• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4dda9c1b2b0a312954dc18d287556084' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong>เรื่องของดอล์ฟ ฮิตเลอร์ </strong></p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เกิด 20 เม.ย. ปีค.ศ.1889 ที่เมืองเบราเนา ประเทศออสเตรีย ติดชายแดนเยอรมนี ทั้งพ่อ-อาลัวส์ และแม่คาร่า มาจากครอบครัวเกษตรกรที่ยากจน แต่พ่อเป็นคนฉลาดและทะเยอทะยาน จึงก้าวขึ้นมาเป็นเจ้าหน้าที่ภาษี ช่วงที่มาแต่งงานกับแม่ อายุห่างกันถึง 23 ปี และมีลูกติดมา 2 คน ทำให้ฮิตเลอร์มีพี่น้องถึง 5 คน แต่โตขึ้นมาเหลือรอดอยู่ 2 คน คือฮิตเลอร์และน้องสาว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พ่อฮิตเลอร์เป็นคนที่เข้มงวดมาก และนิยมใช้ความรุนแรงลงโทษหากลูกไม่เชื่อฟัง ฮิตเลอร์จึงเป็นเด็กเรียนดีในตอนต้น เพื่อนๆ ยกย่องให้เป็นผู้นำ ทั้งยังเคร่งศาสนา จนใครๆ คิดว่าโตขึ้นมาจะเป็นนักบวช</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แต่พอขึ้นเรียนชั้นสูงขึ้น วิชาต่างๆ ก็เริ่มยากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อสอบไม่ได้ที่ 1 พ่อเริ่มเกรี้ยวกราด เพราะกลัวลูกจะเข้ารับราชการไม่ได้ ส่วนเพื่อนๆ ก็เริ่มไม่ปลื้มให้เป็นหัวหน้า ความกดดันต่างๆ ทำให้ฮิตเลอร์เบี่ยงไปสนใจการต่อสู้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ครูชั้นมัธยมฯ คนเดียวที่ฮิตเลอร์ชื่นชอบ คือลีโอโพลด์ พอตช์ ซึ่งเป็นคนนิยมความสำเร็จของเยอรมนี จึงมักเล่าถึงชัยชนะต่างๆ ของเยอรมันเหนือฝรั่งเศส ในศึกปีค.ศ.1870-1871 และต่อว่าออสเตรียว่าไม่ยอมเข้าร่วมกับเยอรมนี ฮิตเลอร์พานชอบเยอรมันไปด้วย โดยมีออตโต วอน บิสมาร์ก นายกรัฐมนตรีของอาณาจักรเยอรมนี เป็นฮีโร่ในดวงใจ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับวิชาที่ฮิตเลอร์สนใจมากอีกวิชาคือศิลปะ ซึ่งทำให้ทะเลาะรุนแรงกับพ่อ เพราะไม่เห็นด้วยเลยที่จะให้ลูกเป็นศิลปิน ศึกพ่อลูกสิ้นสุดลงในปีค.ศ.1903 เมื่อพ่อฮิตเลอร์เสียชีวิต ตอนนั้นครอบครัวไม่ได้รับผลกระทบอะไรมากทางการเงิน แต่ฮิตเลอร์ยังคงไม่รักเรียนเช่นเดิม จนแม่ยอมให้ออกจากโรงเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อมาในช่วงอายุ 18 ปี ฮิตเลอร์ได้รับมรดกของพ่อ และใช้เงินเดินทางไปกรุงเวียนนา หวังว่าจะไปเรียนวิชาศิลปะที่นั่น ฮิตเลอร์คิดว่าตนเองมีความสามารถทางศิลปะที่เหนือชั้น แต่พอไปถึงจริงกลับถูกสถาบันวิชาการศิลปะเวียนนาปฏิเสธใบสมัคร จากนั้นจึงย้ายไปสมัครที่โรงเรียนสถาปัตยกรรม แต่ไม่ได้อีก เพราะไม่มีใบรับรองจากโรงเรียนเก่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฮิตเลอร์อับอายมากที่ล้มเหลวเช่นนี้ จนไม่กล้าบอกความจริงกับแม่ว่าเกิดอะไรขึ้น แสร้งทำเป็นอยู่ในเวียนนาต่อไปว่าตนเองเป็นนักเรียนศิลปะ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจากฮิตเลอร์ย้ายจากเมืองเบราเนาไปกรุงเวียนนา และเข้าเรียนศิลปะอย่างที่ใจหวังไม่ได้ ก็ไม่กล้าบอกแม่ว่าเกิดอะไรขึ้น แสร้งทำเป็นว่าเป็นนักเรียนศิลปะอยู่ที่กรุงเวียนนาอย่างนั้น โดยใช้เงินบำนาญมรดกของพ่อดำรงชีวิตในเมืองหลวงอย่างสบาย วันๆ ก็นอนเล่นอ่านหนังสือ ตกบ่ายไปพิพิธภัณฑ์ศิลปะ จนกระทั่งปีค.ศ.1907 แม่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเสียชีวิตของแม่ทำให้ฮิตเลอร์เสียใจสุดซึ้ง เพราะรักแม่มากและมากกว่าพ่อ ตามประวัติศาสตร์ฮิตเลอร์ถือรูปแม่ไปทุกที่แม้กระทั่งวาระสุดท้ายรูปก็ยังอยู่ในมือ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปีค.ศ.1909 ซึ่งเป็นปีที่ควรเกณฑ์ทหาร ฮิตเลอร์กลับไม่ยอมรับใช้กองทัพออสเตรียของตัวเอง เพราะแค้นอยู่ลึกๆ ที่สถาบันการศึกษาออสเตรียไม่เปิดโอกาสให้เรียน นอกจากนี้ยังชื่นชมอาณาจักรเยอรมนีที่เหนือกว่าออสเตรียมาตั้งแต่เด็ก จึงไปเป็นอาสาสมัครในกองทัพเยอรมนี ขึ้นชื่อว่าเป็นทหารกล้าตาย สู้เลือดเดือด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ช่วงเวลานี้ชีวิตของฮิตเลอร์มีทั้งขึ้นและลง หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลง ฮิตเลอร์ ย้ายไปอยู่มิวนิกและเริ่มชีวิตทางการเมือง ซึ่งล้มลุกคลุกคลานอยู่นาน จนกระทั่งปีค.