• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c3e094081b7396b4250e022cdf92630f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff0000;\">ฮิโรชิมา&nbsp; มหาระเบิดปรมาณูสะท้านโลก</span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;เรื่องราวของการใช้อาวุธทำลายล้างมวลชนครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เป้าหมายคือจักรวรรดิญี่ปุ่น วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ระเบิดที่ไม่เหมือนลูกไหนๆ ได้หล่นลงมาจากท้องฟ้าเหนือเมืองฮิโรชิมา&nbsp; ระเบิดลูกนี้ได้รับการออกแบบโดยนักวิทยาศาสตร์ชั้นยอดของโลกและการนำมันมาใช้คือการตัดสินใจทางการเมืองครั้งสำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์โลก&nbsp; เรื่องราวของลูกเรือบนเครื่องบินที่ปฏิบัติภารกิจลับในการทิ้งระเบิดที่ทำให้เมืองฮิโรชิมาทั้งเมืองต้องพังพินาศภายในไม่กี่วินาที&nbsp; ระเบิดลูกนั้นช่วยยุติสงครามโลกครั้งที่สอง และเป็นจุดเริ่มต้นบทใหม่ของประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ย้อนหลังไปเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ที่ศูนย์วิจัยลับสุดยอดในลอส-อลามอส รัฐนิวเม็กซิโก ระเบิดชนิดใหม่ถูกนำไปใส่ในรถบรรทุกติดอาวุธเต็มอัตราศึก นี่คือจุดเริ่มต้นของการเดินทางซึ่งจะไปสิ้นสุดลงที่ฮิโรชิมา ระเบิดลูกนี้เป็นผลผลิตจากการวิจัยเป็นเวลาสามปี และใช้เงินในการพัฒนาไปถึงสองพันล้านเหรียญสหรัฐ แต่ยังไม่เคยมีการทดสอบเลยแม้แต่ครั้งเดียว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ที่อลามากอร์โด รัฐนิวเม็กซิโก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การทดสอบก็มาถึง กลางทะเลทรายของรัฐนิวเม็กซิโก บรรดานักวิทยาศาสตร์และทหารในโครงการแมนฮัตตันได้มารวมตัวกันเพื่อทดสอบการระเบิดของระเบิดปรมาณูเป็นครั้งแรก การระเบิดครั้งนี้ทำให้หอคอยสเตนเลสสตีลที่รองรับลูกระเบิดถึงกับระเหยกลายเป็นไอ ความร้อนอันแรงกล้าทำให้ทรายในทะเลทรายหลอมละลาย กลายเป็นแก้วปกคลุมไปทั่วบริเวณ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แรงระเบิดประมาณได้ว่ารุนแรงเท่าระเบิดไดนาไมต์ 67 ล้านแท่ง เดิมทีอเมริกาตั้งใจจะใช้ระเบิดนี้กับนาซีเยอรมัน แต่เวลานี้ผู้ทำระเบิดมีเป้าหมายอื่นอยู่ในใจ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1945 สงครามในยุโรปสิ้นสุดลงแล้ว นาซีเยอรมันพ่ายแพ้ไปแล้ว แต่ในแถบมหาสมุทรแปซิฟิก สงครามกับญี่ปุ่นยังคงดำเนินไปอย่างดุเดือด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจากการโจมตีแบบไม่ทันให้ตั้งตัวที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ กองกำลังอเมริกาก็ได้ต่อสู้ฟันฝ่าเพื่อชิงดินแดนในแถบแปซิฟิกคืนทีละเกาะๆ แต่ทัพหลักของญี่ปุ่นยังคงไม่บุบสลายและไม่เคยแพ้ อเมริกาเคยลองใช้ระเบิดเพลิงเพื่อทำให้ญี่ปุ่นยอมแพ้ เมืองแล้วเมืองเล่ากลายเป็นซากปรักหักพัง แต่ฝ่ายญี่ปุ่นก็ยังไม่ยอมจำนน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ดังนั้น เวลานี้ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงมีแนวโน้มที่จะต้องบุกอย่างเต็มอัตรา โดยที่บางคนประมาณการว่าพวกเขาอาจต้องเผชิญกับความสูญเสียมากมาย ทหารอาจบาดเจ็บล้มตายถึงหนึ่งล้านนาย