งชุดหารด้วยจำนวนคะแนน  บางครั้งจึงเรียกค่า</span><span style=\"background-color: #27950c\">เฉลี่ยหรือคะแนนเฉลี่ยนั่นเอง</span>  </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffffff\">                        </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ffff99\"></span><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #207d0a\">วิธีหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือค่ากลางเลขคณิต มีดังนี<br />\n</span><span style=\"background-color: #207d0a\">1)</span></span></span></span><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #207d0a\">   การหาค่ากลางของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ (ungrouped  data)<br />\n</span><span style=\"background-color: #207d0a\">1) การหาค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped  data)</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">              <br />\n   <span style=\"background-color: #fa9da4; color: #000000\">การหาค่ากลางของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่<br />\n                 สมมติว่า    x1  ,  x2  ,  x3  ,…,xn  เป็นคะแนนของข้อมูลชุดหนึ่ง  ซึ่งมี  N  จำนวน  ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้  คือ  </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\">  <img height=\"240\" width=\"336\" src=\"/files/u3192/_ko_0.jpg\" border=\"0\" />           </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<img height=\"305\" width=\"470\" src=\"/files/u3192/_kko.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 392px; height: 276px\" /><img height=\"251\" width=\"478\" src=\"/files/u3192/kkkk_0.jpg\" border=\"0\" /><br />\n<span style=\"font-size: small\">               </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<br />\n \n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n    \n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\">มัธยฐาน  ( Median )  <br />\n                   มัธยฐาน   คือ  ค่ากึ่งกลางของข้อมูลชุดนั้น  หรือค่าที่อยู่ในตำแหน่งกลางของข้อมูลชุดนั้น  ซึ่งแสดงว่า มีข้อมูลจำนวนครึ่งหนึ่งหรือ  50%  ของข้อมูลทั้งหมดมีค่าสูงสุดกว่าค่าที่เป็นมัธยฐาน  และมีข้อมูลจำนวนอีกครึ่งหนึ่งหรือ  50%  ของข้อมูลชุดเดียวกัน  มีค่าต่ำกว่าค่าที่เป็นมัธยฐาน<br />\n                    การคำนวณหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่  ต้องเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามาก  แล้วหาคะแนนหรือข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งกลาง<br />\n        ตัวอย่าง   จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี้          7,4,6,8,3,2,9<br />\n             วิธีทำ      ขั้นแรกต้องเรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก ดังนี้<br />\n                                            2       3      6      7      8       9<br />\n                          ข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง คือ    6   <br />\n                          ดังนั้น   มัธยฐาน เท่ากับ     6                                                               ตอบ </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\">            ตัวอย่าง   จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี้     26 ,20 ,31 ,24 ,21 ,28 ,30 ,32 , 25 ,35<br />\n            วิธีทำ      เรียงลำดับจากคะแนนน้อยไปหามาก  จะได้<br />\n                               20  ,   21   ,    24    ,    25   ,  26    ,   28    ,   31   ,   30    ,  32   ,   35<br />\n                                มัธยฐาน    =   <br />\n                                                 =     <br />\n                                                 =    27<br />\n                                  ดังนั้น  มัธยฐาน  เท่ากับ   27                                                        ตอบ            </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\">ฐานนิยม  ( Mode )<br />\n                  ฐานนิยม  คือ  คะแนนที่ซ้ำกันมากที่สุด หรือมีความถี่สูงที่สุดในข้อมูลชุดนั้น  <br />\n            เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก         11  11   12       15   15   15    17   18<br />\n                                     ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุดคือ   15<br />\n                                            