• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bc0638a79e22660bb988b42bcf381e3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><strong>&nbsp;<img title=\"Surprised\" src=\"/sites/all/libraries/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/img/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" border=\"0\" /><span style=\"color: #00ff00;\">ดอกบัว(Lotus)</span><img title=\"Surprised\" src=\"/sites/all/libraries/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/img/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" border=\"0\" /></strong></span></h2>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"/files/u100159/df.gif\" alt=\"\" width=\"65\" height=\"43\" /><img src=\"/files/u100159/aa.jpg\" alt=\"\" width=\"494\" height=\"126\" /><img src=\"/files/u100159/df.gif\" alt=\"\" width=\"60\" height=\"45\" /></strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #ff9900;\"><span style=\"color: #993300;\"><strong>ชื่อสามัญ</strong> </span><span style=\"color: #000000;\">l</span></span><span style=\"color: #000000;\">otus</span></p>\n<p><span style=\"color: #008080;\"><strong>ชื่อวิทยาศาสตร์</strong> </span>Nymphaea lotus Linn.</p>\n<p><span style=\"color: #008000;\"><strong>วงค์</strong></span> NYMPHAEACEAE</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><iframe style=\"text-align: center;\" src=\"http://www.youtube.com/embed/G6l_DTnBESs\" frameborder=\"0\" width=\"278\" height=\"206\"></iframe></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp;<span style=\"color: #008000;\">บัว พันธุ์ไม้น้ำที่ถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ผุดผ่องและคุณงามความดีในพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงเปรียบเทียบระดับสติปัญญาของมนุษย์กับการเจริญเติบโตของบัว เป็น 4 เหล่าคือ บัวในโคนตม บัวใต้น้ำ บัวปิ่มน้ำ และบัวเหนือน้ำ บัวเป็นพันธุ์ไม้น้ำที่ดูสง่างาม ดอกมีขนาดใหญ่ มีสีสันสวยงาม เด่นสะดุดตาสะดุดใจแก่ผู้พบเห็น บางชนิดมีกลิ่นหอมน่าชื่นชม ด้วยเหตุนี้เองบัวจึงได้รับสมญาว่า \"ราชินีแห่งไม้น้ำ\"</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;บัว เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ Nymphaeaceae จัดเป็นพืชน้ำล้มลุกที่มีอายุหลายปี พบได้ทั่วไปทั้งในเขตร้อน เขตอบอุ่นและเขตหนาว จำแนกถิ่นกำเนิดและการเจริญเติบโตได้ 2 จำพวกคือ</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;บัวที่เกิดและเจริญเติบโตในเขตอบอุ่นและเขตหนาว (Subtropical and Temperate Zones) เช่น ยุโรป อเมริกาเหนือ ภาคใต้ของอเมริกาใต้ ตอนเหนือของอินเดีย จีนและออสเตรเลีย บัวประเภทนี้มีเหง้าสะสมอาหารอยู่ในดิน เมื่อถึงฤดูหนาวผิวหน้าของน้ำเป็นแผ่นน้ำแข็ง จะทิ้งใบและอาศัยอาหารในเหง้าเลี้ยงตัวเอง เมื่อเข้าฤดูใบไม้ผลิน้ำแข็งละลายหมดก็จะเจริญแตกหน่อต้นใหม่ และจะเจริญเติบโตออกดอกออกผลหมุนเวียนอยู่เช่นนี้เรื่อยไป เรียกบัวประเภทนี้ว่า Hardy Type หรือ Hardy Waterlily นักพฤกษศาสตร์จัดให้บัวประเภทนี้อยู่ในกลุ่ม Castalia Group หรือ อุบลชาติประเภทยืนต้น</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;บัวที่เกิดและเจริญเติบโตในเขตร้อน (Tropical Zones) เช่น ทวีปเอเซียตอนกลางและตอนใต้ อาฟริกา