• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:46417dc8a2d8eeac1bff4fd9b852a37a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u1980/02.gif\" border=\"0\" width=\"280\" height=\"84\" />\n</div>\n<p>\n<b>       ๓) ประโยคความซ้อน</b>\n</p>\n<p>\n<b>   ประโยคความซ้อน</b> คือ ประโยคที่มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วยประโยคความเดียวที่มีใจความสำคัญเป็น<b>ประโยคหลัก</b> (มุขยประโยค) และมีประโยคความเดียวที่มีใจความเป็นส่วนขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคหลัก เป็น<b>ประโยคย่อยซ้อนอยู่ในประโยคหลัก</b> <b>(อนุประโยค)</b> โดยทำหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก ประโยคความซ้อนนี้เดิทเรียกว่า สังกรประโยค\n</p>\n<p>\n<b>    อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี ๓ ชนิด ทำหน้าที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้<br />\n</b>                <br />\n<b>         ๓.๑) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่แทนนาม (นามมานุประโยค)</b> อาจใช้เป็นบทประธานหรือ บทกรรม หรือ ส่วนเติมเต็มก็ได้ ประโยคย่อยนี้เป็นประโยคความเดียวซ้อนอยู่ในประโยคหลักไม่ต้องอาศัยบทเชื่อมหรือคำเชื่อม\n</p>\n<ul>\n<li><b>ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่แทนนาม<br />\n </b>          <b>  คนทำดีย่อมได้รับผลดี<br />\n </b>            คน...ย่อมได้รับผลดี      :      ประโยคหลัก<br />\n คนทำดี                 :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทประธาน\n<p> <b>ครูดุนักเรียนไม่ทำการบ้าน<br />\n </b>ครูดุนักเรียน                   :     ประโยคหลัก<br />\n นักเรียนไม่ทำการบ้าน   :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทกรรม</p>\n<p> <b>สุนัขเห่ามักเป็นสุนัขไม่กัด<br />\n </b>สุนัข...เป็นสุนัขไม่กัด    :      ประโยคหลัก<br />\n สุนัขเห่า               :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค </p></li>\n</ul>\n<p align=\"left\">\n<b>                ๓.๒) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่เป็นบทขยายประธานหรือบทขยายกรรมหรือบทขยายส่วนเติมเต็ม </b>(คุณานุประโยค) แล้วแต่กรณี มีประพันธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน ผู้) เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div>\n <b>ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทขยาย</b>\n </div>\n<p> <b>          คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต</b> <br />\n ที่ประพฤติดี ขยายประธาน  คน<br />\n แยกประโยค  ที่        =        คน...ย่อมมีความเจริญในชีวิต        :        ประโยคหลัก<br />\n =        (คน) ประพฤติดี                           :        ประโยคย่อย</p>\n<p> <b>ฉันอาศัยบ้านซึ่งอยู่บนภูเขา<br />\n </b> ซึ่งอยู่บนภูเขา ขยายกรรม  บ้าน<br />\n แยกประโยค  ซึ่ง     =        ฉันอาศัยบ้าน                               :        ประโยคหลัก<br />\n =        (บ้าน) อยู่บนภูเขา                        :        ประโยคย่อย</p>\n<p> <b>พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ เป็นสุภาษิตอันมีค่ายิ่ง<br />\n </b>อันมีค่ายิ่ง ขยายส่วนเติมเต็ม  เป็น <br />\n แยกประโยค  อัน     =        พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ เป็นสุภาษิต        :        ประโยคหลัก<br />\n =        (สุภาษิต) อันมีค่ายิ่ง                                            :        ประโยคย่อย</p>\n<p> <b>๓.๓) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่เป็นบทขยายคำกริยา หรือ บทขยายคำวิเศษณ์ในประโยคหลัก </b>(วิเศษณานุประโยค) มีคำเชื่อม (เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย </p></li>\n</ul>\n<div>\n</div>\n<ul>\n<li><b>ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทกริยาหรือบทขยายวิเศษณ์</b><br />\n <b> เขาเรียนเก่งเพราะเขาตั้งใจเรียน</b><br />\n แยกประโยค  เพราะ         =        เขาเรียนเก่ง        :        ประโยคหลัก<br />\n =        (เขา) ตั้งใจเรียน :        ประโยคย่อยขยายกริยา\n<p> <b>คนงานทำงานหนักจนล้มเจ็บไปหลายวัน<br />\n </b>แยกประโยค  จน            =        คนงานทำงานหนัก                  :        ประโยคหลัก<br />\n =        (คนงาน) ล้มเจ็บไปหลายวัน   :        ประโยคย่อย (ขยายกริยาและวิเศษณ์ ทำงานหนัก)</p>\n<p> <b>ครูรักศิษย์เหมือนแม่รักลูก<br />\n </b>แยกประโยค  เหมือน<b> </b>     =        ครูรักศิษย์        :        ประโยคหลัก<br />\n =        แม่รักลูก           :        ประโยคย่อย (ขยายส่วนเติมเต็มของกริยาเหมือน)</p></li>\n</ul>\n', created = 1715541980, expire = 1715628380, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:46417dc8a2d8eeac1bff4fd9b852a37a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร

