• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8065c1d1428cb4da1fb2049f38afc518' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: georgia,palatino\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" /><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\">รู้จักกับการตัดต่อภาพยนต์</span><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" /></span></strong>\n</p>\n<p>\n          ความรู้เรื่องการสร้างภาพยนตร์ เป็นพื้นฐานแรกที่นักตัดต่อต้องทำความเข้าใจ เนื่องจากคำศัพท์และคุณสมบัติ รวมทั้ง<br />\n กระบวนการบางอย่าง จะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจเลือกใช้โปรแกรมในการตัดต่อวิดีโอหรือภาพยนตร ์&quot; <br />\n          การตัดต่อภาพยนตร์ คือการลำดับภาพจากภาพยนตร์ที่ถ่ายทำไว้ โดยนำแต่ละฉากมาเรียงกันตามโครงเรื่อง จากนั้นใช้เทคนิค<br />\n การตัดต่อให้ภาพและเสียงมีความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกัน เพื่อให้ได้ภาพยนตร์ที่เต็มรูปแบบ ถือได้ว่าการตัดต่อภาพยนตร์เป็นขั้นตอนสำคัญอีกอย่างหนึ่งของการสร้างภาพยนตร์ก่อนการนำไปเผยแพร่  <br />\n          ขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ในมุมมองของนักตัดต่อ ในความเป็นจริงขั้นตอนในการสร้างภาพยนตร์มีหลายขั้นตอนมาก แต่สำหรับมุมมองของนักตัดต่อแล้ว จะมองการสร้างภาพยนตร์ เป็นเพียงการนำไฟล์วิดีโอทั้งหมดหลังจากการถ่ายทำเข้ามาลำดับเรื่องราวแล้วนำมาตัดต่อให้ภาพยนตร์เรื่องนั้นเสร็จสมบูรณ์ เพื่อจะนำไปเผยแพร่ได้ โดยขั้นตอนในการทำนั้นมีดังนี้ \n</p>\n<p>\n                                               <img border=\"0\" width=\"263\" src=\"/files/u2699/124803440.jpg\" height=\"175\" /><br />\n        \n</p>\n<p>\n          1. การวางโครงเรื่อง (Storyboard) \n</p>\n<p>\n          2. การจัดเตรียมภาพยนตร์\n</p>\n<p>\n          3. ทำการตัดต่อภาพยนตร์ \n</p>\n<p>\n          4. การแปลงไฟล์ภาพยนตร์   <br />\n <br />\n       <br />\n         <strong><span style=\"color: #ff0000\"> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" />&gt;&gt; การวางโครงเรื่อง</span></strong><br />\n                เป็นการวางแผนว่าต้องการให้ภาพยนตร์ออกมาแนวใหน เรื่องราวมีลำดับเป็นอย่างไร ซึ่งเนื้อเรื่องทั้งหมดจะอ้างอิง<br />\n  จากบทภาพยนตร์เป็นหลัก หลังจากนั้นจะรวบรวมสิ่งที่คิดออกมาวางโครงเรื่องอย่างคร่าว ๆ แล้ววาดเป็นรูปร่างขึ้นมา โครงสร้างนี้<br />\n  เรียกว่า &quot; Storyboard&quot;  <br />\n        <strong><span style=\"color: #ff0000\">  <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" />&gt;&gt; การจัดเตรียมภาพยนตร์<br />\n</span></strong>                เป็นขั้นตอนต่อจากการวางโครงเรื่อง ซึ่งเราจะเตรียมไฟล์ภาพยนตร์ที่รวบรวมไว้หรือถ่ายทำเก็บไว้เป็นซ็อด ๆ มาประกอบกันเป็นเรื่องราวตาม Storyboard โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ วัน เวลาและข้อกำหนดอื่น ๆ ดังที่ตั้งไว้ <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><strong> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" />&gt;&gt; ทำการตัดต่อภาพยนตร์</strong></span><br />\n                เป็นการนำไฟล์ภาพยนตร์ที่เตรียมไว้มาตัดต่อและเพิ่มเทคนิคต่าง ๆ เข้าไป เช่น เทคนิคการเปลี่ยนฉาก เทคนิคการเร่งความเร็วให้ภาพยนตร์ ฯลฯ เพื่อให้ภาพยนตร์สมบูรณ์และเป็นไปตาม Storyboard ที่เตรียมไว้ก่อนหน้านี้ <br />\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>&gt;&gt; การแปลงไฟล์ภาพยนตร์เพื่อนำไปเผยแพร่<br />\n</strong></span>                ขั้นตอนสุดท้ายในการนำไฟล์ภาพยนตร์ที่ตัดต่อเสร็จแล้วมาแปลงเป็นไฟล์วิดีโอ จากนั้นนำไปบันทึกเป็นสื่อโทรทัศน์ ภาพยนตร์และคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปเผยแพร่ต่อไป\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><strong><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" />คำศัพท์ในโปรแกรม<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /></strong></span>\n</p>\n<p>\n          สำหรับโปรแกรม Premiere Pro 1.5 