ศ.1921 ก้าวขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคนาซี มีนโยบายต่อต้านชาวยิวและผู้นิยมลัทธิสังคมนิยม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปี 1933 ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีและหนึ่งปีถัดจากนั้นตั้งตนเป็นเผด็จการสมบูรณ์แบบ สร้างกองทัพยึดคืนแคว้นไรน์ และในปี 1936 ร่วมมือกับเผด็จการมุสโสลินีของอิตาลีบุกยึดออสเตรีย ชาติเกิดของตนเอง ตามด้วยเชโกสโลวะเกีย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับเชโกฯ นั้นบุกยากกว่าออสเตรีย เพราะมีฝรั่งเศสเป็นพันธมิตร ทางด้านอังกฤษจึงเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยแบ่งพื้นที่บางส่วนของเชโกฯ ให้เยอรมัน แต่ภายหลังถูกฮิตเลอร์หักหลังเข้ายึดทั้งประเทศ ทำให้อังกฤษอับอายมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้วยความที่ได้คืบจะเอาศอก ฮิตเลอร์ลุยต่อไปที่โปแลนด์ คราวนี้อังกฤษกับฝรั่งเศสไม่ยอมอีกแล้ว วันที่ 3 ก.ย.1939 จึงประกาศสงครามโลกครั้งที่ 2 กับเยอรมัน ฝ่ายพันธมิตรและอักษะสู้รบกันอยู่นานถึงปี 1945 ฝ่ายอักษะพ่ายแพ้ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายพร้อมหญิงคนรัก อีวา วันที่ 30 เม.ย. ปีค.ศ.1945</p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฮิตเลอร์เคยถูกลอบสังหาร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 20 กรกฎาคม 1944 อาจเป็นวันธรรมดาวันหนึ่งหากว่ามันไม่ได้อยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองกำลังตึงเครียดถึงขีดสุด จนทำให้วันนี้กลายเป็นหน้าหนึ่งที่ประวัติศาสตร์จะต้องจารึกไว้ แม้ว่าปฏิบัติการในครั้งนั้นจะไม่เสร็จสมบูรณ์ตามที่หวังก็ตาม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เช้าตรู่วันนั้นพันเอกสเตาเฟนแบร์ก และนายทหารคนสนิท แวร์เนอร์ เฮฟเทน เดินทางออกจากสนามบินทหารแห่งหนึ่งนอกกรุงเบอร์ลิน พร้อมกับระเบิดหนัก 4 ปอนด์ อาวุธที่จะใช้ในการสังหารฮิตเลอร์ผู้ซึ่งยังไม่ตื่นจากการหลับไหล</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขณะที่แฟรงคลิน ดี.รูสเวลท์ ประธานา ธิบดีแห่งสหรัฐ ซึ่งโดยสารอยู่บนรถไฟเฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน เพิ่งจะตื่นนอน ส่วนเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ กำลังรับประทานอาหารเช้าอยู่บนเตียง ในห้องของอาคารแอนเน็กซ์ที่อยู่เหนือห้อง War Room ของคณะรัฐมนตรีบนถนนดาวนิ่ง และจอมพลโจเซฟ สตาลิน กำลังพักผ่อนอยู่ที่บ้านพักในเมืองคุนท์เซโว่ นอกกรุงมอสโก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระหว่างที่แผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ค่อย ๆ ดำเนินไปตามที่วางไว้ ในช่วงสายฮิตเลอร์ก็ตื่นขึ้นเพื่อมารับฟังรายงานการทิ้งระเบิดในช่วงคืนที่ผ่านมา ก่อนที่ ดร.ธีโอดอร์ มอเรลล์ แพทย์ประจำตัวจะฉีดยากระตุ้นประจำวันให้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจากนั้นไม่นานพันเอกสเตาเฟนแบร์กก็เดินทางมาถึงสนามบินทหารใกล้กับกองบัญชาการรบฝั่งตะวันออก ที่เรียกว่า โวล์ฟส์ ไลร์</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ช่วงเวลาเดียวกันนั้นทั้งจอมพลสตาลิน นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ และประธานา ธิบดีรูสเวลท์ ต่างก็กำลังเตรียมวางแผนเพื่อจัดการกับเผด็จการอย่างฮิตเลอร์อยู่ โดยไม่รู้เลยว่านายทหารคนสนิทของฮิตเลอร์เองกำลังปฏิบัติการเพื่อพลิกสถานการณ์อันเลวร้ายอยู่ในอีกไม่กี่นาทีข้างหน้า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พันเอกสเตาเฟนแบร์กขอตัวที่จะไม่เข้าร่วมประชุมกับผู้บัญชาการสนามรบวิลเฮล์ม ไคเทล