ฐานนิยม  คือ    15                                                     ตอบ<br />\n        ตัวอย่าง   จงหาฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้          7,4,6,9,9,3,2,9<br />\n             วิธีทำ      ขั้นแรกต้องเรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก ดังนี้<br />\n                                      <br />\n                                            2       3      6      7      9    9     9  <br />\n                          ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด คือ    9 <br />\n                          ดังนั้น      ฐานนิยม เท่ากับ     9                                                            ตอบ<br />\n            ตัวอย่าง   จงหาฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้     26 ,20 ,31 ,24,24 ,21,24 ,28 ,30 ,32 , 24 ,35<br />\n            วิธีทำ      เรียงลำดับจากคะแนนน้อยไปหามาก  จะได้<br />\n                            <br />\n             20  ,   21   ,    24    ,  24   ,   24  ,   24   ,  26    ,   28    ,   31   ,   30  ,   30    ,  32   ,   35 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">                                  ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด คือ   24<br />\n                                  ดังนั้น  ฐานนิยม  เท่ากับ   24                                                       ตอบ </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\">                                       </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<span style=\"font-size: small\">                          </span><span style=\"font-size: small\">   การเลือกค่ากลางของข้อมูล </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n<br />\n<span style=\"font-size: small\">                        <br />\n                                หลักเกณฑ์การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">          การเลือกใช้ค่ากลางสำหรับข้อมูลแต่ละชุด  ความเหมาะสมในการเลือกใช้ค่าเฉลี่ย  มัธยฐาน  และฐานนิยม  ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่กำหนดให้ และข้อดีข้อเสียของค่ากลางแต่ละชนิด  ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้<br />\n1. บทบาทของค่าแต่ละค่าของข้อมูล<br />\nค่าเฉลี่ย  เป็นค่ากลางที่ได้จากการนำค่าทุกค่าในข้อมูลมาเฉลี่ย จึงถือว่าค่าเฉลี่ย เป็นค่ากลางที่ให้ความสำคัญแก่ค่าทุกค่าในข้อมูล<br />\nมัธยฐาน และฐานนิยม  เป็นค่ากลางที่ใช้ค่าบางค่าในข้อมูลมาคำนวณเท่านั้น จึงถือว่าไม่ได้ให้ความสำคัญแก่ค่าทุกค่าในข้อมูล<br />\n2. มีค่าบางค่าในข้อมูลที่มีค่าสูงสุดหรือต่ำกว่าค่าอื่นๆมาก<br />\nค่าเฉลี่ย  เป็นค่ากลางที่ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนที่ดี เพราะค่าที่สูงหรือต่ำกว่าค่าอื่นๆมาก จะทำให้ค่ากลางที่ได้มีค่าสูงหรือต่ำกว่าค่าอื่นๆในข้อมูลมาก<br />\nมัธยฐาน และฐานนิยม   เป็นค่ากลางที่ถือเป็นตัวแทนได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย  เพราะค่าสูงหรือค่าต่ำกว่าค่าอื่นๆมาก  จะไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อมัธยฐาน  หรือฐานนิยม<br />\n3. เวลาที่ใช้ในการหา<br />\nค่าเฉลี่ย  เป็นค่ากลางที่ได้จากการคำนวณเสมอ  ไม่ว่าข้อมูลนั้นเป็นแบบไม่เป็นหมวดหมู่ หรือเป็นหมวดหมู่ก็ตาม<br />\nมัธยฐานและฐานนิยม  สามารถหาได้รวดเร็วกว่าค่าเฉลี่ยในกรณีที่ข้อมูลนั้นไม่ได้จัดเป็นหมวดหมู่เพราะไม่ต้องคำนวณ<br />\n4. การนำไปใช้ในทางสถิติขั้นสูง<br />\nค่าเฉลี่ย   เป็นค่ากลางที่เหมาะในการนำไปใช้ในทางสถิติขั้นสูง เช่น  การวิเคราะห์หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ความแปรปรวน  ค่ามาตรฐาน เป็นต้น<br />\nมัธยฐานและฐานนิยม  เป็นค่ากลางที่ไม่เหมาะในการนำไปใช้ในทางสถิติขั้นสูง<br />\n5. อันตรภาคชั้นเปิด<br />\nค่าเฉลี่ย  ไม่สามารถคำนวณได้  จากข้อมูลที่มีอันตรภาคชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นอันตรภาคชั้นเปิด<br />\nมัธยฐานและฐานนิยม  สามารถคำนวณได้ ถึงแม้ว่าจะมีอันตรภาคชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นอันตรภาคชั้นเปิด<br />\n6. ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่เท่ากัน<br />\nมีผลทำให้ค่าเฉลี่ย และฐานนิยม  ที่ได้มีค่าคลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเป็นไๆด้าง แต่จะไม่มีผลต่อมัธยฐาน<br />\n7. ความหลากหลายในการหา<br />\nค่าเฉลี่ย  ไม่สามารถคำนวณได้จากกราฟ  เช่น เส้นโค้งของความถี่  หรือจากฮิสโตแกรม<br />\nมัธยฐานและฐานนิยม  สามารถคำนวณได้จากกราฟ<br />\n8. ข้อมูลประเภทคุณภาพ<br />\nค่าเฉลี่ยและมัธยฐาน  ไม่สามารถหาได้จากข้อมูลประเภทคุณภาพ<br />\nฐานนิยม  สามารถหาได้จากข้อมูลประเภทคุณภาพ<br />\n9. การแบ่งข้อมูลเป็นกลุ่มย่อยๆ<br />\nค่าเฉลี่ย  สามารถได้จากการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อยๆ<br />\nมัธยฐานและฐานนิยม   ไม่สามารถหาได้จากการแบ่งข้อมูลเป็นกลุ่มย่อยๆ </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0in 0in 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\">                                  การวิเคราะห์ข้อมูล </span><span style=\"font-size: small\">                        <br />\n                                  การแปลความหมาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">                   การนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาทำการวิเคราะห์ทางสถิติ      เพื่อศึกษาหาข้อสรุปตามที่ต้องการ  เมื่อได้ข้อมูลมา ก็จะมีการดำเนินงานกับข้อมูลด้วยวิธีต่างๆ  การหาข้อสรุปเกี่ยวกับลักษณะต่างๆของข้อมูล  การพิจารณาหาว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้มีความสัมพันธ์กับข้อมูลชุดอื่นหรือไม่อย่างไร     ตลอดจนอาจทำการพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคตจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้         กระบวนการต่างๆเหล่านี้เรียกว่า           &quot;   การวิเคราะห์ข้อมูล     &quot;<br />\n           <br />\n                   การแปลความหมาย คือ   การพิจารณาหาว่าอะไรคือข้อสรุปที่ได้จากการวิเคราะห์  ตัวเลขที่ได้จากการวิเคราะห์ช่วยสนับสนุนหรือปฏิเสธสมมุติฐานที่ตั้งไว้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆและตัวเลขที่ได้จากการวิเคราะห์บอกอะไรบางอย่างใหม่แก่เรา<br />\n                   การแปลความหมายที่ดี ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์  4  ประการ  ดังนี้<br />\n1. มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะค้นหาความจริงทุกอย่างที่ซ่อนเร้นอยู่ในข้อมูล<br />\n2. มีความรู้ความเข้าใจอย่างกว้างขวางในเหตุการณ์หรือเรื่องที่กำลังศึกษา<br />\n3. มีความคิดที่เป็นระเบียบและมีเหตุผลในการทำงาน<br />\n4. มีความสามารถในการใช้ถ้อยคำที่ชัดเจน ทำให้อ่านได้ง่าย<br />\nการวิเคราะห์ข้อมูล มีกระบวนการดังนี้<br />\n1. การแยกประเภทข้อมูล    เป็นขั้นตอนที่วิเคราะห์ข้อมูลบางอย่างซึ่งไม่ต้องการศึกษาข้อมูล<br />\nในขั้นลึกซึ้ง  แต่สำหรับการศึกษาบางอย่าง  การแยกประเภทข้อมูลเป็นเพียงขั้นเตรียมงานเท่านั้น  ลักษณะต่างๆของข้อมูลทั้งที่เป็นรายข้อมูล  และในส่วนรวมจะต้องได้รับการพิจารณาและศึกษาอย่างละเอียด<br />\n                   2.  การสังเขปข้อมูล  เป็นการนำข้อมูลดิบ (Raw  data)มาจัดให้อยู่ในรูปแบบใหม่ซึ่งเป็นระเบียบเรียบร้อยและมีขนาดกะทัดรัดสะดวกต่อการดำเนินงานวิเคราะห์  การสังเขปข้อมูลนี้เรียกว่า             <br />\n&quot;การแจกแจงความถี่  (frequency  distribution) &quot;<br />\n                   3.  การหาข้อสรุปเกี่ยวกับลักษณะต่างๆของข้อมูล ( Summarization ) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างละเอียดว่าข้อมูลชุดนั้นๆบอกอะไรแก่เราบ้าง เช่นสมมติว่าข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ต่อปีของคนจำนวนหนึ่งซึ่งเป็นตัวอย่างของประชากรทั้งประเทศ  สิ่งต่างๆที่อาจต้องการทราบ คือ ประชากรมีรายได้ต่อปีเฉลี่ยคนละเท่าไร  รายได้ของคนมั่งมีและคนยากจนแตกต่างกันมากหรือไม่ และถ้าคนส่วนใหญ่ค่อนข้างยากจน  คนเหล่านี้มีมากเพียงไร  ค่าเหล่านี้คือค่าซึ่งบอกลักษณะต่างๆของข้อมูลซึ่งเป็นค่าสถิติอย่างหนึ่งและสามารถคำนวณได้<br />\n                   4.  แนวโน้มของข้อมูล  (Trend )  การนำข้อมูลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งซึ่งยาวนานพอสมควรมาลงจุดจะได้เส้นกราฟ ซึ่งมีลักษณะโดยส่วนรวมอาจชันขึ้นหรือลดลง หรือมีทั้งชันขึ้นหรือลาดลงในช่วงเวลาหนึ่งเช่นในรอบ  1  ปี  เป็นต้น  ลักษณะโดยส่วนรวมที่ชันขึ้นหรือลาดลงของเส้นกราฟในช่วงเวลายาวนานนี้เรียกว่า  แนวโน้มของข้อมูล  ซึ่งมีวิธีการ  2  วิธี  คือ  วิธีการกะประมาณ และวิธีการคำนวณ<br />\n                   5.  การพยากรณ์ทางสถิติ    การพยากรณ์อาศัยประสบการณ์และความชำนาญ   อาศัยเหตุการณ์และหลักฐานบางอย่าง  และการพยากรณ์ทางสถิติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><b><span style=\"color: #ffff99\">                                    </span></b></span> </span>\n</p>\n', created = 1726706427, expire = 1726792827, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1306f55e6252c2640e2a8ef80a3f977c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สถิติน่ารู้