นั้น จะมีคำศัพท์เฉพาะที่เรียกองค์ประกอบในหน้าต่างการทำงานแต่ละหน้าต่าง ๆ รวมไปถึงส่วนย่อยที่เราจะพบบ่อย ๆ โดยคำศัพท์เหล่านี้มีดังต่อไปนี้คือ Project Window , Clip , Track , Frame , Sequence\n</p>\n<p>\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>โปรเจ็ก(Project)</strong></span> หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างขึ้นหรือกำลังตัดอยู่ เรียกไฟล์งานนั้นว่า โปรเจ็ก วึ่งจะครอบคุมชิ้นงาน  ของเรา\n</p>\n<p>\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>คลิป(Clip)</strong></span> หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ภาพ เสียงต่างๆ ที่เราทำการ import   เข้ามาใช้ในโปรเจ็ก โดยแต่ละไฟล์เรียกว่าคลิป   \n</p>\n<p>\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>แทร็ก (Track)</strong></span> หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึ่งแต่ละเลเยอร์เราเรียกว่า แทร็ก เช่น เลเยอร์ ของ Video 1 เราเรียกว่า แทร็กของ Video 1\n</p>\n<p>\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>เฟรม (Frame)</strong></span> หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บนหน้าต่าง Timelineซึ่งแต่ละช่องนี้แสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียงต่อกันไฟเรื่อยๆเหมือนกับฟิล์ทถ่ายหนัง\n</p>\n<p>\n         <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ซีเควนส์ (Sequence)</strong></span> หมายถึง ลำดับหรือฉากๆหนึ่งของภาพยนตร์ที่เรียงต่อกับเป็นเรื่อง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><strong> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" />ระบบวิดีโอในปัจจุบัน<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /></strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n        ระบบวิดีโอในปัจจุบันมีความสัมพันธ์กับการนำเอาไฟล์วิดีโอไปเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งไฟล์วิดีโอนั้นๆ จะเปิดกับโทรทัศน์ หรือเครื่องเล่นอื่นได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับการกำหนดค่าของระบบวิดีโอในขั้นตอนการตัดต่อด้วย โดยต้องกำหนดค่าในตรงกับระบบวิดีโอทั่วไปที่แต่ละประเทศเลือกใช้เท่านั้นในปัจจุบันนิยมใช้ 3 ระบบด้วยกันคือ  \n</p>\n<p>\n        <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ระบบ PAL</strong></span> <br />\n        เป็นระบบพื้นฐานที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวของภาพจะไม่ราบรื่นเท่ากับระบบอื่น โดยมีอัตราการแสดงผลภาพ เท่ากับ25 เฟรมต่อวินาที (fps) และใช้ขนาดของภาพที่ 720 x 576 Pixel ที่ค่า PAR (Pixel Aspect Ratio) 1 : 1.0667 นิยมใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปแอฟริกาใต้และเอชียบางประเทศซึ่งในประเทศไทยได้รับความนิยมเป็นหลัก\n</p>\n<p>\n        <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /><strong><span style=\"color: #ff0000\">ระบบ NTSC</span></strong> <br />\n        เป็นระบบที่มีความคมชัดสูงระบบ PAL ไม่ได้ แต่การเคลื่อนไหวของภาพนั้่ราบรื่นและสวยงามกว่าระบบระบบ PAL โดยมีอัตราการแสดงผลภาพ เท่ากับ 29.79 เฟรมต่อวินาทีนิยมใช้ในกลุ่มประเทศอเมริกาและญี่ปุ่น\n</p>\n<p>\n        <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ระบบ SECAM <br />\n</strong></span>        เป็นระบบที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวของภาพจะไม่ราบรื่อนเท่ากับระบบอื่น โดยมีอัตราการแสดงผลเท่ากับ 25 เฟรมต่อวินาทีนิยมใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปแอฟริกาใต้และเอชียบางประเทศซึ่งในประเทศไทยได้รับความนิยมเป็นหลัก\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #027ac6\">   <a href=\"http://elect.pcru.ac.th/users/premiere/index1.php\">http://elect.pcru.ac.th/users/premiere/index1.php</a></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715765670, expire = 1715852070, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8065c1d1428cb4da1fb2049f38afc518' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การตัดต่อภาพยนต์