หลังจากเขามาแจ้งเรื่องการประชุมที่ถูกร่นให้เร็วขึ้นครึ่งชั่วโมงให้ทราบ ก่อนจะขอให้ห้องพักผ่อนเพื่อร่วมกับแวร์เนอร์ ฟอน เฮฟ เทน นายทหารคนสนิทประกอบลูกระเบิดที่ลักลอบนำ เข้ามาแต่ขณะที่ระเบิดลูกที่สองกำลังได้รับการประกอบขึ้นนั้น ทหารรับใช้ได้เข้ามาขัดจังหวะจนทำให้ทั้งคู่ประกอบระเบิดเสร็จสมบูรณ์เพียงลูกเดียว และนั่นคือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ปฏิบัติการครั้งนี้ไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางเอาไว้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฟอน เฮฟเทน เอาระเบิดลูกที่สองใส่ไว้ในกระเป๋าของเขาแทนที่จะใส่มันไว้ในกระเป๋ากับระเบิดลูกแรก ซึ่งจะถูกนำไปไว้ในที่ประชุมของฮิตเลอร์</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แม้ว่าจะไปเข้าร่วมประชุมกับฮิตเลอร์ตามปกติ แต่พันเอกสเตาเฟนแบร์กก็ฉลาดพอที่จะไม่เป็นผู้วางระเบิดนั้นด้วยตัวเอง เพราะเขามีนายทหารคนสนิทอีกคนที่จะทำหน้าที่ในการนำมันไปวางไว้ใกล้ ๆ กับฮิตเลอร์ แผนการครั้งนี้คงจะสมบูรณ์หากว่าพันเอกไฮนซ์ บรันท์ไม่นำกระเป๋าปริศนาใบที่ว่าเคลื่อนย้ายไปจากที่ทางที่มันควรจะอยู่</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ไม่กี่อึดใจหลังจากพันเอกสเตาเฟนแบร์กถูกฟอน เฮฟเทน เรียกออกมาจากกระท่อมประชุมสถานการณ์ ก็มีเสียงระเบิดดังขึ้นสัญญาณเตือนภัยถูกเปิดเพื่อแจ้งการก่อการประทุษร้ายในค่าย พันเอกสเตาเฟนแบร์กพร้อมฟอน เฮฟเทน รีบรุดกลับไปยังสนามบินทหารและขึ้นเครื่องกลับทันที โดยไม่อยู่รอดูผลงานของตัวเองก่อน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ในครั้งนี้ทำให้ผู้นำฟาสซิสต์อย่าง เบนิโต้ มุสโสลินี เชื่อว่านั่นคือสัญญาณ ที่บ่งบอกว่าชะตาได้ลิขิตให้ฮิตเลอร์นำนาซีเยอรมันไปสู่ชัยชนะ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความเชื่อมั่นของพันเอกสเตาเฟนแบร์กที่ว่า ฮิตเลอร์ตายแล้ว กับข้อความที่ถูกแจ้งมาว่า \"มีเรื่องร้ายแรงเกิดขึ้น ฟูห์เรอร์ยังมีชีวิตอยู่\" โดยไม่มีอะไรยืนยัน ทำให้พันเอกสเตาเฟนแบร์กตัดสินใจออกคำสั่งไปยังผู้บัญชาการกองทัพระดับภูมิภาคทุกนายว่า \"ฮิตเลอร์ตายแล้วและกองทัพบกกำลังเข้ายึดอำนาจควบคุมรัฐ เจ้าหน้าที่พรรคนาซีและผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสทุกคนต้องถูกจับกุม\"</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นั่นเท่ากับเป็นการแสดงตัวว่าเขาคือผู้วางระเบิดลูกนั้น ขณะที่ฮิตเลอร์โทรฯ ไปหาโยเซฟ เกิบเบลส์ รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการพร้อมกับบอกว่าเขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อพันเอกสเตาเฟนแบร์กส่งนายพลแอร์นสท์ เรเมอร์มาจับกุม เกิบเบลส์จึงแจ้งคำสั่งของฮิตเลอร์ที่ให้เรเมอร์ควบคุมกรุงเบอร์ลินและนำความสงบเรียบร้อยกลับคืนมา โดยตั้งไฮน์ริค ฮิมเลอร์ ผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสเป็นผู้บัญชาการกองทัพชั่วคราว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจากนั้นมีการประกาศทางวิทยุเยอรมันเกี่ยวกับความพยายามในการลอบสังหารที่ล้มเหลว และฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ เพียงเท่านั้นกบฏในเบอร์ลินก็วงแตก ผู้ร่วมสมคบคิดบางรายแปรพักตร์ ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกจับกุมและตัดสินประหารชีวิตทันที</p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นาทีสุดท้ายของผู้นำ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แต่สิ่งที่ยังเป็นความลับดำมืดที่หลายคนอยากรู้ ก็คือ ช่วงวันท้ายๆ ของท่านผู้นำเยอรมัน ก่อนที่เขาจะฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษในขณะกำลังหลบภัยในบังเกอร์แห่งหนึ่งในวันที่ 30 เมษายน ปี 2488 นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งในตอนนั้นเขาและกองทัพเยอรมันกำลังจะแพ้สงคราม บรรยากาศในบังเกอร์เป็นอย่างไร</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ล่าสุด