และฝ่ายญี่ปุ่นก็ต้องสูญเสียมากกว่านั้นเยอะ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ญี่ปุ่นสมัยนั้น จักรพรรดิคือประมุขของประเทศ และยังเป็นเทพที่มีชีวิต แต่อำนาจอยู่ที่คณะที่ปรึกษาพิเศษซึ่งกำกับกิจการสงคราม นายกรัฐมนตรีซูซูกิและรัฐมนตรีต่างประเทศโทโกกำลังพิจารณาว่าจะยุติสงครามตามที่มีการเจรจาต่อรอง แต่รัฐมนตรีกองทัพ นายพลโคเรชิกะ อานามิ ยังมุ่งมั่นที่จะสู้ต่อไป แผนของอานามิคือการสู้รบขั้นแตกหักเต็มอัตราศึก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อเมริกาได้ถอดรหัสลับของญี่ปุ่น จึงทราบดีว่า การเรียกร้องให้ยอมจำนนอย่างสิ้นเชิงโดยไม่มีเงื่อนไขจะถูกฝ่ายญี่ปุ่นมองว่าเป็นการคุกคามองค์จักรพรรดิ ดังนั้นพวกเขาจึงตัดสินใจเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข และเสนอทางออกแก่ฝ่ายญี่ปุ่น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<span style=\"color: #ff0000;\">&nbsp;&nbsp; วันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คำขาดที่ผ่านการแก้ไขแล้วได้ถูกส่งไปยังญี่ปุ่นทางคลื่นวิทยุ แต่ดูเหมือนเงื่อนไขการยอมจำนนที่อ่อนลงนี้จะก่อให้เกิดผลในทางตรงกันข้าม นายกรัฐมนตรีซูซูกิประกาศว่ารัฐบาลของเขาจะไม่สนใจแถลงการพ็อทสแดม เขาใช้คำว่า \"โมกุซัทสึ\" ซึ่งแปลว่าการฆ่าโดยไม่แยแส และนับจากวินาทีนั้น การทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมาจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระเบิดเดินทางจากซานฟรานซิสโกโดยเรือ ยูเอสเอส อินเดียนาโปลิส ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นเวลาสิบวัน จนไปถึงเกาะทิเนียน จากจุดนั้นจะใช้เวลาบินไปถึงญี่ปุ่นเพียงหกชั่วโมงเท่านั้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เกาะทิเนียน คือฐานทัพอากาศใหญ่ที่สุดในโลก มีรันเวย์ขนาดใหญ่ 4 รันเวย์ เป็นที่เก็บเครื่องบิน บี-29 ซูเปอร์ฟอร์ทเตรส กว่า 500 ลำ และยังเป็นที่มั่นของหน่วยผสมที่ 509 กลุ่มคนที่จะทิ้งระเบิดปรมาณูใส่ญี่ปุ่น หัวหน้าหน่วยแห่งนี้คือ นาวาเอกพอล ทิบเบ็ตส์ ซึ่งมีประสบการณ์โชกโชนในการทิ้งระเบิดต่อสู้กับเยอรมัน เขามีลูกเรือคนสำคัญสองคนคือพลเล็งเป้า ทอม เฟอเรอบี และต้นหน ดัทช์ ฟาน เคิร์ค</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เย็นวันที่ 4 สิงหาคม 1945 พอล ทิบเบ็ตส์เรียกคนของเขามาประชุมกัน ภารกิจการทิ้งระเบิดถูกกำหนดไว้สำหรับคืนต่อไป วันที่เมฆเหนือประเทศญี่ปุ่นมีทีท่าว่าจะปลอดโปร่ง แต่เช้าตรู่ของวันรุ่งขึ้นบรรดาลูกเรือบนเกาะทิเนียนต้องตื่นขึ้นมาเพราะเสียงดังสนั่น เครื่องบินบี-29 ตกที่รันเวย์อีกครั้ง เครื่องบินตกครั้งนี้ทำให้ พอล ทิบเบ็ตส์ ในฐานะผู้บัญชาการ ตัดสินใจที่จะขับเครื่องบินโจมตีลำนี้เอง และเขาเลือกชื่อของเครื่องบินตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมา</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คืนนั้น ในช่วงนาทีสุดท้ายก่อนออกเดินทาง มีการสรุปภารกิจให้ลูกเรือทุกคนที่กำลังจะมุ่งหน้าไปฮิโรชิมาฟังเป็นครั้งสุดท้าย ภารกิจนี้เป็นความลับมาก ทิบเบ็ตส์ได้รับยาเม็ดฆ่าตัวตายไว้ใช้ในกรณีที่พวกเขาถูกฝ่ายญี่ปุ่นจับได้ เจ้าหน้าที่ถ่ายภาพนิ่งและภาพยนตร์ได้รับคำสั่งให้บันทึกภารกิจประวัติศาสตร์ครั้งนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระเบิดลูกนี้หนักกว่าสี่ตัน ทำให้การทะยานขึ้นมีอันตรายมากกว่าปกติ หลังจากทะยานขึ้นไป 15 นาที ขณะที่เครื่องบินยังอยู่ในระดับต่ำ พาร์สันส์ก็พร้อมแล้วที่จะประกอบระเบิด พวกเขารู้ว่าความผิดพลาดเพียงครั้งเดียวอาจทำให้ภารกิจทั้งหมดล้มเหลวได้ สองชั่วโมงต่อมา เครื่องบิน อีโนล่า เกย์ สมทบกับเครื่องบินบันทึกภาพและข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เวลานี้เครื่องบินทั้งหมดอยู่ห่างจากฮิโรชิมาราวสามชั่วโมง</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<span style=\"color: #ff0000;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 เมืองฮิโรชิมา</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เครื่องบินบี 29 อีกลำหนึ่งได้บินอยู่เหนือเมืองฮิโรชิมาเพื่อตรวจสอบสภาพอากาศ ทำให้ประชาชนตื่นกลัวและหลบอยู่ในที่กำบัง เครื่องบินตรวจสอบสภาพอากาศรายงานผลไปยัง อีโนล่า เกย์ และเมื่อเครื่องบินตรวจสอบอากาศบินเลยไปโดยไม่มีการโจมตี ช่วงนั้นดูเหมือนภัยคุกคามจะผ่านไปแล้ว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แต่ต่อมาไม่นานเครื่องบิน อีโนล่า เกย์ ก็บินอยู่เหนือน่านฟ้าฮิโรชิมา ระเบิดลูกประวัติศาสตร์ถูกปล่อยออกมา หลังจากหล่นลงมา 43 วินาที กลไกที่ทำงานตามเวลาและแรงดันอากาศก็เริ่มกระบวนการจุดระเบิด กระสุนยูเรเนียมถูกยิงไปตามลำกล้องเข้าใส่ยูเรเนียมที่เป็นเป้าหมาย ยูเรเนียมทั้งสองเริ่มทำปฏิกิริยาลูกโซ่ อณูของแข็งเริ่มแตกตัวและปล่อยพลังงานออกมาในปริมาณมหาศาล</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระเบิดปล่อยอานุภาพทำลายล้างออกมาทีละขั้น ประกายไฟที่ออกมาจากลูกไฟยักษ์ที่กว้างถึง 300 เมตร ทำให้อุณหภูมิที่อยู่ด้านล่างลูกไฟนั้นสูงถึง 4,000 องศาเซลเซียส รังสีความร้อนหลอมละลายทุกอย่างที่อยู่ในที่โล่งถ้าไม่ระเหยกลายเป็นไอ ก็กลายเป็นเถ้าถ่านไปในทันที ปฏิบัติการของทหารอเมริกันครั้งนั้นคร่าชีวิตคนไปราว 200,000 คน และเป็นการยุติสงครามโดยสิ้นเชิง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วันที่ 6 สิงหาคม ของทุกปี ที่เมืองฮิโรชิมาจะมีพิธีรำลึกสิ่งที่เกิดขึ้นในวันนั้น เพื่อให้แน่ใจว่าเหตุการณ์เหล่านี้จะไม่ถูกลืมและไม่เกิดขึ้นซ้ำสอง และเมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า เทียนนับพันๆ เล่มจะถูกจุดขึ้น และปล่อยให้ลอยไปตามสายน้ำ เทียนแต่ละเล่มแทนดวงวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตจากระเบิดปรมาณูลูกนี้</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>สร้างโดย&nbsp; กัญญามาศ เฮงษฎีกุล&nbsp; โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย</p>\n<p><a href=\"http://www.artsmen.net/content/show.php?Category=mythboard&amp;No=4374\">http://www.artsmen.net/content/show.php?Category=mythboard&amp;No=4374</a></p>\n', created = 1715254723, expire = 1715341123, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c3e094081b7396b4250e022cdf92630f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮิโรชิมา มหาระเบิดปรมาณูสะท้านโลก