ออสเตรเลียตอนเหนือ อเมริกากลางและอเมริกาใต้ บัวประเภทนี้กำเนิดและเจริญเติบโตได้ในเขตร้อนเขตเดียว ถ้านำไปปลูกในเขตอบอุ่นหรือเขตหนาว เมื่อเข้าฤดูหนาวผิวหน้าของน้ำเป็นน้ำแข็งทำให้บัวประเภทนี้ต้องตายไป จึงเรียกบัวประเภทนี้ว่า Tropical Type หรือ Tropical Waterlily นักพฤกษศาสตร์จัดให้บัวประเภทนี้อยู่ในกลุ่ม Lotus Group หรือ อุบลชาติประเภทล้มลุก</span></p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>ลักษณะทั่วไป</strong></span></h4>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"/files/u100159/s.jpg\" alt=\"\" width=\"168\" height=\"140\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><sub><em>http://phatpark.files.wordpress.com/2011/09/fl_n_lotus3.jpg</em></sub></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; <span style=\"color: #008000;\">&nbsp;บัวเป็นพืชน้ำล้มลุก ลักษณะลำต้นมีทั้งที่เป็น เหง้า ไหล หรือหัว ใบเป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลำต้น โดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้ำ ผิวน้ำหรือเหนือน้ำ รูปร่างของใบส่วนใหญ่กลมมีหลายแบบ บางชนิดมีก้านใบติดอยู่ที่หลังใบ ดอกเป็นดอกเดี่ยวสมบูรณ์เพศ ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ กลีบดอกมีทั้งชนิดซ้อนและไม่ซ้อน มีสีสันแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บัวที่พบและนิยมปลูกในประเทศไทยมีอยู่ 3 สกุล คือ</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;สกุลบัวหลวง (Lotus) เป็นบัวในสกุล Nelumbo มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า ปทุมชาติ หรือ บัวหลวง มีถิ่นกำเนิดแถบเอเชีย เช่น จีน อินเดียและไทย มีลำต้นใต้ดินแบบเหง้าและไหลซึ่งเมื่อยังอ่อนจะมีลักษณะเรียวยาว เมื่อโตเต็มที่จะอวบอ้วนเนื่องจากสะสมอาหารไว้มาก มีข้อปล้องเป็นที่เกิดของราก ใบและดอกเกิดจากหน่อที่ข้อปล้องแล้วเจริญขึ้นมาที่ผิวน้ำหรือเหนือน้ำ ใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะกลมใหญ่สีเขียวอมเทา ขอบใบยกผิวด้านบนมีขนอ่อนๆ ทำให้เมื่อโดนน้ำจะไม่เปียกน้ำ เมื่อใบยังอ่อนใบจะลอยปิ่มน้ำ ส่วนใบแก่จะช฿พ้นน้ำ ก้านใบและก้านดอกมีหนาม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ชูสูงพ้นผิวน้ำ มีทั้งดอกป้อมและดอกแหลม บานในเวลากลางวันมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ด้านนอกมีสีเขียว ด้านในมีสีเดียวกับกลีบดอก กลีบดอกมีทั้งชนิดดอกซ้อนและไม่ซ้อน สีของกลีบดอกมีทั้งสีขาว ชมพู หรือเหลือง แตกต่างกันแล้วแต่ชนิดพันธุ์ บัวในสกุลนี้เป็นบัวที่รู้จักกันดีเพราะเป็นบัวที่มีดอกใหญ่นิยมนำมาไหว้พระและใช้ในพิธีทางศาสนา เหง้าหรือที่มักเรียกกันว่ารากบัวและไหลบัวรวมทั้งเมล็ดสามารถนำมาเป็นอาหารได้</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;สกุลบัวสาย (Waterlily) เป็นบัวในสกุล Nymphaea มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า อุบลชาติ หรือ บัวสาย บัวสกุลนี้มีลำต้นใต้ดินเป็นหัวหรือเหง้า ใบและดอกเกิดจากตาหรือหน่อและเจริญขึ้นมาที่ผิวน้ำด้วยก้านส่งใบและยอด บางชนิดมีใบใต้น้ำ ใบเป็นใบเดี่ยว มีขอบใบทั้งแบบเรียบและแบบคลื่น ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนละเอียดหรือไม่มี ดอกเป็นดอกเดี่ยวมีทั้งชนิดที่บานกลางคืนและบานกลางวัน บางชนิดมีกลิ่นหอม มีสีสันหลากหลายแตกต่างกันไป</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;สกุลบัววิกตอเรีย (Victoria) เป็นบัวในสกุล