• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f654eb3bc87a44092c3cf756b22c1f87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<br />\n<span style=\"color: #800000\">5  ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์</span>\n</p>\n<p>\n   เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง  ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน  เรียกว่า  อินเทอร์เน็ต   ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต  ดังนั้น  อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง  ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน <br />\n     <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">5.1  อินเทอร์เน็ต</span> <br />\n     อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512  โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำในสหรัฐฯ  เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย  และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน  ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า  อาร์ปาเน็ต  และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง  เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน  โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า   ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)  ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก        เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย  หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา  และนำมาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส  ซึ่งอินเทอร์เน็ต กำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย  ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์  เช่น  รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108  ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา  เช่น  2.71  เมื่อเขียนรวมกันจะได้  158.108.2.71      เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข  เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน  เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ  ku.ac.th  โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา  และ ku  หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง  ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย  เช่น  nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะเป็น  nontri.ku.ac.th  การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข      เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  ทำให้โลกไร้พรมแดน  ข้อมูล  ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว  ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา <br />\n<span style=\"color: #008080\">1.  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์</span> <br />\n     เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์  ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร   แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส  ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว  ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน  เช่น  <a href=\"mailto:sombat@nontri.ku.ac.th\">sombat@nontri.ku.ac.th</a>  การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้  จะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ   และนำส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email)  กำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย <br />\n<span style=\"color: #008080\">2.  การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน</span> <br />\n     เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ  และให้บริการ  ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้<br />\n<span style=\"color: #008080\">3.  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล</span><br />\n     การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย  ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้    ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย  โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง <br />\n<span style=\"color: #008080\">4.  การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร</span> <br />\n     ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก  ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน  หรือนำมาพิมพ์  ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้  ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW)  เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก <br />\n<span style=\"color: #008080\">5.  การอ่านจากกลุ่มข่าว</span> <br />\n     ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ  แยกตามความสนใจ  แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้  และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้  กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว <br />\n<span style=\"color: #008080\">6.  การสนทนาบนเครือข่าย <br />\n</span>               เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง   ในการติดต่อสนทนากันได้  ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้     ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้ <br />\n<span style=\"color: #008080\">7.  การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย</span> <br />\n     ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี  ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ  ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย <br />\n   <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">5.2  อินทราเน็ต <br />\n</span>     เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย  จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร   โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า  เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ  สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้   เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแหล่งข้อมูล\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/lesson7.htm\">http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/lesson7.htm</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/network.htm\">http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/network.htm</a>\n</p>\n', created = 1729229580, expire = 1729315980, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f654eb3bc87a44092c3cf756b22c1f87' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครือข่ายคอมพิวเตอร์


5  ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

   เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาโดยเฉพาะมีการประยุกต์ใช้งานบนเครือข่ายอย่างกว้างขวาง  ทำให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน  เรียกว่า  อินเทอร์เน็ต   ขณะเดียวกันในองค์กรแต่ละองค์กร ก็มีการพัฒนาเครือข่ายของตนเองและประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะในองค์กร เรียกว่าอินทราเน็ต  ดังนั้น  อินเทอร์เน็ตจึง แตกต่างจากอินทราเน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง  ส่วนมาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงยังคงเป็นมาตรฐานเดียวกัน 
    
5.1  อินเทอร์เน็ต
     อินเทอร์เน็ตพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512  โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำในสหรัฐฯ  เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย  และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัย เกี่ยวกับการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ร่วมกัน  ซึ่งสมัยแรกใช้ชื่อว่า  อาร์ปาเน็ต  และจึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น อินเทอร์เน็ตในภายหลัง  เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน  โดยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า   ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)  ต่อมามีการเชื่อมเครือข่ายออกสู่องค์กรเอกชน และแพร่ขยายไปทั่วโลก        เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย  หมายความว่าในองค์กรได้สร้างเครือข่ายภายในตนเองขึ้นมา  และนำมาเชื่อมต่อสู่เครือข่าย สากลอินเทอร์เน็ตนี้ โดยมีการกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส  ซึ่งอินเทอร์เน็ต กำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย  ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นเป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์  เช่น  รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้รหัส 158.108  ส่วนรหัสของเครื่องจะมีอีกสองพิกัดตามมา  เช่น  2.71  เมื่อเขียนรวมกันจะได้  158.108.2.71      เพื่อให้จดจำได้ง่ายจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข  เราเรียกชื่อนี้ว่า โดเมน  เช่นโดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก็ ใช้ชื่อ  ku.ac.th  โดย th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา  และ ku  หมายถึง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   และถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่อง  ก็ให้มีการตั้งชื่อเครื่องด้วย  เช่น  nontri เมื่อมีการเรียกรวมกันก็ จะเป็น  nontri.ku.ac.th  การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานง่ายกว่าตัวเลข      เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  ทำให้โลกไร้พรมแดน  ข้อมูล  ข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อถึงได้อย่าง รวดเร็ว  ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างที่แพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น แต่ยังมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา
1.  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
     เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์  ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร   แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่า แอดเดรส  ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว  ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกัน  เช่น  sombat@nontri.ku.ac.th  การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้  จะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ   และนำส่งไปปลายทางได้อย่างถูกต้อง  การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email)  กำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
2.  การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน
     เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ  และให้บริการ  ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
3.  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล
     การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย  ทำให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้    ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย  โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง
4.  การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร
     ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก  ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอ่าน  หรือนำมาพิมพ์  ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้  ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW)  เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก
5.  การอ่านจากกลุ่มข่าว
     ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ  แยกตามความสนใจ  แต่ละกลุ่มข่าว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้  และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้  กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว
6.  การสนทนาบนเครือข่าย
               เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง   ในการติดต่อสนทนากันได้  ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ ต่อมา พัฒนาให้ใช้เสียงได้     ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันและกันบนจอภาพได้
7.  การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย
     ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี  ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ  ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือข่ายด้วย 
  
5.2  อินทราเน็ต
     เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลาย  จึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์กร   โดยนำวิธีการในอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้กับเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า  เครือข่ายอินทราเน็ต      การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ  สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้   เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต 

 

แหล่งข้อมูล

http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/lesson7.htm

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/network.htm

สร้างโดย: 
ครูพรทิพย์ ทานะมัย โรงเรียนบ้านหมี่วิทยา อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 500 คน กำลังออนไลน์