อดีตนายทหารเยอรมันคนหนึ่งซึ่งอยู่ในกลุ่มคนกลุ่มสุดท้ายที่อยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์ได้ออกมาเฉลยความลับที่หลายคนอยากรู้ เขาคือ เบิร์น เฟรย์ฮาร์ก วอน โลแรงโฮเวน ซึ่งปัจจุบันอายุ 91 ปีแล้ว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เบิร์นเล่าว่า เขาใช้ชีวิตอยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์เป็นเวลากว่า 9 เดือน แต่ในช่วงสถานการณ์หมิ่นเหม่ที่ฮิตเลอร์กำลังจะแพ้สงคราม ฮิตเลอร์กลับอนุญาตให้เขาหนีในวันที่ 29 เมษายน 2488 \"ฮิตเลอร์จับมือกับผมและอวยพรให้ผมโชคดี จากสายตาของฮิตเลอร์ ผมว่าเขาอิจฉาผมนะ\"</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจาก 1 วันที่มีการพบศพฮิตเลอร์ในบังเกอร์ และนายทหารเบิร์นกำลังหนีลูกกระสุนและลูกระเบิดของรัสเซียบนเรือแคนูบนแม่น้ำฮาเวล เขาพยายามจะหนีไปยังที่มั่นสุดท้ายของเยอรมันในกรุงเบอร์ลิน แต่อย่างไรก็ดี เบิร์นก็รอดชีวิตจากสงครามและชีวิตที่เขาถูกทารุณอย่างโหดร้ายในค่ายเชลยของอังกฤษ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในตอนนี้ เบิร์นเป็นคนสุดท้ายของผู้ที่อยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์ที่ยังมีชีวิตอยู่หลังจากเลขานุการของฮิตเลอร์เสียชีวิตไปเมื่อเร็วๆ นี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เขาเล่าว่า \"ดูเหมือนว่าฮิตเลอร์จะติดยาบางชนิดด้วย\" ตามคำบอกเล่าของเบิร์น ฮิตเลอร์บัญชาการการรบด้วยการเสี้ยมให้เกิดการแบ่งแยกในบรรดานายทหารที่ทำงานให้เขา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; \"ฮิตเลอร์สร้างสายบัญชาการซ้ำซ้อนกัน เพื่อให้เกิดการแข่งขันและแตกแยกกันแล้วก็ปกครอง เขามอบหมายให้นายทหารทางการเมืองแอบล้วงความลับนายทหารอาชีพที่ทำงานรอบข้างเขา กุศโลบายนี้เองทำให้ฮิตเลอร์เป็นผู้มีอำนาจและข้อมูลอยู่เหนือทุกคนจนกระทั่งวาระสุดท้าย\"</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ฮิตเลอร์เป็นคนดื้อแพ่ง ทั้งๆ ที่ไม่มีความรู้ในทางทหารมากพอจะเป็นผู้บัญชาการรบระดับสงครามโลกได้ ประสบการณ์เดียวที่ฮิตเลอร์มีในกองทัพมีเพียงน้อยนิด เพราะเขาเป็นพลทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ฮิตเลอร์ไม่ใช่เป็นคนบัญชาการการโจมตีในช่วงนั้น แต่เป็นการวางแผนของนายทหารนโยบาย เมื่อการโจมตีไม่ประสบความสำเร็จ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เขาก็ไม่ยอมรับคำแนะนำจากนายทหารคนสนิท เพราะเขามองว่าพวกนี้เป็นพวกขี้แพ้ ชอบแนะนำให้ยอมแพ้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เบิร์นเล่าว่า ฮิตเลอร์เป็นคนก้าวร้าวอย่างมาก แต่ก็มีบุคลิกที่หลายคนมองว่าอบอุ่นและมักทำให้คนประทับใจด้วยการพูดคุยอย่างเป็นกันเอง เขาเล่าว่า ฮิตเลอร์จะตื่นช่วงเที่ยง และเมื่อเดินเข้าห้องประชุม ทุกคนต้องทำความเคารพตามแบบนาซี และเขาจะเดินจับมือกับทุกคน แต่ฮิตเลอร์จะเป็นคนเดียวที่นั่งที่โต๊ะประชุมในขณะที่นายทหารคนอื่นไม่ได้รับอนุญาตให้นั่ง จะยกเว้นให้บางครั้งกับนายทหารอาวุโสเท่านั้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากนายทหารหนุ่มวัย 31 ปี ตอนนี้เบิร์นกลายเป็นชายชราอายุเฉียดร้อย แต่กระนั้นก็ตาม ความทรงจำของเขาเกี่ยวกับฮิตเลอร์ยังแจ่มชัด และมีการสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับฮิตเลอร์จากคำบอกเล่าของเบิร์นอีกด้วย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>สร้างโดย&nbsp; กัญญามาศ&nbsp; เฮงษฎีกุล&nbsp; โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย</p>\n<p><br /> <a href=\"http://www.artsmen.net/\">http://www.artsmen.net</a></p>\n', created = 1715266308, expire = 1715352708, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4dda9c1b2b0a312954dc18d287556084' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่องของ ดอล์ฟ ฮิตเลอร์