ฮิโรชิมา  มหาระเบิดปรมาณูสะท้านโลก

 

 เรื่องราวของการใช้อาวุธทำลายล้างมวลชนครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เป้าหมายคือจักรวรรดิญี่ปุ่น วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ระเบิดที่ไม่เหมือนลูกไหนๆ ได้หล่นลงมาจากท้องฟ้าเหนือเมืองฮิโรชิมา  ระเบิดลูกนี้ได้รับการออกแบบโดยนักวิทยาศาสตร์ชั้นยอดของโลกและการนำมันมาใช้คือการตัดสินใจทางการเมืองครั้งสำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์โลก  เรื่องราวของลูกเรือบนเครื่องบินที่ปฏิบัติภารกิจลับในการทิ้งระเบิดที่ทำให้เมืองฮิโรชิมาทั้งเมืองต้องพังพินาศภายในไม่กี่วินาที  ระเบิดลูกนั้นช่วยยุติสงครามโลกครั้งที่สอง และเป็นจุดเริ่มต้นบทใหม่ของประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ

                ย้อนหลังไปเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ที่ศูนย์วิจัยลับสุดยอดในลอส-อลามอส รัฐนิวเม็กซิโก ระเบิดชนิดใหม่ถูกนำไปใส่ในรถบรรทุกติดอาวุธเต็มอัตราศึก นี่คือจุดเริ่มต้นของการเดินทางซึ่งจะไปสิ้นสุดลงที่ฮิโรชิมา ระเบิดลูกนี้เป็นผลผลิตจากการวิจัยเป็นเวลาสามปี และใช้เงินในการพัฒนาไปถึงสองพันล้านเหรียญสหรัฐ แต่ยังไม่เคยมีการทดสอบเลยแม้แต่ครั้งเดียว

                16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ที่อลามากอร์โด รัฐนิวเม็กซิโก

                การทดสอบก็มาถึง กลางทะเลทรายของรัฐนิวเม็กซิโก บรรดานักวิทยาศาสตร์และทหารในโครงการแมนฮัตตันได้มารวมตัวกันเพื่อทดสอบการระเบิดของระเบิดปรมาณูเป็นครั้งแรก การระเบิดครั้งนี้ทำให้หอคอยสเตนเลสสตีลที่รองรับลูกระเบิดถึงกับระเหยกลายเป็นไอ ความร้อนอันแรงกล้าทำให้ทรายในทะเลทรายหลอมละลาย กลายเป็นแก้วปกคลุมไปทั่วบริเวณ

                แรงระเบิดประมาณได้ว่ารุนแรงเท่าระเบิดไดนาไมต์ 67 ล้านแท่ง เดิมทีอเมริกาตั้งใจจะใช้ระเบิดนี้กับนาซีเยอรมัน แต่เวลานี้ผู้ทำระเบิดมีเป้าหมายอื่นอยู่ในใจ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1945 สงครามในยุโรปสิ้นสุดลงแล้ว นาซีเยอรมันพ่ายแพ้ไปแล้ว แต่ในแถบมหาสมุทรแปซิฟิก สงครามกับญี่ปุ่นยังคงดำเนินไปอย่างดุเดือด

                หลังจากการโจมตีแบบไม่ทันให้ตั้งตัวที่เพิร์ลฮาร์เบอร์ กองกำลังอเมริกาก็ได้ต่อสู้ฟันฝ่าเพื่อชิงดินแดนในแถบแปซิฟิกคืนทีละเกาะๆ แต่ทัพหลักของญี่ปุ่นยังคงไม่บุบสลายและไม่เคยแพ้ อเมริกาเคยลองใช้ระเบิดเพลิงเพื่อทำให้ญี่ปุ่นยอมแพ้ เมืองแล้วเมืองเล่ากลายเป็นซากปรักหักพัง แต่ฝ่ายญี่ปุ่นก็ยังไม่ยอมจำนน

                ดังนั้น เวลานี้ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงมีแนวโน้มที่จะต้องบุกอย่างเต็มอัตรา โดยที่บางคนประมาณการว่าพวกเขาอาจต้องเผชิญกับความสูญเสียมากมาย ทหารอาจบาดเจ็บล้มตายถึงหนึ่งล้านนาย และฝ่ายญี่ปุ่นก็ต้องสูญเสียมากกว่านั้นเยอะ