       ๓) ประโยคความซ้อน

   ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วยประโยคความเดียวที่มีใจความสำคัญเป็นประโยคหลัก (มุขยประโยค) และมีประโยคความเดียวที่มีใจความเป็นส่วนขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคหลัก เป็นประโยคย่อยซ้อนอยู่ในประโยคหลัก (อนุประโยค) โดยทำหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก ประโยคความซ้อนนี้เดิทเรียกว่า สังกรประโยค

    อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี ๓ ชนิด ทำหน้าที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้
               
         ๓.๑) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่แทนนาม (นามมานุประโยค) อาจใช้เป็นบทประธานหรือ บทกรรม หรือ ส่วนเติมเต็มก็ได้ ประโยคย่อยนี้เป็นประโยคความเดียวซ้อนอยู่ในประโยคหลักไม่ต้องอาศัยบทเชื่อมหรือคำเชื่อม

  • ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่แทนนาม
                คนทำดีย่อมได้รับผลดี
                คน...ย่อมได้รับผลดี      :      ประโยคหลัก
    คนทำดี                 :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทประธาน

    ครูดุนักเรียนไม่ทำการบ้าน
    ครูดุนักเรียน                   :     ประโยคหลัก
    นักเรียนไม่ทำการบ้าน   :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทกรรม

    สุนัขเห่ามักเป็นสุนัขไม่กัด
    สุนัข...เป็นสุนัขไม่กัด    :      ประโยคหลัก
    สุนัขเห่า               :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค

                ๓.๒) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่เป็นบทขยายประธานหรือบทขยายกรรมหรือบทขยายส่วนเติมเต็ม (คุณานุประโยค) แล้วแต่กรณี มีประพันธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน ผู้) เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย

  • ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทขยาย

              คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญในชีวิต
    ที่ประพฤติดี ขยายประธาน  คน
    แยกประโยค  ที่        =        คน...ย่อมมีความเจริญในชีวิต        :        ประโยคหลัก
    =        (คน) ประพฤติดี                           :        ประโยคย่อย

    ฉันอาศัยบ้านซึ่งอยู่บนภูเขา
     ซึ่งอยู่บนภูเขา ขยายกรรม  บ้าน
    แยกประโยค  ซึ่ง     =        ฉันอาศัยบ้าน                               :        ประโยคหลัก
    =        (บ้าน) อยู่บนภูเขา                        :        ประโยคย่อย

    พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ เป็นสุภาษิตอันมีค่ายิ่ง
    อันมีค่ายิ่ง ขยายส่วนเติมเต็ม  เป็น
    แยกประโยค  อัน     =        พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ เป็นสุภาษิต        :        ประโยคหลัก
    =        (สุภาษิต) อันมีค่ายิ่ง                                            :        ประโยคย่อย

    ๓.๓) ประโยคย่อยที่ทำหน้าที่เป็นบทขยายคำกริยา หรือ บทขยายคำวิเศษณ์ในประโยคหลัก (วิเศษณานุประโยค) มีคำเชื่อม (เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย

  • ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทกริยาหรือบทขยายวิเศษณ์
    เขาเรียนเก่งเพราะเขาตั้งใจเรียน
    แยกประโยค  เพราะ         =        เขาเรียนเก่ง        :        ประโยคหลัก
    =        (เขา) ตั้งใจเรียน :        ประโยคย่อยขยายกริยา

    คนงานทำงานหนักจนล้มเจ็บไปหลายวัน
    แยกประโยค  จน            =        คนงานทำงานหนัก                  :        ประโยคหลัก
    =        (คนงาน) ล้มเจ็บไปหลายวัน   :        ประโยคย่อย (ขยายกริยาและวิเศษณ์ ทำงานหนัก)

    ครูรักศิษย์เหมือนแม่รักลูก
    แยกประโยค  เหมือน      =        ครูรักศิษย์        :        ประโยคหลัก
    =        แม่รักลูก           :        ประโยคย่อย (ขยายส่วนเติมเต็มของกริยาเหมือน)

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มีประโยชน์มากนะคะ  แต่มีบางบรรทัดพิมพ์ขาดบางตัวอักษรนะคะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 327 คน กำลังออนไลน์