เรื่องของดอล์ฟ ฮิตเลอร์


                ดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เกิด 20 เม.ย. ปีค.ศ.1889 ที่เมืองเบราเนา ประเทศออสเตรีย ติดชายแดนเยอรมนี ทั้งพ่อ-อาลัวส์ และแม่คาร่า มาจากครอบครัวเกษตรกรที่ยากจน แต่พ่อเป็นคนฉลาดและทะเยอทะยาน จึงก้าวขึ้นมาเป็นเจ้าหน้าที่ภาษี ช่วงที่มาแต่งงานกับแม่ อายุห่างกันถึง 23 ปี และมีลูกติดมา 2 คน ทำให้ฮิตเลอร์มีพี่น้องถึง 5 คน แต่โตขึ้นมาเหลือรอดอยู่ 2 คน คือฮิตเลอร์และน้องสาว

                พ่อฮิตเลอร์เป็นคนที่เข้มงวดมาก และนิยมใช้ความรุนแรงลงโทษหากลูกไม่เชื่อฟัง ฮิตเลอร์จึงเป็นเด็กเรียนดีในตอนต้น เพื่อนๆ ยกย่องให้เป็นผู้นำ ทั้งยังเคร่งศาสนา จนใครๆ คิดว่าโตขึ้นมาจะเป็นนักบวช

                แต่พอขึ้นเรียนชั้นสูงขึ้น วิชาต่างๆ ก็เริ่มยากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อสอบไม่ได้ที่ 1 พ่อเริ่มเกรี้ยวกราด เพราะกลัวลูกจะเข้ารับราชการไม่ได้ ส่วนเพื่อนๆ ก็เริ่มไม่ปลื้มให้เป็นหัวหน้า ความกดดันต่างๆ ทำให้ฮิตเลอร์เบี่ยงไปสนใจการต่อสู้

                ครูชั้นมัธยมฯ คนเดียวที่ฮิตเลอร์ชื่นชอบ คือลีโอโพลด์ พอตช์ ซึ่งเป็นคนนิยมความสำเร็จของเยอรมนี จึงมักเล่าถึงชัยชนะต่างๆ ของเยอรมันเหนือฝรั่งเศส ในศึกปีค.ศ.1870-1871 และต่อว่าออสเตรียว่าไม่ยอมเข้าร่วมกับเยอรมนี ฮิตเลอร์พานชอบเยอรมันไปด้วย โดยมีออตโต วอน บิสมาร์ก นายกรัฐมนตรีของอาณาจักรเยอรมนี เป็นฮีโร่ในดวงใจ

                สำหรับวิชาที่ฮิตเลอร์สนใจมากอีกวิชาคือศิลปะ ซึ่งทำให้ทะเลาะรุนแรงกับพ่อ เพราะไม่เห็นด้วยเลยที่จะให้ลูกเป็นศิลปิน ศึกพ่อลูกสิ้นสุดลงในปีค.ศ.1903 เมื่อพ่อฮิตเลอร์เสียชีวิต ตอนนั้นครอบครัวไม่ได้รับผลกระทบอะไรมากทางการเงิน แต่ฮิตเลอร์ยังคงไม่รักเรียนเช่นเดิม จนแม่ยอมให้ออกจากโรงเรียน

                ต่อมาในช่วงอายุ 18 ปี ฮิตเลอร์ได้รับมรดกของพ่อ และใช้เงินเดินทางไปกรุงเวียนนา หวังว่าจะไปเรียนวิชาศิลปะที่นั่น ฮิตเลอร์คิดว่าตนเองมีความสามารถทางศิลปะที่เหนือชั้น แต่พอไปถึงจริงกลับถูกสถาบันวิชาการศิลปะเวียนนาปฏิเสธใบสมัคร จากนั้นจึงย้ายไปสมัครที่โรงเรียนสถาปัตยกรรม แต่ไม่ได้อีก เพราะไม่มีใบรับรองจากโรงเรียนเก่า

                ฮิตเลอร์อับอายมากที่ล้มเหลวเช่นนี้ จนไม่กล้าบอกความจริงกับแม่ว่าเกิดอะไรขึ้น แสร้งทำเป็นอยู่ในเวียนนาต่อไปว่าตนเองเป็นนักเรียนศิลปะ

                หลังจากฮิตเลอร์ย้ายจากเมืองเบราเนาไปกรุงเวียนนา และเข้าเรียนศิลปะอย่างที่ใจหวังไม่ได้ ก็ไม่กล้าบอกแม่ว่าเกิดอะไรขึ้น แสร้งทำเป็นว่าเป็นนักเรียนศิลปะอยู่ที่กรุงเวียนนาอย่างนั้น โดยใช้เงินบำนาญมรดกของพ่อดำรงชีวิตในเมืองหลวงอย่างสบาย วันๆ ก็นอนเล่นอ่านหนังสือ ตกบ่ายไปพิพิธภัณฑ์ศิลปะ จนกระทั่งปีค.ศ.1907 แม่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง

                การเสียชีวิตของแม่ทำให้ฮิตเลอร์เสียใจสุดซึ้ง เพราะรักแม่มากและมากกว่าพ่อ ตามประวัติศาสตร์ฮิตเลอร์ถือรูปแม่ไปทุกที่แม้กระทั่งวาระสุดท้ายรูปก็ยังอยู่ในมือ

