• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3473ad8e8ab10feb801a26b0d0823161' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>ห้ามลบ</b> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff6600\">คุณธรรมนำไทย ใช้ชีวิตพอเพียง</span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/images2.jpg\" style=\"width: 72px; height: 98px\" align=\"left\" border=\"0\" width=\"106\" height=\"135\" />\n</p>\n<ul>\n<li>      <span style=\"color: #ff00ff\">คุณธรรมพื้นฐาน</span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">      เศรษฐกิจพอเพียง</span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">      เป้าหมายของการพัฒนา</span></li>\n<li><span style=\"color: #ff0000\">      การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง</span></li>\n<li><span style=\"color: #ff00ff\">      เงื่อนไขความพอเพียง</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          ในช่วงวัยหนึ่งของมนุษย์ทุกคน  ย่อมผ่านวัยแห่งการเรียนรู้  นอกจากบิดามารดาแล้ว  ยังมีครูตั้งแต่ปฐมวัย  ที่อบรมสั่งสอนสรรพวิชาต่างๆ ขณะเดียวกันก็ได้สอดแทรกคุณธรรมลงไว้ในจิตสำนึกของเยาวชน  นั่นคือการกุลบุตรกุลธิดาแบบวิถีชีวิตไทย  ที่ต้องการให้ลูกหลานเป็นคนดี<br />\nสภาพสังคมปัจจุบัน  ที่เน้นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  ทำให้มองข้ามความดีงาม ที่ทำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  หากแต่มีความรู้เพียงอย่างเดียว  โลกก็คงเต็มไปด้วยความวุ่นวาย  แก่งแย่งชิงดี  ปราศจากความพอดี <br />\nดังนั้น  ถึงเวลาแล้วที่คนไทยทุกคนจะช่วยกันผนึกกำลัง  รู้รักสามัคคี  โดยอยู่บนรากฐาน ความพอเพียง  ดังพระราชดำรัสในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ที่ทรงวางแนวทางให้แก่ปวงชนชาวไทย  ขอเชิญชวนชาวไทยได้น้อมนำพระราชดำริมาปฏิบัติโดยทั่วกัน </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" />คุณธรรมพื้นฐาน</b> <b> <span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff00ff\"> <img src=\"/files/u1676/kunnatum0.jpg\" style=\"width: 202px; height: 153px\" border=\"0\" width=\"320\" height=\"249\" /></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n๑.  <b><span style=\"color: #ff0000\">ขยัน</span></b>   ผู้ที่มีความตั้งใจเพียรพยายาม ทำหน้าที่ การงานอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ในเรื่องที่ถูกควร  สู้งานมีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทำตั้งใจทำหน้าที่อย่างจริงจัง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b001.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"170\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n๒.  <b><span style=\"color: #ff0000\">ประหยัด</span></b>  ผู้ที่ดำเนินชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย   รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซื้อ     เก็บออม  ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่างคุ้มค่า         ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ รู้จักทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย   ของตนเองอยู่เสมอ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u1676/b002.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"160\" />\n</p>\n<p>๓.  <b><span style=\"color: #ff0000\">ซื่อสัตย์</span></b>  ผู้ที่มีความประพฤติตรงทั้งต่อเวลา    ต่อหน้าที่และต่อวิชาชีพ มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียง หรืออคติ ไม่ใช้เล่ห์กลคดโกง  ทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองปฏิบัติอย่างเต็มที่และถูกต้อง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u1676/b003.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"140\" />\n</div>\n<p>๔. <span style=\"color: #ff0000\"> มีวินัย</span>  ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบ ของสถานศึกษา สถาบัน องค์กร สังคม และประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอย่างเต็มใจ และตั้งใจยึดมั่นในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยทั้งต่อตนเอง และสังคม\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b004.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"184\" /> \n</p>\n<p>๕.  <span style=\"color: #ff0000\">สุภาพ</span> ผู้ที่มีความอ่อนน้อมถ่อมตน          ตามสถานภาพ และกาลเทศะมีสัมมาคารวะเรียบร้อย ไม่ก้าวร้าว รุนแรง หรือวางอำนาจ     ข่มผู้อื่นทั้งโดยวาจาและท่าทาง  เป็นผู้ที่มีมารยาท ดีงามวางตนแหมะสมตามวัฒนธรรมไทย\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b005.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"179\" />\n</p>\n<p>๖.  <span style=\"color: #ff0000\">สะอาด  </span>ผู้ที่รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย และสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องตามสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ขุ่นมัว มีความแจ่มใสอยู่เสมอ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม มีความผ่องใสเป็นที่เจริญตา ทำให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b006.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"159\" />\n</p>\n<p>๗.  <span style=\"color: #ff0000\">สามัคคี</span>  ผู้ที่เปิดใจกว้าง รับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น  รู้บทบาทของตนทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามที่ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อให้การงานสำเร็จลุล่วงสามารถแก้ปัญหา และขจัดความขัดแย้งได้เป็น  ผู้มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ พร้อมที่จะปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ และสมานฉันท์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b007.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"186\" />\n</p>\n<p>๘.   <span style=\"color: #ff0000\">มีน้ำใจ</span>  ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตน เพื่อทำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น เห็นอก เห็นใจ และเห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ และผู้ที่มีความเดือดร้อน   มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ อาสาช่วยสังคมด้วยแรงกาย และสติปัญญาลงมือปฏิบัติเพื่อบรรเทาปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งดีงามให้เกิดขึ้นในชุมชน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/b008.gif\" border=\"0\" width=\"148\" height=\"180\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<br />\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>เศรษฐกิจพอเพียง<span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/001.jpg\" border=\"0\" width=\"200\" height=\"187\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>ความพอเพียง</b> หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน\n</p>\n<p>\nเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิตรากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเองสิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป  คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย  เมื่อมีความโลภก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย\n</p>\n<p>\nถ้าทุกประเทศมีความคิด - อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ  มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียงหมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่งไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุขพอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่นต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตน  ก็พอเพียง<br />\n“เศรษฐกิจพอเพียงนี้ให้ปฏิบัติเพียงครึ่งเดียว คือ ไม่ต้องทั้งหมดหรือแม้จะเศษหนึ่งส่วนสี่ก็พอ... <br />\nและทำได้เศษหนึ่งส่วนสี่ก็พอนั้นไม่ได้แปลว่า          เศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่แต่เศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ...”<br />\nกรอบแนวคิด<br />\n“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทาง   การดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดย     มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นภัยจากวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา  พัฒนาภายใต้  กระแสโลกาภิวัตน์  และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ<br />\nคุณลักษณะ<br />\nเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<br />\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>เป้าหมายของการพัฒนา</span> <span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span></b>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />การพัฒนาคนให้ พออยู่พอกิน  อยู่ดีมีสุข</b>\n</p>\n<ul>\n<li>คนต้องพึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง มีศักยภาพ /       มีทางเลือกสุขภาพ ความรู้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ</li>\n<li>คนต้องอยู่กับผู้อื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข ไม่เบียดเบียน       และแบ่งปัน</li>\n<li>คนต้องอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน  ไม่ทำลาย เห็นคุณค่า และอนุรักษ์</li>\n</ul>\n<p>\n<br />\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ</b>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u1676/6.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" width=\"70\" height=\"73\" />การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเป็นกระบวนการพัฒนาที่นำไปสู่ความเป็นไทย เป็นการพัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง สร้างความสมดุลในการดำเนินชีวิตเป็นรากฐานของการพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน\n</p>\n<ul>\n<li> “ระเบิดจากข้างใน” ให้คนพออยู่ พอกิน พึ่งตนเองได้ก่อน</li>\n<li>  การพัฒนาต้องอยู่บนฐานเดิมของสังคม</li>\n<li>  การพัฒนาต้องอยู่บนหลักภูมิสังคม</li>\n<li>  มุ่งประโยชน์ของประชาชนทุกคน ยึดหลัก “คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน” </li>\n<li>  เน้นกระบวนการ ประชาพิจารณ์ การมีส่วนร่วมของประชาชน</li>\n<li>  ไม่ติดตำรา ใช้หลักวิชาการในการพัฒนาอย่างระมัดระวัง</li>\n<li>  การพัฒนาต้องทำอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มที่จุดเล็ก  ความพร้อมของคนและพื้นที่</li>\n<li>  การทำโครงการต้องทำในขนาดที่ถนัด     รอบคอบ อย่าตาโต</li>\n<li>  ปลูกจิตสำนึก</li>\n<li>  เรียบง่าย ประหยัด เกิดประโยชน์สูงสุด    ใช้กฎธรรมชาติ</li>\n<li>  ยึดหลัก 3 ประสาน “ บ ว ร” บ้าน (ชาวบ้าน)วัด (พระ) /     ศาสนสถาน และราชการ  หรือข้าราชการ  หรือโรงเรียน</li>\n</ul>\n<p>\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />เป้าหมายของการพัฒนา</b>\n</p>\n<ul>\n<li>โดยพื้นฐานคือ การพึ่งตนเอง เป็นหลักการทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ     ระมัดระวัง</li>\n<li>พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผลและการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ</li>\n<li>การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลใน แต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ</li>\n<li>ครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม   รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง</span></b> <span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />ด้านเศรษฐกิจ</b>\n</p>\n<p>\nลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ/มีภูมิคุ้มกันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสำรอง\n</p>\n<p>\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม</b>\n</p>\n<p>\nรู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด\n</p>\n<p>\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />ด้านจิตใจ</b>\n</p>\n<p>\nมีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ / มีจิตสำนึกที่ดี / เอื้ออาทร ประณีประนอม / นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นหลัก\n</p>\n<p>\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />ด้านสังคม</b>\n</p>\n<p>\nช่วยเหลือเกื้อกูลกัน / รู้รักสามัคคี / สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และชุมชน\n</p>\n<p>\n<b><img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />ด้านเทคโนโลยี</b>\n</p>\n<p>\nรู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม (ภูมิสังคม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านเองก่อน / ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/k17.jpg\" border=\"0\" width=\"110\" height=\"90\" /> \n</p>\n<p>\n<br />\n<b>การประยุกต์ใช้ระดับปัจเจกบุคคล</b>\n</p>\n<p>\n๑) หลักการ/แนวคิด<br />\n- เริ่มที่ตนเอง/ครอบครัวก่อน<br />\n- สร้างความเข้าใจ สร้างความคิด เห็นคุณค่า และตั้งสตินำหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่มีพื้นฐาน  จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยมาปฏิบัติ<br />\n- นำหลักมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันและวิถีการดำรงชีวิตซึ่งใช้ได้ทั้งกับชีวิตในเมือง และชนบท<br />\n๒) วิธีการเรียนรู้<br />\n- เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น จารีตประเพณี  สัมพันธ์กับวิถีธรรมชาติมองแบบ องค์รวม<br />\n- ศึกษาจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ/ศูนย์การเรียนรู้    นำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและ ครอบครัว<br />\n- เรียนรู้ให้เข้าใจ ทำความจริงให้ปรากฏ ปรับวิธีคิด   วิถีการดำเนินชีวิตมองให้ไกลวางแผนการดำเนิน ชีวิตของตนเอง<br />\n๓) ผลการประยุกต์ใช้<br />\n- เรียนรู้ปรัชญาและการปฏิบัติที่ได้ผลต้องสะท้อน      ออกมาทางพฤติกรรมได้<br />\n- การประยุกต์ใช้เปลี่ยนแปลงชีวิต ลดทุกข์ ปลดหนี้   เกิดความสุข พึ่งตนเองได้  ขยายไปสู่ชุมชน<br />\n- ทำให้การดำเนินชีวิตเป็นไปด้วยความรอบคอบ    มีภูมิคุ้มกัน และมีความสุข  อย่างยั่งยืน\n</p>\n<p>\n๔) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ<br />\nสร้างความเข้าใจหลักปรัชญาและเห็นคุณค่าก่อนปฏิบัติตาม<br />\n- ต้องให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และปฏิบัติด้วยตนเอง<br />\n- ต้องมีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />\n- ต้องสร้างความคิดที่ชัดเจนว่า นอกจากจะก่อให้เกิด การพึ่งตนเอง ยังเป็นการตอบแทนแก่แผ่นดิน  สร้างสมดุลให้กับสังคม และทรัพยากรธรรมชาติ<br />\n๕)  แนวทางการดำเนินการเพื่อขยายผล<br />\n- สร้างความเข้าใจหลักปรัชญาให้กับคนทุกระดับว่า  สามารถนำไป ใช้ได้กับทุกคน  ทุกเพศ ทุกวัย  ทั้งในเมือง และชนบท<br />\n- ค้นหาบุคคลทุกสาขาอาชีพเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และขยายผล<br />\n- สร้างความเข้าใจหลักปรัชญาให้กับบุคคลภาครัฐ ท้องถิ่น เพื่อสนับสนุน  การนำไปประยุกต์ใช้ในระดับบุคคลและครอบครัว\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>เงื่อนไขความพอเพียง</span></b> <span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/images4.jpg\" style=\"width: 175px; height: 176px\" border=\"0\" width=\"107\" height=\"129\" />\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff00ff\">  <img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" />  ความพอประมาณ</span></b>   หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป   และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น   เช่น การผลิตและบริโภค ที่อยู่ในระดับพอประมาณ\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff00ff\">  <img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" /> ความมีเหตุผล</span></b> หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับ ระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">  <img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" /> </span>ก<span style=\"color: #ff00ff\"></span>ารมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว</span></b> หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ    ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล\n</p>\n<p>\n<b>เงื่อนไข </b>การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">  <img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" /> </span>เงื่อนไขความรู้</span></b> ประกอบด้วย ความรอบรู้ เกี่ยวกับ วิชาการต่างๆ อย่างรอบด้าน ความรอบคอบ ที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน  เพื่อ ประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">  <img src=\"/files/u1676/ICON043.gif\" border=\"0\" width=\"17\" height=\"17\" /> </span></span>เงื่<span style=\"color: #ff00ff\"></span>อนไขคุณธรรม</span></b> ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทนมีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span>แนวปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง<span style=\"color: #ff00ff\"><b><img src=\"/files/u1676/11.gif\" border=\"0\" width=\"26\" height=\"26\" /></b></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/teacherking80.jpg\" style=\"width: 228px; height: 179px\" border=\"0\" width=\"400\" height=\"381\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       เพื่อที่จะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอมี พอกิน เราควรที่จะปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๑.  จะต้องยึกหลัก ๓ พอ คือ พออยู่ พอกิน พอใช้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๒.  ประหยัด โดยตัดทอนรายจ่ายจากความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิต ไม่ฟุ้งเฟ้อ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๓.  ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต ไม่ประกอบอาชีพที่ผิดศีลธรรมและผิดกฎหมาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๔.  ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๕.  รู้จักแสวงหาความรู้เพิ่มเติม พยายามพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถมากขึ้น นำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๖.  ใช้ความรู้ความสามารถพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นการเพิ่มพูนรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       ๗.  ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีความสามัคคีในครอบครัว และชุมชน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u1676/s-line94.gif\" border=\"0\" width=\"500\" height=\"69\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งข้อมูล\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.crownproperty.or.th/main.php\">http://www.crownproperty.or.th/main.php</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sufficiencyeconomy.org/detail.swf\">http://www.sufficiencyeconomy.org/detail.swf</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.lcat.ac.th/testwebb/8.html\">http://www.lcat.ac.th/testwebb/8.html</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.kunnatum.net/album/kunnatum8/\">http://www.kunnatum.net/album/kunnatum8/</a>\n</p>\n', created = 1714257196, expire = 1714343596, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3473ad8e8ab10feb801a26b0d0823161' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คุณธรรมนำไทย ใช้ชีวิตพอเพียง