รูปภาพของ smcwilawan

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


                                                         

                                                               ใบความรู้
                                                  

                                                      สถิติ


                                                การหาค่ากลางของข้อมูล

               การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาได้หลายวิธี  แต่ละวิธีต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลชนิดนั้นๆ เช่น
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  (arithmatic  mean)
2) มัธยฐาน (median)
3) ฐานนิยม (mode)
4) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (geomatric  mean)
5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (harmonic  mean)
 ค่ากลางของข้อมูลที่นิยมใช้กันมีอยู่  3  ชนิด  คือ    ค่าเฉลี่ยเลขคณิต    มัธยฐาน   และ
ฐานนิยม  การคำนวณค่ากลางทั้งสามชนิดนี้ โดยทั่วไป แบ่งออกได้เป็น  2  กรณีใหญ่ๆ คือ
                1)    การหาค่ากลางข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ (ungrouped  data)
                2)   การหาค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped  data)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  (arithmatic  mean)
              ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  หรือมัชฌิมเลขคณิต หรือส่วนเฉลี่ยเลขคณิต เป็นการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วน
กลางที่ใช้กันมากที่สุด  ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะหาได้จาก  ผลรวมของคะแนนของข้อมูลทั้งชุดหารด้วยจำนวนคะแนน  บางครั้งจึงเรียกค่าเฉลี่ยหรือคะแนนเฉลี่ยนั่นเอง 

                        

วิธีหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือค่ากลางเลขคณิต มีดังนี
1)
   การหาค่ากลางของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ (ungrouped  data)
1) การหาค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped  data)

             
   การหาค่ากลางของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
                 สมมติว่า    x1  ,  x2  ,  x3  ,…,xn  เป็นคะแนนของข้อมูลชุดหนึ่ง  ซึ่งมี  N  จำนวน  ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้  คือ 

             

 


               

 

 

 

 


 


    

สร้างโดย: 
ครูวิลาวรรณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์