                ในปีค.ศ.1909 ซึ่งเป็นปีที่ควรเกณฑ์ทหาร ฮิตเลอร์กลับไม่ยอมรับใช้กองทัพออสเตรียของตัวเอง เพราะแค้นอยู่ลึกๆ ที่สถาบันการศึกษาออสเตรียไม่เปิดโอกาสให้เรียน นอกจากนี้ยังชื่นชมอาณาจักรเยอรมนีที่เหนือกว่าออสเตรียมาตั้งแต่เด็ก จึงไปเป็นอาสาสมัครในกองทัพเยอรมนี ขึ้นชื่อว่าเป็นทหารกล้าตาย สู้เลือดเดือด

                ช่วงเวลานี้ชีวิตของฮิตเลอร์มีทั้งขึ้นและลง หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลง ฮิตเลอร์ ย้ายไปอยู่มิวนิกและเริ่มชีวิตทางการเมือง ซึ่งล้มลุกคลุกคลานอยู่นาน จนกระทั่งปีค.ศ.1921 ก้าวขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคนาซี มีนโยบายต่อต้านชาวยิวและผู้นิยมลัทธิสังคมนิยม

                ในปี 1933 ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีและหนึ่งปีถัดจากนั้นตั้งตนเป็นเผด็จการสมบูรณ์แบบ สร้างกองทัพยึดคืนแคว้นไรน์ และในปี 1936 ร่วมมือกับเผด็จการมุสโสลินีของอิตาลีบุกยึดออสเตรีย ชาติเกิดของตนเอง ตามด้วยเชโกสโลวะเกีย

                สำหรับเชโกฯ นั้นบุกยากกว่าออสเตรีย เพราะมีฝรั่งเศสเป็นพันธมิตร ทางด้านอังกฤษจึงเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยแบ่งพื้นที่บางส่วนของเชโกฯ ให้เยอรมัน แต่ภายหลังถูกฮิตเลอร์หักหลังเข้ายึดทั้งประเทศ ทำให้อังกฤษอับอายมาก

                ด้วยความที่ได้คืบจะเอาศอก ฮิตเลอร์ลุยต่อไปที่โปแลนด์ คราวนี้อังกฤษกับฝรั่งเศสไม่ยอมอีกแล้ว วันที่ 3 ก.ย.1939 จึงประกาศสงครามโลกครั้งที่ 2 กับเยอรมัน ฝ่ายพันธมิตรและอักษะสู้รบกันอยู่นานถึงปี 1945 ฝ่ายอักษะพ่ายแพ้ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายพร้อมหญิงคนรัก อีวา วันที่ 30 เม.ย. ปีค.ศ.1945


                ฮิตเลอร์เคยถูกลอบสังหาร

              
                20 กรกฎาคม 1944 อาจเป็นวันธรรมดาวันหนึ่งหากว่ามันไม่ได้อยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองกำลังตึงเครียดถึงขีดสุด จนทำให้วันนี้กลายเป็นหน้าหนึ่งที่ประวัติศาสตร์จะต้องจารึกไว้ แม้ว่าปฏิบัติการในครั้งนั้นจะไม่เสร็จสมบูรณ์ตามที่หวังก็ตาม

                เช้าตรู่วันนั้นพันเอกสเตาเฟนแบร์ก และนายทหารคนสนิท แวร์เนอร์ เฮฟเทน เดินทางออกจากสนามบินทหารแห่งหนึ่งนอกกรุงเบอร์ลิน พร้อมกับระเบิดหนัก 4 ปอนด์ อาวุธที่จะใช้ในการสังหารฮิตเลอร์ผู้ซึ่งยังไม่ตื่นจากการหลับไหล

                ขณะที่แฟรงคลิน ดี.รูสเวลท์ ประธานา ธิบดีแห่งสหรัฐ ซึ่งโดยสารอยู่บนรถไฟเฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน เพิ่งจะตื่นนอน ส่วนเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ กำลังรับประทานอาหารเช้าอยู่บนเตียง ในห้องของอาคารแอนเน็กซ์ที่อยู่เหนือห้อง War Room ของคณะรัฐมนตรีบนถนนดาวนิ่ง และจอมพลโจเซฟ สตาลิน กำลังพักผ่อนอยู่ที่บ้านพักในเมืองคุนท์เซโว่ นอกกรุงมอสโก

                ระหว่างที่แผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ค่อย ๆ ดำเนินไปตามที่วางไว้ ในช่วงสายฮิตเลอร์ก็ตื่นขึ้นเพื่อมารับฟังรายงานการทิ้งระเบิดในช่วงคืนที่ผ่านมา ก่อนที่ ดร.ธีโอดอร์ มอเรลล์ แพทย์ประจำตัวจะฉีดยากระตุ้นประจำวันให้

                หลังจากนั้นไม่นานพันเอกสเตาเฟนแบร์กก็เดินทางมาถึงสนามบินทหารใกล้กับกองบัญชาการรบฝั่งตะวันออก ที่เรียกว่า โวล์ฟส์ ไลร์

                ช่วงเวลาเดียวกันนั้นทั้งจอมพลสตาลิน นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ และประธานา ธิบดีรูสเวลท์ ต่างก็กำลังเตรียมวางแผนเพื่อจัดการกับเผด็จการอย่างฮิตเลอร์อยู่ โดยไม่รู้เลยว่านายทหารคนสนิทของฮิตเลอร์เองกำลังปฏิบัติการเพื่อพลิกสถานการณ์อันเลวร้ายอยู่ในอีกไม่กี่นาทีข้างหน้า