รูปภาพของ bcskrumai

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


คุณธรรมนำไทย ใช้ชีวิตพอเพียง

  •       คุณธรรมพื้นฐาน
  •       เศรษฐกิจพอเพียง
  •       เป้าหมายของการพัฒนา
  •       การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
  •       เงื่อนไขความพอเพียง

          ในช่วงวัยหนึ่งของมนุษย์ทุกคน  ย่อมผ่านวัยแห่งการเรียนรู้  นอกจากบิดามารดาแล้ว  ยังมีครูตั้งแต่ปฐมวัย  ที่อบรมสั่งสอนสรรพวิชาต่างๆ ขณะเดียวกันก็ได้สอดแทรกคุณธรรมลงไว้ในจิตสำนึกของเยาวชน  นั่นคือการกุลบุตรกุลธิดาแบบวิถีชีวิตไทย  ที่ต้องการให้ลูกหลานเป็นคนดี
สภาพสังคมปัจจุบัน  ที่เน้นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  ทำให้มองข้ามความดีงาม ที่ทำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  หากแต่มีความรู้เพียงอย่างเดียว  โลกก็คงเต็มไปด้วยความวุ่นวาย  แก่งแย่งชิงดี  ปราศจากความพอดี 
ดังนั้น  ถึงเวลาแล้วที่คนไทยทุกคนจะช่วยกันผนึกกำลัง  รู้รักสามัคคี  โดยอยู่บนรากฐาน ความพอเพียง  ดังพระราชดำรัสในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ที่ทรงวางแนวทางให้แก่ปวงชนชาวไทย  ขอเชิญชวนชาวไทยได้น้อมนำพระราชดำริมาปฏิบัติโดยทั่วกัน

สร้างโดย: 
krumai

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 488 คน กำลังออนไลน์