Victoria มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า บัวกระด้ง จัดเป็นบัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีลำต้นใต้ดินเป็นหัวใหญ่ ใบเป็นใบเดี่ยวมีขนาดใหญ่ประมาณ 6 ฟุต ลอยบนผิวน้ำ ใบอ่อนมีสีแดงคล้ำเมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้ม ขอบใบยกขึ้นตั้งตรง มีหนามแหลมตามก้านใบและผิวใบด้านล่าง ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีหนามแหลม บานเวลากลางคืนและมีกลิ่นหอม ดอกประกอบด้วยกลีบเลี้ยงจำนวน 4 กลีบ ด้านนอกมีสีเขียวด้านในสีเดียวกับกลีบดอก เมื่อเริ่มบานกลีบดอกจะมีสีขาวและจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูต่อไป</span></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u100159/d.jpg\" alt=\"\" width=\"489\" height=\"26\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong></strong></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><strong><img src=\"/files/u100159/aa.jpg\" alt=\"\" width=\"555\" height=\"96\" /></strong></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #ff00ff;\"><strong>การปลูกเลี้ยงและดูแลรักษา</strong></span></h4>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<strong><img src=\"/files/u100159/h.jpg\" alt=\"\" width=\"280\" height=\"165\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><sub><em>http://jaroonrat.files.wordpress.com/2011/08/e0b89be0b8a5e0b8b9e0b881.jpg</em></sub></p>\n<p>&nbsp; &nbsp;<span style=\"color: #008000;\"> &nbsp;ดิน &nbsp;ที่เหมาะในการใช้ปลูกบัวคือ ดินเหนียว ดินท้องร่องที่มีธาตุโปแตสเซียมสูง &nbsp;ไม่ควรใช้ดินที่มีซากอินทรีย์วัตถุที่ยังย่อยสลายไม่หมดเพราะจะทำให้น้ำเสียและอาจทำให้ต้นเน่าได้</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;น้ำ &nbsp;ต้องเป็นน้ำที่สะอาด &nbsp;ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 5.5-8.0 &nbsp;อุณหภูมิควรอยู่ระหว่าง 15-35 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกิน 50 องศาเซลเซียส &nbsp;ระดับความลึกของน้ำที่บัวต้องการแบ่งเป็น 3 ระดับ &nbsp;คือ</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; น้ำตื้น &nbsp;คือบัวที่ต้องการน้ำลึกระหว่าง 15-30 ซม. &nbsp;มีผิวหน้าของน้ำในการแผ่กระจายของใบประมาณ 50X50 ซม.</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; น้ำลึกปานกลาง &nbsp;คือบัวที่ต้องการความลึกระหว่าง 30-60 ซม. &nbsp;มีผิวหน้าของน้ำในการแผ่กระจายของใบประมาณ 1X1 เมตร</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; น้ำลึกมาก &nbsp;คือบัวที่ต้องการความลึกของน้ำอยู่ระหว่าง 60-120 ซม</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">*****ระดับน้ำที่เหมาะสมกับความต้องการของบัวสังเกตุได้จาก &nbsp;ก้านดอกจะส่งดอกตั้งตรงในแนวดิ่ง &nbsp;ก้านใบไม่ควรแผ่กว้างกว่า 45 องศา*****</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;แสงแดด &nbsp;บัวเป็นพืชที่ชอบแสงแดดจัด &nbsp;จึงควรให้บัวได้รับแสงแดดเต็มที่วันละ 4 ซม. เป็นอย่างน้อย &nbsp;ถ้าปลูกบัวในที่ร่มเกินไปบัวจะออกดอกน้อยหรือไม่ออกดอกเลย</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;การให้ปุ๋ย &nbsp;เมื่อเห็นว่าบัวที่ปลูกชะงักการเจริญเติบโต &nbsp;ใบเล็กลงกว่าปกติ &nbsp;ใบด้านขาดความมัน เหลือง แก่เร็วขึ้น &nbsp;แสดงว่าบัวขาดธาตุอาหารหรือปุ๋ย &nbsp;วิธีการให้ปุ๋ยบัวจะแตกต่างกับการให้ปุ๋ยพืชชนิดอื่นคือ &nbsp; ต้องทำปุ๋ย \"ลูกกลอน\" &nbsp;โดยนำปุ๋ยสูตรเสมอ 10-10-10 หรือ 15-15-15 ประมาณ 1 ช้อนชา ห่อด้วยดินเหนียวแล้วปั้นเป็นลูกกลอนผึ่งลมให้แห้ง &nbsp;ถ้าปลูกบัวไม่มากอาจใช้กระดาษหนังสือพิมพ์แทนดินเหนียว &nbsp;ห่อ 2-3 ชั้น &nbsp;นำปุ๋ยลูกกลอนที่ทำไว้ฝังห่างจากโคนต้นประมาณ 5-8 ซม. &nbsp;สำหร้บบัวเผื่อน บัวสาย และจงกลณีที่มีการเจริญเติบโตในทางดิ่งให้ฝังด้านใดก็ได้ &nbsp;แต่สำหรับบัวหลาง บัวฝรั่ง และอุบลชาติ &nbsp;ซึ่งมีการเจริญเติบโตในแนวนอนให้ฝังด้านหน้าแนวการเจริญเติบโตของเหง้าหรือไหล</span></p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #ff0000;\"><strong>โรคและแมลงศัตรู</strong></span></h4>\n<p style=\"text-align: left;\"><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;โรคใบจุด &nbsp;เกิดจากเชื้อรา &nbsp;ระบาดมากในช่วงฤดูฝนซึ่งสภาพอากาศมีความชื้นสูง &nbsp;มักเกิดบนใบบัวที่แก่ &nbsp;อาการของโรคจะเป็นแผลหรือจุดวงกลมสีเหลือง &nbsp;เมื่อแผลขยายกว้างจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล &nbsp; ตรงกลางแผลแห้ง &nbsp;ป้องกันและแก้ไขโดยเด็ดใบที่แก่หรือเป็นโรคทิ้ง</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;โรคเน่า &nbsp;มักเกิดกับบัวกลุ่มอุบลชาติและบัวกระด้ง &nbsp;สาเหตุเกิดจากดินที่ใช้ปลูกมีมูลสัตว์ที่ยังเน่าเปื่อยไม่หมด &nbsp;ทำให้หัว เหง้า หรือโคนต้นเละ &nbsp;ต้นแคระแกนและตาย &nbsp;เมื่อเห็นว่าต้นแสดงอาการควรรีบนำต้นขึ้นมาตัดส่วนที่เน่าทิ้ง &nbsp;เปลี่ยนดินปลูกใหม่ &nbsp;หรือเก็บต้นและดินบริเวณที่เป็นโรคทำลายทิ้งเสีย</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;เพลี้ยไฟ &nbsp;มักเกิดกับบัวที่ยังอ่อนอยู่ &nbsp;ทำให้ใบหงิกไม่คลี่ &nbsp;ด้านหลังใบจะมีรอยช้ำเป็นสีชมพูเรื่อๆ &nbsp;ต่อมาจะแห้งและดำ &nbsp;ถ้าเข้าทำลายดอกและก้านดอกจะทำให้ดอกที่ตูมอยู่เหี่ยวและแห้งเป็นสีดำ &nbsp; ก้านดอกแห้งเป็นสีน้ำตาลและหักง่าย</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;เพลี้ยอ่อน &nbsp;จะดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณโคนก้านดอก &nbsp;ก้านใบ &nbsp;และใบอ่อนที่โผล่เหนือน้ำ &nbsp;ลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลดำ &nbsp;ทำให้ดอกตูมและใบมีขนาดเล็ก &nbsp;สีเหลืองซีดและแห้งตาย</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;หนอน &nbsp;ได้แก่ &nbsp;หนอนชอนใบ , หนอนกระทู้ , หนอนผีเสื้อ , หนอนกอ &nbsp;จะดูดน้ำเลี้ยงและกัดกินใบบัว &nbsp;หนอนและแมลงที่กล่าวมาสามารถกำจัดและควบคุมได้โดยใช้ &nbsp;โมโนโครโตฟอส (Monocrotophos) ซึ่งมีชื่อทางการค้าว่า อะโซดริน60 (Azodrin60) &nbsp;มาลาไธออน (Malathion) ซึ่งมีชื่อทางการค้าว่า มาลาเฟซ (Malafez) &nbsp;โดยใช้ในอัตรา 1 ซีซี. ต่อน้ำ 1 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ สัปดาห์จนกว่าหนอนและแมลงศัตรูจะหมด</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;หอย &nbsp;จะเป็นตัวบอกว่าน้ำในบ่อดีหรือเสีย &nbsp;ถ้าน้ำเสียออกซิเจนในน้ำมีไม่เพียงพอหอยจะลอยตัวหรือเกาะอยู่ตามขอบบ่อเพื่อหาออกซิเจนหายใจ &nbsp;ถ้าเป็นเช่นนี้ให้รีบเปลี่ยนถ่ายน้ำในบ่อปลูก &nbsp;แต่ถ้าในบ่อมีหอยมากเกินไปหอยจะอาศัยดูดน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนหรือทำให้ก้านใบขาดได้ &nbsp;จึงควรกำจัดออกบ้างโดยการเก็บออก &nbsp;หรือถ้าปลูกในบ่อที่มีขนาดใหญ่อาจจะเลี้ยงปลาช่อนให้ช่วยกินตัวอ่อนของหอยก็ได้</span></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u100159/d.jpg\" alt=\"\" width=\"466\" height=\"27\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong></strong></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><strong><img src=\"/files/u100159/aa.jpg\" alt=\"\" width=\"494\" height=\"110\" /></strong></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>การขยายพันธุ์</strong></span></h4>\n<p style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><strong><img src=\"/files/u100159/j.jpg\" alt=\"\" width=\"279\" height=\"209\" /></strong></span></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><em><sup><span style=\"color: #008000;\"><strong>http://img.youtube.com/vi/6UmC5zm38EQ/0.jpg</strong></span></sup></em></span></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; <span style=\"color: #008000;\">&nbsp;การแยกเหง้า &nbsp;บัวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวที่มีลำต้นเป็นแบบเหง้าสามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีแยกหน่อหรือต้นอ่อนจากเหง้าต้นแม่ไปปลูก &nbsp;โดยตัดแยกเหง้าที่มีหน่อหรือต้นอ่อนยาว 5-8 ซม. ตัดรากออกให้หมด &nbsp;ถ้าเป็นต้นอ่อนสามารถนำไปปลูกยังที่ต้องการได้เลย &nbsp;ถ้าเป็นหน่อให้นำไปปลูกในกระถางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-25 ซม. &nbsp;ฝังดินให้ลึกประมาณ 3-5 ซม. กดดินให้แน่น &nbsp;เทน้ำให้ท่วมประมาณ 8-10 ซม. &nbsp;ดินที่ใช้ควรเป็นดินเหนียวเพื่อช่วยจับเหง้าไม้ให้ลอยขึ้นเหนือผิวน้ำ &nbsp;เมื่อหน่อเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่จึงย้ายไปปลูกยังที่ต้องการ</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;การแยกไหล &nbsp;บัวในเขตร้อนโดยเฉพาะบัวหลวงจะสร้างไหลจากหัวหรือเหง้าของต้นแม่แล้วไปงอกเป็นต้นใหม่ &nbsp;สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีตัดเอาไหลที่มีหน่อหรือปลิดต้นใหม่จากไหลไปปลูก &nbsp;การตัดไหลที่มีหน่อไปปลูกควรตัดให้มีขนาดความยาวประมาณ 2-3 ข้อ และมีตาประมาณ 3 ตา &nbsp;นำไหลที่ตัดฝังดินให้ลึก 3-5 ซม. กดดินให้แน่น &nbsp;ต้นอ่อนจะขึ้นจากตาและเจริญเป็นต้นใหม่ต่อไป</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; การแยกต้นอ่อนที่เกิดจากใบ &nbsp;บัวในเขตร้อนสกุลบัวสายบางชนิดจะแตกต้นอ่อนบนใบบริเวณกลางใบตรงจุดที่ต่อกับก้านใบหรือขั้วใบ &nbsp;สามารถขยายพันธุ์ได้โดยตัดใบที่มีต้นอ่อนโดยตัดให้มีก้านใบติดอยู่ 5-8 ซม. &nbsp;เสียบก้านลงในภาชนะที่ใช้ปลูกให้ขั้วใบที่มีต้นอ่อนติดกับผิวดิน &nbsp;ใช้อิฐหรือหินทับแผ่นใบไม่ให้ลอย &nbsp;เติมน้ำให้ท่วมยอด 6-10 ซม. &nbsp;ประมาณ 2 สัปดาห์ ต้นอ่อนจะแตกรากยึดติดกับผิวดินและเจริญเติบโตต่อไป</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; การเพาะเมล็ด &nbsp;การขยายพันธุ์วิธีนี้ไม่ค่อยนิยมปฏิบัติเนื่องจากยุ่งยากและต้องใช้เวลานาน &nbsp;ยกเว้นบัวกระด้งที่ต้องขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดเท่านั้น &nbsp;นอกจากนี้การเพาะเมล็ดมักนิยมใช้กับเมล็ดบัวที่ได้จากการผสมพันธุ์บัวขึ้นมาใหม่แล้วเก็บเอาเมล็ดนำมาเพาะ &nbsp;เพื่อสะดวกในการคัดแยกพันธุ์ &nbsp;วิธีการเพาะเมล็ดมีดังนี้ &nbsp;เตรียมดินเหนียวที่ไม่มีรากพืช &nbsp;ใส่ลงในภาชนะปากกว้างที่มีความลึกประมาณ 25-30 ซม. &nbsp;โดยไส่ดินให้สูงอย่างน้อย 