                พันเอกสเตาเฟนแบร์กขอตัวที่จะไม่เข้าร่วมประชุมกับผู้บัญชาการสนามรบวิลเฮล์ม ไคเทล หลังจากเขามาแจ้งเรื่องการประชุมที่ถูกร่นให้เร็วขึ้นครึ่งชั่วโมงให้ทราบ ก่อนจะขอให้ห้องพักผ่อนเพื่อร่วมกับแวร์เนอร์ ฟอน เฮฟ เทน นายทหารคนสนิทประกอบลูกระเบิดที่ลักลอบนำ เข้ามาแต่ขณะที่ระเบิดลูกที่สองกำลังได้รับการประกอบขึ้นนั้น ทหารรับใช้ได้เข้ามาขัดจังหวะจนทำให้ทั้งคู่ประกอบระเบิดเสร็จสมบูรณ์เพียงลูกเดียว และนั่นคือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ปฏิบัติการครั้งนี้ไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางเอาไว้

                ฟอน เฮฟเทน เอาระเบิดลูกที่สองใส่ไว้ในกระเป๋าของเขาแทนที่จะใส่มันไว้ในกระเป๋ากับระเบิดลูกแรก ซึ่งจะถูกนำไปไว้ในที่ประชุมของฮิตเลอร์

                แม้ว่าจะไปเข้าร่วมประชุมกับฮิตเลอร์ตามปกติ แต่พันเอกสเตาเฟนแบร์กก็ฉลาดพอที่จะไม่เป็นผู้วางระเบิดนั้นด้วยตัวเอง เพราะเขามีนายทหารคนสนิทอีกคนที่จะทำหน้าที่ในการนำมันไปวางไว้ใกล้ ๆ กับฮิตเลอร์ แผนการครั้งนี้คงจะสมบูรณ์หากว่าพันเอกไฮนซ์ บรันท์ไม่นำกระเป๋าปริศนาใบที่ว่าเคลื่อนย้ายไปจากที่ทางที่มันควรจะอยู่

                ไม่กี่อึดใจหลังจากพันเอกสเตาเฟนแบร์กถูกฟอน เฮฟเทน เรียกออกมาจากกระท่อมประชุมสถานการณ์ ก็มีเสียงระเบิดดังขึ้นสัญญาณเตือนภัยถูกเปิดเพื่อแจ้งการก่อการประทุษร้ายในค่าย พันเอกสเตาเฟนแบร์กพร้อมฟอน เฮฟเทน รีบรุดกลับไปยังสนามบินทหารและขึ้นเครื่องกลับทันที โดยไม่อยู่รอดูผลงานของตัวเองก่อน

                การรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ในครั้งนี้ทำให้ผู้นำฟาสซิสต์อย่าง เบนิโต้ มุสโสลินี เชื่อว่านั่นคือสัญญาณ ที่บ่งบอกว่าชะตาได้ลิขิตให้ฮิตเลอร์นำนาซีเยอรมันไปสู่ชัยชนะ

                ความเชื่อมั่นของพันเอกสเตาเฟนแบร์กที่ว่า ฮิตเลอร์ตายแล้ว กับข้อความที่ถูกแจ้งมาว่า "มีเรื่องร้ายแรงเกิดขึ้น ฟูห์เรอร์ยังมีชีวิตอยู่" โดยไม่มีอะไรยืนยัน ทำให้พันเอกสเตาเฟนแบร์กตัดสินใจออกคำสั่งไปยังผู้บัญชาการกองทัพระดับภูมิภาคทุกนายว่า "ฮิตเลอร์ตายแล้วและกองทัพบกกำลังเข้ายึดอำนาจควบคุมรัฐ เจ้าหน้าที่พรรคนาซีและผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสทุกคนต้องถูกจับกุม"

                นั่นเท่ากับเป็นการแสดงตัวว่าเขาคือผู้วางระเบิดลูกนั้น ขณะที่ฮิตเลอร์โทรฯ ไปหาโยเซฟ เกิบเบลส์ รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการพร้อมกับบอกว่าเขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อพันเอกสเตาเฟนแบร์กส่งนายพลแอร์นสท์ เรเมอร์มาจับกุม เกิบเบลส์จึงแจ้งคำสั่งของฮิตเลอร์ที่ให้เรเมอร์ควบคุมกรุงเบอร์ลินและนำความสงบเรียบร้อยกลับคืนมา โดยตั้งไฮน์ริค ฮิมเลอร์ ผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสเป็นผู้บัญชาการกองทัพชั่วคราว

                หลังจากนั้นมีการประกาศทางวิทยุเยอรมันเกี่ยวกับความพยายามในการลอบสังหารที่ล้มเหลว และฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ เพียงเท่านั้นกบฏในเบอร์ลินก็วงแตก ผู้ร่วมสมคบคิดบางรายแปรพักตร์ ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกจับกุมและตัดสินประหารชีวิตทันที