Coolรู้จักกับการตัดต่อภาพยนต์Cool

          ความรู้เรื่องการสร้างภาพยนตร์ เป็นพื้นฐานแรกที่นักตัดต่อต้องทำความเข้าใจ เนื่องจากคำศัพท์และคุณสมบัติ รวมทั้ง
 กระบวนการบางอย่าง จะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจเลือกใช้โปรแกรมในการตัดต่อวิดีโอหรือภาพยนตร ์"
          การตัดต่อภาพยนตร์ คือการลำดับภาพจากภาพยนตร์ที่ถ่ายทำไว้ โดยนำแต่ละฉากมาเรียงกันตามโครงเรื่อง จากนั้นใช้เทคนิค
 การตัดต่อให้ภาพและเสียงมีความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกัน เพื่อให้ได้ภาพยนตร์ที่เต็มรูปแบบ ถือได้ว่าการตัดต่อภาพยนตร์เป็นขั้นตอนสำคัญอีกอย่างหนึ่งของการสร้างภาพยนตร์ก่อนการนำไปเผยแพร่ 
          ขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ในมุมมองของนักตัดต่อ ในความเป็นจริงขั้นตอนในการสร้างภาพยนตร์มีหลายขั้นตอนมาก แต่สำหรับมุมมองของนักตัดต่อแล้ว จะมองการสร้างภาพยนตร์ เป็นเพียงการนำไฟล์วิดีโอทั้งหมดหลังจากการถ่ายทำเข้ามาลำดับเรื่องราวแล้วนำมาตัดต่อให้ภาพยนตร์เรื่องนั้นเสร็จสมบูรณ์ เพื่อจะนำไปเผยแพร่ได้ โดยขั้นตอนในการทำนั้นมีดังนี้ 

                                               
        

          1. การวางโครงเรื่อง (Storyboard) 

          2. การจัดเตรียมภาพยนตร์

          3. ทำการตัดต่อภาพยนตร์ 

          4. การแปลงไฟล์ภาพยนตร์   
 
       
          Cool>> การวางโครงเรื่อง
                เป็นการวางแผนว่าต้องการให้ภาพยนตร์ออกมาแนวใหน เรื่องราวมีลำดับเป็นอย่างไร ซึ่งเนื้อเรื่องทั้งหมดจะอ้างอิง
  จากบทภาพยนตร์เป็นหลัก หลังจากนั้นจะรวบรวมสิ่งที่คิดออกมาวางโครงเรื่องอย่างคร่าว ๆ แล้ววาดเป็นรูปร่างขึ้นมา โครงสร้างนี้
  เรียกว่า " Storyboard"  
          Cool>> การจัดเตรียมภาพยนตร์
                เป็นขั้นตอนต่อจากการวางโครงเรื่อง ซึ่งเราจะเตรียมไฟล์ภาพยนตร์ที่รวบรวมไว้หรือถ่ายทำเก็บไว้เป็นซ็อด ๆ มาประกอบกันเป็นเรื่องราวตาม Storyboard โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ วัน เวลาและข้อกำหนดอื่น ๆ ดังที่ตั้งไว้ 
         Cool>> ทำการตัดต่อภาพยนตร์
                เป็นการนำไฟล์ภาพยนตร์ที่เตรียมไว้มาตัดต่อและเพิ่มเทคนิคต่าง ๆ เข้าไป เช่น เทคนิคการเปลี่ยนฉาก เทคนิคการเร่งความเร็วให้ภาพยนตร์ ฯลฯ เพื่อให้ภาพยนตร์สมบูรณ์และเป็นไปตาม Storyboard ที่เตรียมไว้ก่อนหน้านี้ 
         Cool>> การแปลงไฟล์ภาพยนตร์เพื่อนำไปเผยแพร่
                ขั้นตอนสุดท้ายในการนำไฟล์ภาพยนตร์ที่ตัดต่อเสร็จแล้วมาแปลงเป็นไฟล์วิดีโอ จากนั้นนำไปบันทึกเป็นสื่อโทรทัศน์ ภาพยนตร์และคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปเผยแพร่ต่อไป