10 ซม. ปรับแต่งหน้าดินให้เรียบและแน่น &nbsp;เติมน้ำให้สูงจากหน้าดินประมาณ 7-8 ซม. &nbsp;นำเมล็ดที่จะใช้เพาะโรยกระจายบนผิวน้ำให้ทั่ว &nbsp;เมล็ดจะค่อยๆ จมลงใต้น้ำ &nbsp;สำหรับเมล็ดบัวหลวงและบัวกระด้งเมล็ดมีขนาดใหญ่ &nbsp;ให้กดเมล็ดให้จมลงไปในดินแล้วเติมน้ำให้สูงจากผิวดินประมาณ 15 ซม. &nbsp;นำภาชนะที่เพาะไปไว้ในที่มีแดดรำไร &nbsp;ประมาณ 1 เดือน เมล็ดจะเริ่มงอกเป็นต้นอ่อน &nbsp;เมื่อต้นอ่อนแข็งแรงและมีใบประมาณ 2-3 ใบ จึงแยกนำไปปลูกยังที่ต้องการ</span></p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #993300;\"><strong>การผสมพันธุ์</strong></span></h4>\n<p><span style=\"color: #008000;\">&nbsp; &nbsp; &nbsp;ดอกบัวจัดเป็นดอกสมบูรณ์เพศมีเกสรตัวผู้และตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน &nbsp;เกสรตัวเมียจะบานก่อนเกสรตัวผู้ 1-2 วัน &nbsp;ดังนั้นเกสรตัวเมียจึงมักได้รับการผสมพันธุ์จากเกสรตัวผู้ของดอกอื่น &nbsp;โดยมีลมและแมลงเป็นตัวช่วยในการผสมพันธุ์แต่การผสมพันธุ์บัวเพื่อให้ได้บัวพันธุ์ใหม่ที่มีสีสวยแปลกออกไปและเพื่อเป็นการพัฒนาสายพันธุ์จึงมักเป็นการผสมพันธุ์โดยมนุษย์ช่วยผสมพันธุ์ &nbsp;โดยคัดเลือกบัวพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ที่จะนำมาผสม &nbsp;ก่อนดอกแม่บาน 1-2 วัน ให้ทำการเปิดดอกแล้วใช้กรรไกรขลิบตัดเกสรตัวผู้ออกให้หมดแล้วคลุมดอกด้วยผ้ามุ้งตาถี่ๆ เพื่อกันเกสรตัวผู้จากดอกอื่นที่ไม่ต้องการเข้ามาผสม &nbsp;เมื่อดอกแม่บานให้ขลิบตัดเอาเกสรตัวผู้จากดอกต้นพ่อพันธุ์และควรเป็นดอกที่บานแล้วประมาณ 2 วัน มาใส่บนเกสรตัวเมียของดอกแม่แล้วคลุมด้วยผ้ามุ้งตามเดิม &nbsp;ดอกแม่เมื่อได้รับการผสมแล้วถ้าผสมไม่ติดดอกจะลอยอยู่ปริ่มน้ำแล้วจะโรยไป &nbsp;ถ้าผสมติดดอกจะเริ่มกลายเป็นฝักโดยดอกจะค่อยๆ จมลงใต้น้ำประมาณ 2 สัปดาห์ &nbsp;เมื่อดอกเจริญเป็นฝักแก่และมีเมล็ดแก่ก็จะลอยขึ้นมาบนผิวน้ำใหม่อีกครั้ง &nbsp;จึงเก็บเอาฝักแก่มาแยกเอาเมล็ดนำไปเพาะเมล็ดต่อไป</span></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u100159/d.jpg\" alt=\"\" width=\"434\" height=\"28\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u100159/aa.jpg\" alt=\"\" width=\"497\" height=\"96\" /></p>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"></span></h4>\n<h4 style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #008000;\"><img style=\"text-align: left;\" title=\"Surprised\" src=\"/sites/all/libraries/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/img/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" width=\"18\" height=\"18\" border=\"0\" /><span style=\"color: #800000;\">ผู้จัดทำ</span><img title=\"Tongue Out\" src=\"/sites/all/libraries/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/img/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue Out\" border=\"0\" /></span></h4>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u100159/wwwww.png\" alt=\"\" width=\"241\" height=\"209\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img src=\"/files/u100159/d.jpg\" alt=\"\" width=\"397\" height=\"22\" /></p>\n', created = 1726719350, expire = 1726805750, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bc0638a79e22660bb988b42bcf381e3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดอกบัว(lotus)