                นาทีสุดท้ายของผู้นำ

               
                แต่สิ่งที่ยังเป็นความลับดำมืดที่หลายคนอยากรู้ ก็คือ ช่วงวันท้ายๆ ของท่านผู้นำเยอรมัน ก่อนที่เขาจะฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษในขณะกำลังหลบภัยในบังเกอร์แห่งหนึ่งในวันที่ 30 เมษายน ปี 2488 นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งในตอนนั้นเขาและกองทัพเยอรมันกำลังจะแพ้สงคราม บรรยากาศในบังเกอร์เป็นอย่างไร

                ล่าสุด อดีตนายทหารเยอรมันคนหนึ่งซึ่งอยู่ในกลุ่มคนกลุ่มสุดท้ายที่อยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์ได้ออกมาเฉลยความลับที่หลายคนอยากรู้ เขาคือ เบิร์น เฟรย์ฮาร์ก วอน โลแรงโฮเวน ซึ่งปัจจุบันอายุ 91 ปีแล้ว

                เบิร์นเล่าว่า เขาใช้ชีวิตอยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์เป็นเวลากว่า 9 เดือน แต่ในช่วงสถานการณ์หมิ่นเหม่ที่ฮิตเลอร์กำลังจะแพ้สงคราม ฮิตเลอร์กลับอนุญาตให้เขาหนีในวันที่ 29 เมษายน 2488 "ฮิตเลอร์จับมือกับผมและอวยพรให้ผมโชคดี จากสายตาของฮิตเลอร์ ผมว่าเขาอิจฉาผมนะ"

                หลังจาก 1 วันที่มีการพบศพฮิตเลอร์ในบังเกอร์ และนายทหารเบิร์นกำลังหนีลูกกระสุนและลูกระเบิดของรัสเซียบนเรือแคนูบนแม่น้ำฮาเวล เขาพยายามจะหนีไปยังที่มั่นสุดท้ายของเยอรมันในกรุงเบอร์ลิน แต่อย่างไรก็ดี เบิร์นก็รอดชีวิตจากสงครามและชีวิตที่เขาถูกทารุณอย่างโหดร้ายในค่ายเชลยของอังกฤษ

                ในตอนนี้ เบิร์นเป็นคนสุดท้ายของผู้ที่อยู่ในบังเกอร์กับฮิตเลอร์ที่ยังมีชีวิตอยู่หลังจากเลขานุการของฮิตเลอร์เสียชีวิตไปเมื่อเร็วๆ นี้

                เขาเล่าว่า "ดูเหมือนว่าฮิตเลอร์จะติดยาบางชนิดด้วย" ตามคำบอกเล่าของเบิร์น ฮิตเลอร์บัญชาการการรบด้วยการเสี้ยมให้เกิดการแบ่งแยกในบรรดานายทหารที่ทำงานให้เขา

                "ฮิตเลอร์สร้างสายบัญชาการซ้ำซ้อนกัน เพื่อให้เกิดการแข่งขันและแตกแยกกันแล้วก็ปกครอง เขามอบหมายให้นายทหารทางการเมืองแอบล้วงความลับนายทหารอาชีพที่ทำงานรอบข้างเขา กุศโลบายนี้เองทำให้ฮิตเลอร์เป็นผู้มีอำนาจและข้อมูลอยู่เหนือทุกคนจนกระทั่งวาระสุดท้าย"

                ฮิตเลอร์เป็นคนดื้อแพ่ง ทั้งๆ ที่ไม่มีความรู้ในทางทหารมากพอจะเป็นผู้บัญชาการรบระดับสงครามโลกได้ ประสบการณ์เดียวที่ฮิตเลอร์มีในกองทัพมีเพียงน้อยนิด เพราะเขาเป็นพลทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ฮิตเลอร์ไม่ใช่เป็นคนบัญชาการการโจมตีในช่วงนั้น แต่เป็นการวางแผนของนายทหารนโยบาย เมื่อการโจมตีไม่ประสบความสำเร็จ

                เขาก็ไม่ยอมรับคำแนะนำจากนายทหารคนสนิท เพราะเขามองว่าพวกนี้เป็นพวกขี้แพ้ ชอบแนะนำให้ยอมแพ้

                เบิร์นเล่าว่า ฮิตเลอร์เป็นคนก้าวร้าวอย่างมาก แต่ก็มีบุคลิกที่หลายคนมองว่าอบอุ่นและมักทำให้คนประทับใจด้วยการพูดคุยอย่างเป็นกันเอง เขาเล่าว่า ฮิตเลอร์จะตื่นช่วงเที่ยง และเมื่อเดินเข้าห้องประชุม ทุกคนต้องทำความเคารพตามแบบนาซี และเขาจะเดินจับมือกับทุกคน แต่ฮิตเลอร์จะเป็นคนเดียวที่นั่งที่โต๊ะประชุมในขณะที่นายทหารคนอื่นไม่ได้รับอนุญาตให้นั่ง จะยกเว้นให้บางครั้งกับนายทหารอาวุโสเท่านั้น

                จากนายทหารหนุ่มวัย 31 ปี ตอนนี้เบิร์นกลายเป็นชายชราอายุเฉียดร้อย แต่กระนั้นก็ตาม ความทรงจำของเขาเกี่ยวกับฮิตเลอร์ยังแจ่มชัด และมีการสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับฮิตเลอร์จากคำบอกเล่าของเบิร์นอีกด้วย

 

สร้างโดย  กัญญามาศ  เฮงษฎีกุล  โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย


http://www.artsmen.net

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 405 คน กำลังออนไลน์