• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6aeed94c382ae8d005afad3521eb9e89' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: large; color: #333399\">ศิลปหัตถกรรมไทย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">   ชาติไทยเป็นชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรมและประวัติความเป็นมาที่ยาวนานประเทศหนึ่งใน ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยปรากฎหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป็นงานประณีตศิลป์จำนวนมาก ที่ผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ ประดิษฐ์ ขึ้นมาด้วยความเพียรพยายาม ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต่อกันมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี หรืออาจถึงพันปี งานที่จัดว่าเป็นประณีตศิลป์ของไทย ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ได้แก่งานศิลปะดังต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong>   เครื่องเงินไทย</strong> หมายถึง เครื่องเงินชนิดที่ทำเป็นเครื่องรูปพรรณ เครื่องถม และเครื่องลงยาสีที่ทำในประเทศไทยทำด้วยโลหะเงินมาตรฐานให้มีโลหะอื่น ๆ เจือปนได้ไม่เกินร้อยละ 7.5 ของ น้ำหนักส่วนประกอบของเครื่องเงินไทยต้องแข็งแรง ทนทาน มีลวดลายที่ชัดเจนเรียบร้อย <br />\n   ในประเทศไทยมีหลักฐานของการใช้โลหะเงินมาตั้งแต่ ก่อนยุคทวาราวดี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในแต่ละท้องถิ่น ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคเหนือ โดยเฉพาะเครื่องเงินของล้านนานับว่ามีชื่อเสียงมาก กระบวนการผลิตเครื่องเงิน มีขั้นตอนสำคัญ 3 ขั้นตอน คือ<br />\n    1. การหลอม เป็นขั้นตอนแรกในการผลิต เป็นการเตรียมวัตถุดิบ เพื่อใช้ทำงานขั้นต่อไป<br />\n    2. การขึ้นรูป เป็นการเตรียมภาชนะให้เป็นรูปแบบตามต้องการ โดยทั่วไป มี 6 ปบบ คือ การขึ้นรูปด้วยค้อน ด้วยการตัดต่อด้วยการหล่อ ด้วยการชักลวด ด้วยการสาน และด้วยการบุ<br />\n    3. การตกแต่งเครื่องเงิน เป็นการทำงานขั้นสุดท้าย เพื่อให้เกิดความสวยงาม วิธีการตกแต่งเครื่องเงินโดยทั่วไปมี 7 ลักษณะคือ การสลักดุน การเพลา การแกะลายเบา การถมยาดำ การถมยาทอง หรือตะทอง การลงยาสีและการประดับหรือฝังอัญมณีลวดลายที่ปรากฎอยู่ในเครื่องเงินไทย มักเป้นลวดลายธรรมชาติ รูปเทวดา รูปสัตว์หิมพานต์ รูปตัวละครในวรรณคดี รูปสัตว์12 ราศี และลวดลายไทย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"187\" src=\"/files/u1337/pic_thai015.jpg\" height=\"288\" style=\"width: 175px; height: 248px\" /><img border=\"0\" width=\"165\" src=\"/files/u1337/pic_thai017.jpg\" height=\"216\" style=\"width: 165px; height: 247px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726795680, expire = 1726882080, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6aeed94c382ae8d005afad3521eb9e89' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

1701 ศิลปหัตถกรรมไทย/เครื่องเงินไทย

ศิลปหัตถกรรมไทย

   ชาติไทยเป็นชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรมและประวัติความเป็นมาที่ยาวนานประเทศหนึ่งใน ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้โดยปรากฎหลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป็นงานประณีตศิลป์จำนวนมาก ที่ผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ ประดิษฐ์ ขึ้นมาด้วยความเพียรพยายาม ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต่อกันมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี หรืออาจถึงพันปี งานที่จัดว่าเป็นประณีตศิลป์ของไทย ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ได้แก่งานศิลปะดังต่อไปนี้

   เครื่องเงินไทย หมายถึง เครื่องเงินชนิดที่ทำเป็นเครื่องรูปพรรณ เครื่องถม และเครื่องลงยาสีที่ทำในประเทศไทยทำด้วยโลหะเงินมาตรฐานให้มีโลหะอื่น ๆ เจือปนได้ไม่เกินร้อยละ 7.5 ของ น้ำหนักส่วนประกอบของเครื่องเงินไทยต้องแข็งแรง ทนทาน มีลวดลายที่ชัดเจนเรียบร้อย 
   ในประเทศไทยมีหลักฐานของการใช้โลหะเงินมาตั้งแต่ ก่อนยุคทวาราวดี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในแต่ละท้องถิ่น ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคเหนือ โดยเฉพาะเครื่องเงินของล้านนานับว่ามีชื่อเสียงมาก กระบวนการผลิตเครื่องเงิน มีขั้นตอนสำคัญ 3 ขั้นตอน คือ
    1. การหลอม เป็นขั้นตอนแรกในการผลิต เป็นการเตรียมวัตถุดิบ เพื่อใช้ทำงานขั้นต่อไป
    2. การขึ้นรูป เป็นการเตรียมภาชนะให้เป็นรูปแบบตามต้องการ โดยทั่วไป มี 6 ปบบ คือ การขึ้นรูปด้วยค้อน ด้วยการตัดต่อด้วยการหล่อ ด้วยการชักลวด ด้วยการสาน และด้วยการบุ
    3. การตกแต่งเครื่องเงิน เป็นการทำงานขั้นสุดท้าย เพื่อให้เกิดความสวยงาม วิธีการตกแต่งเครื่องเงินโดยทั่วไปมี 7 ลักษณะคือ การสลักดุน การเพลา การแกะลายเบา การถมยาดำ การถมยาทอง หรือตะทอง การลงยาสีและการประดับหรือฝังอัญมณีลวดลายที่ปรากฎอยู่ในเครื่องเงินไทย มักเป้นลวดลายธรรมชาติ รูปเทวดา รูปสัตว์หิมพานต์ รูปตัวละครในวรรณคดี รูปสัตว์12 ราศี และลวดลายไทย

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 500 คน กำลังออนไลน์