 

การปลูกเลี้ยงและดูแลรักษา

 

http://jaroonrat.files.wordpress.com/2011/08/e0b89be0b8a5e0b8b9e0b881.jpg

     ดิน  ที่เหมาะในการใช้ปลูกบัวคือ ดินเหนียว ดินท้องร่องที่มีธาตุโปแตสเซียมสูง  ไม่ควรใช้ดินที่มีซากอินทรีย์วัตถุที่ยังย่อยสลายไม่หมดเพราะจะทำให้น้ำเสียและอาจทำให้ต้นเน่าได้

     น้ำ  ต้องเป็นน้ำที่สะอาด  ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 5.5-8.0  อุณหภูมิควรอยู่ระหว่าง 15-35 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกิน 50 องศาเซลเซียส  ระดับความลึกของน้ำที่บัวต้องการแบ่งเป็น 3 ระดับ  คือ

  น้ำตื้น  คือบัวที่ต้องการน้ำลึกระหว่าง 15-30 ซม.  มีผิวหน้าของน้ำในการแผ่กระจายของใบประมาณ 50X50 ซม.

  น้ำลึกปานกลาง  คือบัวที่ต้องการความลึกระหว่าง 30-60 ซม.  มีผิวหน้าของน้ำในการแผ่กระจายของใบประมาณ 1X1 เมตร

  น้ำลึกมาก  คือบัวที่ต้องการความลึกของน้ำอยู่ระหว่าง 60-120 ซม

*****ระดับน้ำที่เหมาะสมกับความต้องการของบัวสังเกตุได้จาก  ก้านดอกจะส่งดอกตั้งตรงในแนวดิ่ง  ก้านใบไม่ควรแผ่กว้างกว่า 45 องศา*****

     แสงแดด  บัวเป็นพืชที่ชอบแสงแดดจัด  จึงควรให้บัวได้รับแสงแดดเต็มที่วันละ 4 ซม. เป็นอย่างน้อย  ถ้าปลูกบัวในที่ร่มเกินไปบัวจะออกดอกน้อยหรือไม่ออกดอกเลย

     การให้ปุ๋ย  เมื่อเห็นว่าบัวที่ปลูกชะงักการเจริญเติบโต  ใบเล็กลงกว่าปกติ  ใบด้านขาดความมัน เหลือง แก่เร็วขึ้น  แสดงว่าบัวขาดธาตุอาหารหรือปุ๋ย  วิธีการให้ปุ๋ยบัวจะแตกต่างกับการให้ปุ๋ยพืชชนิดอื่นคือ   ต้องทำปุ๋ย "ลูกกลอน"  โดยนำปุ๋ยสูตรเสมอ 10-10-10 หรือ 15-15-15 ประมาณ 1 ช้อนชา ห่อด้วยดินเหนียวแล้วปั้นเป็นลูกกลอนผึ่งลมให้แห้ง  ถ้าปลูกบัวไม่มากอาจใช้กระดาษหนังสือพิมพ์แทนดินเหนียว  ห่อ 2-3 ชั้น  นำปุ๋ยลูกกลอนที่ทำไว้ฝังห่างจากโคนต้นประมาณ 5-8 ซม.  สำหร้บบัวเผื่อน บัวสาย และจงกลณีที่มีการเจริญเติบโตในทางดิ่งให้ฝังด้านใดก็ได้  แต่สำหรับบัวหลาง บัวฝรั่ง และอุบลชาติ  ซึ่งมีการเจริญเติบโตในแนวนอนให้ฝังด้านหน้าแนวการเจริญเติบโตของเหง้าหรือไหล