Kissคำศัพท์ในโปรแกรมKiss

          สำหรับโปรแกรม Premiere Pro 1.5 นั้น จะมีคำศัพท์เฉพาะที่เรียกองค์ประกอบในหน้าต่างการทำงานแต่ละหน้าต่าง ๆ รวมไปถึงส่วนย่อยที่เราจะพบบ่อย ๆ โดยคำศัพท์เหล่านี้มีดังต่อไปนี้คือ Project Window , Clip , Track , Frame , Sequence

         Kissโปรเจ็ก(Project) หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างขึ้นหรือกำลังตัดอยู่ เรียกไฟล์งานนั้นว่า โปรเจ็ก วึ่งจะครอบคุมชิ้นงาน  ของเรา

         Kissคลิป(Clip) หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ภาพ เสียงต่างๆ ที่เราทำการ import   เข้ามาใช้ในโปรเจ็ก โดยแต่ละไฟล์เรียกว่าคลิป   

         Kissแทร็ก (Track) หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline ซึ่งแต่ละเลเยอร์เราเรียกว่า แทร็ก เช่น เลเยอร์ ของ Video 1 เราเรียกว่า แทร็กของ Video 1

         Kissเฟรม (Frame) หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่บนหน้าต่าง Timelineซึ่งแต่ละช่องนี้แสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียงต่อกันไฟเรื่อยๆเหมือนกับฟิล์ทถ่ายหนัง

         Kissซีเควนส์ (Sequence) หมายถึง ลำดับหรือฉากๆหนึ่งของภาพยนตร์ที่เรียงต่อกับเป็นเรื่อง

 WinkระบบวิดีโอในปัจจุบันWink


        ระบบวิดีโอในปัจจุบันมีความสัมพันธ์กับการนำเอาไฟล์วิดีโอไปเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งไฟล์วิดีโอนั้นๆ จะเปิดกับโทรทัศน์ หรือเครื่องเล่นอื่นได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับการกำหนดค่าของระบบวิดีโอในขั้นตอนการตัดต่อด้วย โดยต้องกำหนดค่าในตรงกับระบบวิดีโอทั่วไปที่แต่ละประเทศเลือกใช้เท่านั้นในปัจจุบันนิยมใช้ 3 ระบบด้วยกันคือ  

        Winkระบบ PAL
        เป็นระบบพื้นฐานที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวของภาพจะไม่ราบรื่นเท่ากับระบบอื่น โดยมีอัตราการแสดงผลภาพ เท่ากับ25 เฟรมต่อวินาที (fps) และใช้ขนาดของภาพที่ 720 x 576 Pixel ที่ค่า PAR (Pixel Aspect Ratio) 1 : 1.0667 นิยมใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปแอฟริกาใต้และเอชียบางประเทศซึ่งในประเทศไทยได้รับความนิยมเป็นหลัก

        Winkระบบ NTSC
        เป็นระบบที่มีความคมชัดสูงระบบ PAL ไม่ได้ แต่การเคลื่อนไหวของภาพนั้่ราบรื่นและสวยงามกว่าระบบระบบ PAL โดยมีอัตราการแสดงผลภาพ เท่ากับ 29.79 เฟรมต่อวินาทีนิยมใช้ในกลุ่มประเทศอเมริกาและญี่ปุ่น

        Winkระบบ SECAM
        เป็นระบบที่มีความคมชัดสูง แต่การเคลื่อนไหวของภาพจะไม่ราบรื่อนเท่ากับระบบอื่น โดยมีอัตราการแสดงผลเท่ากับ 25 เฟรมต่อวินาทีนิยมใช้ในกลุ่มประเทศยุโรปแอฟริกาใต้และเอชียบางประเทศซึ่งในประเทศไทยได้รับความนิยมเป็นหลัก

แหล่งที่มา

         http://elect.pcru.ac.th/users/premiere/index1.php

 

สร้างโดย: 
ครูวราชัย ปรีชล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 380 คน กำลังออนไลน์