                ญี่ปุ่นสมัยนั้น จักรพรรดิคือประมุขของประเทศ และยังเป็นเทพที่มีชีวิต แต่อำนาจอยู่ที่คณะที่ปรึกษาพิเศษซึ่งกำกับกิจการสงคราม นายกรัฐมนตรีซูซูกิและรัฐมนตรีต่างประเทศโทโกกำลังพิจารณาว่าจะยุติสงครามตามที่มีการเจรจาต่อรอง แต่รัฐมนตรีกองทัพ นายพลโคเรชิกะ อานามิ ยังมุ่งมั่นที่จะสู้ต่อไป แผนของอานามิคือการสู้รบขั้นแตกหักเต็มอัตราศึก

                อเมริกาได้ถอดรหัสลับของญี่ปุ่น จึงทราบดีว่า การเรียกร้องให้ยอมจำนนอย่างสิ้นเชิงโดยไม่มีเงื่อนไขจะถูกฝ่ายญี่ปุ่นมองว่าเป็นการคุกคามองค์จักรพรรดิ ดังนั้นพวกเขาจึงตัดสินใจเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข และเสนอทางออกแก่ฝ่ายญี่ปุ่น

                วันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945

                คำขาดที่ผ่านการแก้ไขแล้วได้ถูกส่งไปยังญี่ปุ่นทางคลื่นวิทยุ แต่ดูเหมือนเงื่อนไขการยอมจำนนที่อ่อนลงนี้จะก่อให้เกิดผลในทางตรงกันข้าม นายกรัฐมนตรีซูซูกิประกาศว่ารัฐบาลของเขาจะไม่สนใจแถลงการพ็อทสแดม เขาใช้คำว่า "โมกุซัทสึ" ซึ่งแปลว่าการฆ่าโดยไม่แยแส และนับจากวินาทีนั้น การทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมาจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

                ระเบิดเดินทางจากซานฟรานซิสโกโดยเรือ ยูเอสเอส อินเดียนาโปลิส ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นเวลาสิบวัน จนไปถึงเกาะทิเนียน จากจุดนั้นจะใช้เวลาบินไปถึงญี่ปุ่นเพียงหกชั่วโมงเท่านั้น

                เกาะทิเนียน คือฐานทัพอากาศใหญ่ที่สุดในโลก มีรันเวย์ขนาดใหญ่ 4 รันเวย์ เป็นที่เก็บเครื่องบิน บี-29 ซูเปอร์ฟอร์ทเตรส กว่า 500 ลำ และยังเป็นที่มั่นของหน่วยผสมที่ 509 กลุ่มคนที่จะทิ้งระเบิดปรมาณูใส่ญี่ปุ่น หัวหน้าหน่วยแห่งนี้คือ นาวาเอกพอล ทิบเบ็ตส์ ซึ่งมีประสบการณ์โชกโชนในการทิ้งระเบิดต่อสู้กับเยอรมัน เขามีลูกเรือคนสำคัญสองคนคือพลเล็งเป้า ทอม เฟอเรอบี และต้นหน ดัทช์ ฟาน เคิร์ค

                เย็นวันที่ 4 สิงหาคม 1945 พอล ทิบเบ็ตส์เรียกคนของเขามาประชุมกัน ภารกิจการทิ้งระเบิดถูกกำหนดไว้สำหรับคืนต่อไป วันที่เมฆเหนือประเทศญี่ปุ่นมีทีท่าว่าจะปลอดโปร่ง แต่เช้าตรู่ของวันรุ่งขึ้นบรรดาลูกเรือบนเกาะทิเนียนต้องตื่นขึ้นมาเพราะเสียงดังสนั่น เครื่องบินบี-29 ตกที่รันเวย์อีกครั้ง เครื่องบินตกครั้งนี้ทำให้ พอล ทิบเบ็ตส์ ในฐานะผู้บัญชาการ ตัดสินใจที่จะขับเครื่องบินโจมตีลำนี้เอง และเขาเลือกชื่อของเครื่องบินตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมา

                คืนนั้น ในช่วงนาทีสุดท้ายก่อนออกเดินทาง มีการสรุปภารกิจให้ลูกเรือทุกคนที่กำลังจะมุ่งหน้าไปฮิโรชิมาฟังเป็นครั้งสุดท้าย ภารกิจนี้เป็นความลับมาก ทิบเบ็ตส์ได้รับยาเม็ดฆ่าตัวตายไว้ใช้ในกรณีที่พวกเขาถูกฝ่ายญี่ปุ่นจับได้ เจ้าหน้าที่ถ่ายภาพนิ่งและภาพยนตร์ได้รับคำสั่งให้บันทึกภารกิจประวัติศาสตร์ครั้งนี้

                ระเบิดลูกนี้หนักกว่าสี่ตัน ทำให้การทะยานขึ้นมีอันตรายมากกว่าปกติ หลังจากทะยานขึ้นไป 15 นาที ขณะที่เครื่องบินยังอยู่ในระดับต่ำ พาร์สันส์ก็พร้อมแล้วที่จะประกอบระเบิด พวกเขารู้ว่าความผิดพลาดเพียงครั้งเดียวอาจทำให้ภารกิจทั้งหมดล้มเหลวได้ สองชั่วโมงต่อมา เครื่องบิน อีโนล่า เกย์ สมทบกับเครื่องบินบันทึกภาพและข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เวลานี้เครื่องบินทั้งหมดอยู่ห่างจากฮิโรชิมาราวสามชั่วโมง

 

                6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 เมืองฮิโรชิมา

                เครื่องบินบี 29 อีกลำหนึ่งได้บินอยู่เหนือเมืองฮิโรชิมาเพื่อตรวจสอบสภาพอากาศ ทำให้ประชาชนตื่นกลัวและหลบอยู่ในที่กำบัง เครื่องบินตรวจสอบสภาพอากาศรายงานผลไปยัง อีโนล่า เกย์ และเมื่อเครื่องบินตรวจสอบอากาศบินเลยไปโดยไม่มีการโจมตี ช่วงนั้นดูเหมือนภัยคุกคามจะผ่านไปแล้ว

                แต่ต่อมาไม่นานเครื่องบิน อีโนล่า เกย์ ก็บินอยู่เหนือน่านฟ้าฮิโรชิมา ระเบิดลูกประวัติศาสตร์ถูกปล่อยออกมา หลังจากหล่นลงมา 43 วินาที กลไกที่ทำงานตามเวลาและแรงดันอากาศก็เริ่มกระบวนการจุดระเบิด กระสุนยูเรเนียมถูกยิงไปตามลำกล้องเข้าใส่ยูเรเนียมที่เป็นเป้าหมาย ยูเรเนียมทั้งสองเริ่มทำปฏิกิริยาลูกโซ่ อณูของแข็งเริ่มแตกตัวและปล่อยพลังงานออกมาในปริมาณมหาศาล

                ระเบิดปล่อยอานุภาพทำลายล้างออกมาทีละขั้น ประกายไฟที่ออกมาจากลูกไฟยักษ์ที่กว้างถึง 300 เมตร ทำให้อุณหภูมิที่อยู่ด้านล่างลูกไฟนั้นสูงถึง 4,000 องศาเซลเซียส รังสีความร้อนหลอมละลายทุกอย่างที่อยู่ในที่โล่งถ้าไม่ระเหยกลายเป็นไอ ก็กลายเป็นเถ้าถ่านไปในทันที ปฏิบัติการของทหารอเมริกันครั้งนั้นคร่าชีวิตคนไปราว 200,000 คน และเป็นการยุติสงครามโดยสิ้นเชิง

                วันที่ 6 สิงหาคม ของทุกปี ที่เมืองฮิโรชิมาจะมีพิธีรำลึกสิ่งที่เกิดขึ้นในวันนั้น เพื่อให้แน่ใจว่าเหตุการณ์เหล่านี้จะไม่ถูกลืมและไม่เกิดขึ้นซ้ำสอง และเมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า เทียนนับพันๆ เล่มจะถูกจุดขึ้น และปล่อยให้ลอยไปตามสายน้ำ เทียนแต่ละเล่มแทนดวงวิญญาณของผู้ที่เสียชีวิตจากระเบิดปรมาณูลูกนี้

 

 

สร้างโดย  กัญญามาศ เฮงษฎีกุล  โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

http://www.artsmen.net/content/show.php?Category=mythboard&No=4374

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์