โรคและแมลงศัตรู

     โรคใบจุด  เกิดจากเชื้อรา  ระบาดมากในช่วงฤดูฝนซึ่งสภาพอากาศมีความชื้นสูง  มักเกิดบนใบบัวที่แก่  อาการของโรคจะเป็นแผลหรือจุดวงกลมสีเหลือง  เมื่อแผลขยายกว้างจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล   ตรงกลางแผลแห้ง  ป้องกันและแก้ไขโดยเด็ดใบที่แก่หรือเป็นโรคทิ้ง

     โรคเน่า  มักเกิดกับบัวกลุ่มอุบลชาติและบัวกระด้ง  สาเหตุเกิดจากดินที่ใช้ปลูกมีมูลสัตว์ที่ยังเน่าเปื่อยไม่หมด  ทำให้หัว เหง้า หรือโคนต้นเละ  ต้นแคระแกนและตาย  เมื่อเห็นว่าต้นแสดงอาการควรรีบนำต้นขึ้นมาตัดส่วนที่เน่าทิ้ง  เปลี่ยนดินปลูกใหม่  หรือเก็บต้นและดินบริเวณที่เป็นโรคทำลายทิ้งเสีย

     เพลี้ยไฟ  มักเกิดกับบัวที่ยังอ่อนอยู่  ทำให้ใบหงิกไม่คลี่  ด้านหลังใบจะมีรอยช้ำเป็นสีชมพูเรื่อๆ  ต่อมาจะแห้งและดำ  ถ้าเข้าทำลายดอกและก้านดอกจะทำให้ดอกที่ตูมอยู่เหี่ยวและแห้งเป็นสีดำ   ก้านดอกแห้งเป็นสีน้ำตาลและหักง่าย

     เพลี้ยอ่อน  จะดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณโคนก้านดอก  ก้านใบ  และใบอ่อนที่โผล่เหนือน้ำ  ลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลดำ  ทำให้ดอกตูมและใบมีขนาดเล็ก  สีเหลืองซีดและแห้งตาย

     หนอน  ได้แก่  หนอนชอนใบ , หนอนกระทู้ , หนอนผีเสื้อ , หนอนกอ  จะดูดน้ำเลี้ยงและกัดกินใบบัว  หนอนและแมลงที่กล่าวมาสามารถกำจัดและควบคุมได้โดยใช้  โมโนโครโตฟอส (Monocrotophos) ซึ่งมีชื่อทางการค้าว่า อะโซดริน60 (Azodrin60)  มาลาไธออน (Malathion) ซึ่งมีชื่อทางการค้าว่า มาลาเฟซ (Malafez)  โดยใช้ในอัตรา 1 ซีซี. ต่อน้ำ 1 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ สัปดาห์จนกว่าหนอนและแมลงศัตรูจะหมด

     หอย  จะเป็นตัวบอกว่าน้ำในบ่อดีหรือเสีย  ถ้าน้ำเสียออกซิเจนในน้ำมีไม่เพียงพอหอยจะลอยตัวหรือเกาะอยู่ตามขอบบ่อเพื่อหาออกซิเจนหายใจ  ถ้าเป็นเช่นนี้ให้รีบเปลี่ยนถ่ายน้ำในบ่อปลูก  แต่ถ้าในบ่อมีหอยมากเกินไปหอยจะอาศัยดูดน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนหรือทำให้ก้านใบขาดได้  จึงควรกำจัดออกบ้างโดยการเก็บออก  หรือถ้าปลูกในบ่อที่มีขนาดใหญ่อาจจะเลี้ยงปลาช่อนให้ช่วยกินตัวอ่อนของหอยก็ได้

รูปภาพของ ssspoonsak

เนื่องจากมีข้อมูลบางส่วนหรือทั้งหมดได้ทำการคัดลอกมาแล้วไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล

กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ชัดเจนด้วย ดูรูปแบบการทำเอกสารอ้างอิงได้ที่

http://www.thaigoodview.com/node/99177 

มิฉะนั้นทางเว็บ thaigoodview.com จำเป็นต้องลบข้อมูลทั้งหมดออก

อ่านรายละเอียด http://www.thaigoodview.com/node/159116

ขอขอบคุณ

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

ผู้ดูแลเว็บไซต์ไทยกู๊ดวิว

 


ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่าคัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ ไม่ถูกปิดเสียก่อน
ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

รูปภาพของ ssspoonsak

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 637 คน กำลังออนไลน์